1113 ผลลัพธ์ สำหรับ 

loges

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -loges-, *loges*, loge
เอกพจน์ - พหูพจน์:logesmsearch-arrowloges
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[reūoen] (n) EN: [ classifier : clocks ; watches ]  FR: [ classificateur : horloges ; montres ]
[aēntiløkāritheum] (n) EN: antilogarithm   FR: antilogarithme [ m ]
[āhān lae thīphak] (n, exp) EN: accommodation ; food and lodging  FR: repas et logement [ mpl ]
[anālǿk] (n) EN: analogue = analog (Am.)  FR: analogue [ m ]
[āramphakathā] (n) EN: preface ; introduction ; foreword ; introductory words ; prologue ; preamble  FR: préambule [ m ] ; prologue [ m ] ; introduction [ f ] ; préface [ f ]
[āsai] (v) EN: dwell ; inhabit ; live ; lodge ; reside ; settle ; rest ; abide ; stay  FR: habiter ; vivre ; résider ; loger ; gîter
[āsai yū] (v, exp) EN: reside ; stay at ; stay in ; stay overnight  FR: loger ; demeurer
[ātchayāwitthayā = ātyāwitthayā] (n) EN: criminology  FR: criminologie [ f ]
[ātyāwitthayā = ātchayāwitthayā] (n) EN: criminology  FR: criminologie [ f ]
[āwut cheūarōk] (n, exp) EN: bacteriological weapon  FR: arme bactériologique [ f ]
[āwut chīwaphāp] (n, prop) EN: biological weapon  FR: arme biologique [ f ]
[āyurasāt] (n) EN: science of medicine ; medicine ; pathology ; therapeutics  FR: sciences médicales [ fpl ] ; médecine [ f ] ; pathologie [ f ] ; thérapeutique [ f ]
[bān] (n) EN: house ; home ; habitation ; dwelling place  FR: maison [ f ] ; logis [ m ] ; logement [ m ] ; demeure [ f ] ; habitation [ f ] ; résidence [ f ] ; domicile [ m ]
[banchī] (n) EN: list ; roll ; roster ; catalog  FR: liste [ f ] ; rôle [ m ]
[bānchǿng] (n) EN: house ; home ; habitation ; residence ; housing  FR: maison [ f ] ; logis [ m ] ; demeure [ f ] ; habitation [ f ] ; résidence [ f ]
[bānphak] (n) EN: residence ; dwelling house ; house ; home ; lodging  FR: maison [ f ] ; habitation [ f ] ; logement [ m ] ; résidence [ f ]
[bānphanaēk] (n) EN: table of contents ; catalog ; list  FR: table des matières [ f ]
[bantheuk] (n) EN: blog ; web log  FR: blog [ m ] = bloc [ m ] = blogue [ m ] (Québ.) ; journal personnel [ m ]
[bantheuk hētkān] (n) EN: log  FR: journal de bord [ m ]
[bat rāikān] (n, exp) EN: catalogue card ; index card
[blǿk] (n) EN: blog  FR: blog [ m ] ; journal personnel [ m ]
[bōi] (v) EN: flog ; whip ; lash ; thrash  FR: fouetter ; flageller
[Bōlōnyā] (n, prop) EN: Bologna  FR: Bologne
[Bōlōnyā] (tm) EN: Bologna  FR: Bologne
[bōrānnakhadī] (n) EN: archeology  FR: archéologie [ f ]
[bōrānnakhadīwitthayā] (n) EN: archeology  FR: archéologie [ f ]
[bōrānnasathān] (n) EN: ancient remains ; archaeological site ; historic site  FR: ruine [ f ] ; site historique [ m ]
[bōrānnawatthu = bōrānwatthu] (n) EN: antiques ; relics ; ruins ; archaeological finds  FR: antiquité [ f ] ; ruine [ f ] ; relique [ f ]
[botnam] (n) EN: editorial  FR: éditorial [ m ] ; préambule [ m ] ; introduction [ f ] ; prologue [ m ] ; chapitre introductif [ m ]
[botphūt] (n) EN: dialogue ; conversation  FR: dialogue [ m ] ; conversation [ f ]
[botsonthana] (n) EN: conversation ; dialog  FR: conversation [ f ] ; dialogue [ m ]
[chabap rūam lem] (n, exp) EN: collection ; anthology  FR: collection [ f ]
[chaloēm] (v) EN: glorify ; eulogize ; extol ; exalt ; enhance ; carry forward
[chān] (n) EN: porch ; terrace ; balcony ; loggia ; veranda = verandah ; deck  FR: plate-forme [ f ] ; terrasse [ f ]
[chang kaē nālikā] (n) EN: watchmaker  FR: horloger [ m ] ; horlogère [ f ] ; réparateur de montres [ m ]
[chang nālikā] (n) EN: watchmaker  FR: horloger [ m ] ; réparateur de montres [ m ]
[cheūnchom] (v) EN: admire ; look up to ; gloat over ; praise ; commend ; eulogize ; appreciate ; laud  FR: admirer ; apprécier ; louanger ; se réjouir
[cheūn chom penyāngying] (n, exp) EN: rave review  FR: critique dithyrambique [ f ] ; critique élogieuse [ f ]
[chīwa] (n) EN: physiology  FR: physiologie [ f ]
[chīwajariyatham] (n, exp) EN: bioethics  FR: bioéthique [ f ] ; éthique biologique [ m ]
[chīwaphāp] (adj) EN: biological  FR: biologique
[chīwawitthayā] (n) EN: biology  FR: biologie [ f ]
[chīwawitthayā choēng khamnūan] (n, exp) EN: computational biology
[chīwawitthayā khøng sel] (n, exp) EN: cell biology  FR: biologie cellulaire [ f ]
[chīwawitthayā khøng sel thāng kān phaēt] (n, exp) EN: medical cell biology
[chomchoēi] (v) EN: praise ; laud ; compliment ; eulogize ; admire ; applaud  FR: vanter ; louer ; admirer ; célébrer ; glorifier ; louanger (litt.)
[chumnum] (n) EN: group ; collection ; anthology   FR: collection [ f ]
[chumnum reūangsan] (n, exp) EN: anthology of short stories   FR: recueil de nouvelles [ m ]
[dān thēknōlōyī] (adj) EN: technological  FR: technologique
[dāolōt prōkraēm] (v, exp) FR: télécharger un logiciel
[dōi anulōm] (x) EN: by analogy ; mutatis mutandis
CMU Pronouncing Dictionary
Longdo Unapproved EN - CN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
biotechnology
(n)生物工学
Longdo Unapproved MED - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
hematologist
(n)นักโลหิตวิทยา
histology
(n)มิญชวิทยา, วิทยาเนื้อเยื่อ
Longdo Approved EN-TH
ชีววิทยา
(n)นักชีววิทยา
(adj)เกี่ยวกับระบบนิเวศน์
(n)เว็บไซด์ที่ให้บริการบันทึกข้อมูลส่วนตัว โดยอาจจะเป็นข้อความ, ความเห็น, ข้อคิด, อักษรประดิษฐ์, รูปภาพ, เสียงเพลง ก็ได้ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเยี่ยมชมตลอดจนสามารถใส่ความเห็นส่วนตัวต่อเจ้าของบันทึกได้See Also:weblog, web diarySyn.online diary
(n)วิสัญญีแพทย์
(adj)ซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต
(n)กระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต
(n)ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา
(n)ผู้ทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแมลง
(n)แพทย์ที่เชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบปัสสาวะ
(n)ความหลากหลายทางชีวภาพ
(n)เทวตำนาน เช่น a collection of sites related to mythology and sorted by origin, including Greek, Egyptian, and Celtic myths
(n)ระเบียบวิธีวิจัย
(n)ระเบียบวิธี, วิธีวิทยา
(n)การนวดกดจุดตามฝ่ามือและฝ่าเท้า เช่น Reflexology is excellent for self-treatment and even for diagnosis.
(n)ประสาทชีววิทยา
(n)นักกีฏวิทยา เช่น Entomologists should study botany, entomology, and natural science.
[ออโลเจีย](n)ความผิดปกติด้านพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคจิตเภท เป็นหนึ่งในกลุ่มอาการด้านลบ ลักษณะคือพูดน้อย, เนื้อหาที่พูดมีน้อย , ใช้เวลานานกว่าจะตอบ
(n, uniq)ชื่อบริการบัตรสมาชิกออนไลน์สำหรับร้านค้า โดยร้านค้าสามารถเปิดบัตรในระบบ Loga และเปิดให้ลูกค้าของร้านสามารถสมัครเป็นสมาชิก, สะสมแต้ม, รับคูปอง, เลือกซื้อสินค้า, เติมเงิน, และอื่นๆ อีกมากมาย บริการ Loga ดำเนินการโดยบริษัท เมตามีเดีย เทคโนโลยี จำกัด ภายใต้เว็บ https://loga.app/ และแอปในชื่อ Loga
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)เครื่องมือวัดความเร็วของเรือ
(vt)โค่นต้นไม้See Also:ตัดไม้
(vt)จดบันทึกSee Also:บันทึก
(vt)เดินเรือหรือเครื่องบินด้วยอัตราเร็ว
(vt)ได้ข้อมูลจากการบันทึก
(vt)ได้รับความน่าเชื่อถือจากการสะสมชั่วโมงทำงานในเรือหรือเครื่องบิน
(vi)ตัดไม้ออกเป็นท่อนๆSee Also:เลื่อยไม้เป็นท่อน
(vt)ตัดไม้ออกเป็นท่อนๆSee Also:เลื่อยไม้เป็นท่อน
(n)บันทึกข้อมูลในการเดินทางของเรือหรือเครื่องบินSee Also:บันทึกSyn.record of journey
(n)บันทึกเหตุการณ์See Also:บันทึกSyn.record of events
(n)ไม้ซุงSee Also:ซุง, ไม้ขอน, ท่อนไม้Syn.timber, trunk
(n)คณิตศาสตร์ลอการิทึมSyn.logarithm
(sl)อึ
(n)รองเท้าไม้
(vt)เฆี่ยนSee Also:โบย, ฟาดSyn.whip, beat, lashAnt.defend, protect
(vt)ขาย (คำไม่เป็นทางการ)Syn.sellAnt.buy
(sl)ขาย
(sl)ทำด้วยความพยายาม
(n)ห้องเล็ก ๆSee Also:คอก
(abbr)โลโก้ (คำย่อของ logotype)See Also:เครื่องหมาย
(suf)วิทยาSee Also:ศาสตร์, การพูด
(vt)ตีแรงSee Also:ฟาด, ตบ
(n)ตรรกศาสตร์See Also:ตรรกวิทยา
(n)ระบบการใช้เหตุผล
(n)เหตุผลSyn.reason, sound judgment
(n)การอภิปรายSee Also:การสนทนา
(n)บทพูดSee Also:บทสนทนาSyn.dialoque
(vi)สนทนาSee Also:อภิปราย
(n)บทส่งท้ายของงานวรรณกรรม (ซึ่งมักจะกล่าวถึงชะตากรรมของตัวละคร)Syn.postscriptAnt.prologue
(phrv)เริ่มทำงาน (ทางคอมพิวเตอร์)See Also:ล๊อคอิน
(phrv)ลงบันทึกเวลาSee Also:ลงเวลาSyn.clock up
(n)ที่นั่งในโรงละครที่สร้างเป็นวงเหนือจากพื้นขึ้นไปSyn.theatre balcony
(n)ระเบียงSee Also:เฉลียงSyn.balcony, walkway
(n)การที่ท่อนซุงในแม้น้ำทับถมกันจนเคลื่อนที่ไม่ได้
(n)คำขวัญSee Also:คติSyn.catchword, catch phrase, motto, watchword
(n)คำโฆษณาSyn.advertising copy, jingle
(n)ความคล้ายคลึงกันSyn.likeness
(vt)เก็บรวบรวมไว้See Also:้สำรองไว้Syn.reserve
(n)งานคั่งค้างSee Also:งานที่ยังทำไม่เสร็จSyn.accumulation, reserve
(n)ท่อนไม้ใหญ่สำหรับเล่นแคมป์ไฟ
(n)ชีววิทยาSyn.naturalist
(sl)เรื่องไร้สาระSee Also:เรื่องเหลวไหลSyn.baloney
(n)ไส้กรอกสำหรับทำแซนด์วิชSyn.baloney
(adj)เกี่ยวกับบัญชีรายชื่อSyn.catalogue
(n)บัญชีรายชื่อSyn.catalogue, list
(vt)บันทึกในบัญชีรายชื่อSyn.catalogue, record
Hope Dictionary
จิตวิทยาที่เกี่ยวกับความวิปริตของบุคลิกภาพ (branch of psychology)
(แอคคาร็อล' โลจี) n. ชีววิทยาที่เกี่ยวกับตัวเห็บหรือหมัด -acarologist n.
เทคโนโลยีก้าวหน้าใช้ตัวย่อว่า AT หมายถึงคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มรุ่นหนึ่งที่ใช้บัสชนิด 16 บิต แทนแผ่นวงจร 8 บิตที่ใช้ก่อนหน้านั้น ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น ปัจจุบันไม่ใช้แล้ว
(อีทิออล' โลจี) n. etiologyAF abbr. Air Force, Anglo-French
(แอก' โกรไบออล' โลจี) ชีวเกษตรกรรม, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต และโภชนาการของพืช. -agrobiologic, agribiological adj. -agrobiologist n. วิทยาที่เกี่ยวกับเ (agro+biology)
(อะกรอล' โลจี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับดินเพาะปลูกเกษตรกรรม, ปฐพีเกษตรกรรม. -agroligic, agrological adj.
เครื่องบันทึกระยะทางที่บินของเครื่องบิน
(แอลกอล' โลจี) n. พฤกษศาสตร์ที่เกี่ยวกับ algae. -algological adj. -algologist n. (botany dealing with algae)
(อะลอก' กะมี) n. การผสมพันธุ์ของดอกไม้ต่างชนิด. -allogamous adj.
(แอล' โลกราฟทฺ' , -แกรฟทฺ) n. homograft, การย้ายปะตอนของเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะจากสิ่งมีชีวิตไปยังอีกสิ่งมีชีวิตที่เป็นพันธุ์เดียว (species) กัน
(แอล' โลกราฟ) n. การเขียนหรือการเซ็นชื่อดดยคนหนึ่งเพื่ออีกคนหนึ่ง
(แอมฟิบอล' โลจี) n. การที่มีความหมายสองนัย, ความหมายที่คลุมเคลือ, ประโยคที่มีความหมายสองนัยฐ การพูดจาเหลวไหล. -amphibolical, amphibolous adj.
(แอน' นะลอก) n. = analogue อะนาล็อก เชิงอุปมานหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็วของรถยนต์จากการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ ดิจิตอล (digital) ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างอะนาล็อกและดิจิตอลได้ชัดเจน กล่าวคือ แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบอะนาล็อก คอมพิวเตอร์นั้นมีสองชนิด คือชนิดอะนาล็อกและชนิดดิจิตอล แต่คอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักกันนั้นจะเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็นดิจิตอล "เสียง" เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นอะนาล็อก เมื่อจะนำเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์ จะต้องถูกนำไปเปลี่ยนเป็นดิจิตอลก่อน โดยให้ผ่านอุปกรณ์ชนิดหนึ่งเรียกว่า "โมเด็ม" ดู digital เปรียบเทียบ
(แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ
(al) (แอนนะลอจ' จิค, -เคิล) adj. คล้ายกัน, เหมือนกัน, อุปมา, เปรียบเหมือน analogism (อะแนล' โลจิสซึม) n. อนุมานหรือการอ้างอิงจากการเปรียบเทียบ -analogist n., -analogistic adj. (reasoning, analogy)
(อะแนล'โชไจซ) vt., vt. ใช้วิธีการอุปมาเปรียบเทียบในการอธิบายหรือโต้เถียง, ทำการอุปมาในลักษณะเหมือนกัน
(อะแนล' โลเกิส) adj. เหมือนกัน, คล้ายคลึงกัน, อุปมาเหมือน. -analogousness n.Syn.akinAnt.unlike
(แอน' นะลอก) n. ของที่คล้ายกัน, ค่าที่มีความต่อเนื่องกันโดยตลอด, เชิงอุปมาน หมายถึง การแทนปริมาณแดสงจำนวนโดยการวัดในลักษณะต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น ความเร็วของรถยนต์ ซึ่งวัดได้จากความเร็วของการหมุนของวงล้ออาจจะแทนได้ด้วยจำนวนเลข ดู digital เปรียบเทียบ
(อะแนล' โลจี) n. ความคล้ายคลึงกัน, ความเหมือนกัน, ภาวะอุปมาเหมือน, การเปรียบเหมือน, ประสิทธิภาพเหมือนกัน (resemblance)
(แอนเนสธีซิออล' โลจิสทฺ) n. แพทย์ผู้ชำนาญการวางยาสลบหรือชา, วิสัญญีแพทย์Syn.anaesthe- siologist
(แอนเนสธีซิออล' โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการวางยาสลบหรือยาชา, วิสัญญีวิทยาSyn.anaesthesiology
(เอนเจลลอล' โลจี) n. ทูตสวรรค์วิทยา, ทฤษฎีเกี่ยวกับทูตสวรรค์
(แอลขิออล' โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับหลอดโลหิตและหลอดน้ำเหลือง
(แอนธอล' ละไจซ) vi., vt. รวบรวมบทเขียนต่า'
(แอนธอล' โลจี่) n. บทเขียนรวมของหลายนักเขียน, บทเขียนรวมของนักเขียนคนเดียว -anthological adj., -anthologist n. (collection of writings)
(แอนโธรพอล' โลจิสทฺ) n. มนุษย์วิทยา, ผู้เชี่ยวชาญวิชามนุษย์วิทยา
(แอนโธรพอล' โลจี) n.
(แอนทีลอก' กะริธึม) n. ตัวเลขที่มีเลขที่กำหนดให้เป็น logarithm. -antilogarithmic adj.
(แอนทีโฟลจิส' ทิค) adj. ต้านการอักเสบ, ป้องกันการอักเสบ. -n. ยาต้านหรือป้องกันการอักเสบ (antiphlogistic)
(เอพิออล'โลจี) n. การศึกษาเกี่ยวกับผึ้ง, - apiologist n. (scientific study of bees)
(อะพอล'ละเจท'ทิค) adj. เกี่ยวกับการขออภัย, เต็มที่หรือต้องการขออภัยSyn.regretful, sorryAnt.unrepentant
(อะพอล'ละเจท'ทิคซฺ) n. สาขาของศาสนาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการป้องกันหรือพิสูจน์ความเป็นคริสเตียน
(แอพพะโล'เจีย) n. หนังสือแก้ต่างหรือแก้ข้อกล่าวหา, การแก้ข้อกล่าวหา (apology)
(อะพอล'โลไจซฺ) vi. ขออภัย, แก้ตัว, ออกตัว. -apologis (z) er n.
(อะพอล'โลจิสทฺ) n. ผู้ขออภัย, ผู้แก้ข้อกล่าวหาSyn.advocate
(อะพอล'โลไจซฺ) vi. ขออภัย, แก้ตัว, ออกตัว. -apologis (z) er n.
(แอพ'พะลอก) n. นิทานแฝงคติศีลธรรม. -apologal adj. (didactic narrative)
(อะพอล'โลจี) n. การขออภัย, การขอโทษ, คำขอโทษหรือขออภัยSyn.plea, excuse
(อาร์คีออล'โลจี) n. โบราณคดี. -archeologic (al) adj. archeologist n.
(อารีออล'โลจี) n. การศึกษาเกี่ยวกับดาวพระอังคาร. -areologic (al) adj. -areologist n. (study of the planet Mars)
หน่วยคำนวณและตรรกะ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ALU เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะ ดู central processing unit ประกอบ
(อะเซอริออล'โลจี) n. การศึกษาประวัติศาสตร์ภาษา วัฒนธรรมและอื่น ๆ ของ Assyria -Assyriologist, n.
(แอสโทรจีออล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับส่วนประกอบของดาวนพเคราะห์ ดวงดาวและวัตถุอื่นในอวกาศ (astro-geology)
(แอสทรอล'โลเจอะ) n. นักโหราศาสตร์Syn.expert in astrology
(al) (แอสโทรลอจ'จิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับโหราศาสตร์ (of astrology)
(แอสทรอล'โลจี) n. โหราศาสตร์,
(ออทีคอส'โลจี) n. นิเวศวิทยาที่เกี่ยวกับเฉพาะตัวและสิ่งแวดล้อม. -autecologic (al) adj. (author authorized
(ออคซอล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
(แอคซิออล'โลจี) n. สาขาปรัชญาที่เกี่ยวกับคุณค่าต่าง ๆ ศีลธรรมจรรยา ความสวยงามและศาสนา. -axiological adj. -axiologist n. (branch of philosophy)
adj. ดูbacteriology
Nontri Dictionary
(adj)คล้ายคลึง, เหมือนกัน, อุปมาเหมือน
(n)ความคล้ายคลึง, การอุปมา, การเปรียบเทียบ
(n)กวีนิพนธ์
(n)มานุษยวิทยา
(adj)เชิงขอโทษ
(vi)ขอโทษ, ขออภัย, ออกตัว, แก้ตัว
(n)ผู้ขอโทษ, ผู้ขออภัย, ผู้แก้ตัว, ผู้แก้ข้อกล่าวหา
(n)คำขอโทษ, คำขออภัย, คำแก้ตัว, การขอโทษ, การขออภัย
(adj)เกี่ยวกับโบราณคดี
(n)นักโบราณคดี
(n)โบราณคดี
(n)โหร
(n)โหราศาสตร์
(n)นักบัคเตรี
(adj)เกี่ยวกับชีววิทยา, ทางชีววิทยา
(n)นักชีววิทยา
(n)ชีววิทยา
(n)บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า
(vt)ทำบัญชีของ, ทำรายชื่อของ
(n)บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า
(vt)ทำบัญชีของ, ทำรายชื่อของ
(adj)ตามลำดับเหตุการณ์, กาลภาพ
(n)การเรียงตามลำดับเหตุการณ์
(n)เครื่องถ่วง, สิ่งที่ขัดขวาง, อุปสรรค
(vt)ขัดขวาง, ถ่วง, ทำให้ตัน, อุด, กีดขวาง
(n)โคโลญจน์, น้ำหอม
(n)อาชญากรรมวิทยา
(n บัญญัติ 10)ประการ
(n)บทสนทนา, การสนทนา
(n)กีฏวิทยา, วิชาว่าด้วยแมลง
(n)บทส่งท้าย, คำส่งท้าย, ปัจฉิมกถา, บันทึกท้ายเล่ม
(n)ชาติพันธุ์วิทยา, ชนชาติวิทยา, ชาติวงศ์วิทยา
(n)นิรุกติศาสตร์, วิชาว่าด้วยประวัติที่มาของคำ
(vt)กล่าวสรรเสริญ, สรรเสริญเยินยอ
(vt)กล่าวสรรเสริญ, สรรเสริญเยินยอ
(n)คำสรรเสริญ, การยกย่อง, การสรรเสริญ
(vt)เฆี่ยน, โบย, ตี, ฟาด, หวด
(adj)เกี่ยวกับวงศ์วาน
(n)ชาติวงศ์, กำพืด, การลำดับวงศ์ตระกูล
(adj)เกี่ยวกับธรณีวิทยา, ทางธรณีวิทยา
(n)นักธรณีวิทยา
(n)ธรณีวิทยา
(n)สัตวศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยปลา
(n)ลัทธิ, มโนคติวิทยา
(adj)ไม่สมเหตุผล, ไร้เหตุผล
(n)น้ำหนักเป็นกิโลกรัม
(n)น้ำหนักเป็นกิโลกรัม
(adj)ทำด้วยไม้ซุง
(n)ซุง, ท่อนไม้, ขอนไม้
(n)ลอการิทึม
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การจำแนกตามวิวัฒนาการชาติพันธุ์[พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
วิวัฒนาการชาติพันธุ์[พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
ปรากฏการณ์วิทยา[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ภาพรังสีโพรงสมองมีอากาศ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถ่ายภาพรังสีโพรงสมองหลังฉีดอากาศ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ทอพอโลยีเซตของจุด[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรณูวิทยา[พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
กลไกก้านต่อแบบขนาน[ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศิลาวิทยา[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
พยาธิวิทยาทั่วไป[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภูมิศาสตร์พยาธิวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
อายุรพยาธิวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
อายุรพยาธิวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
จิตพยาธิวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
พยาธิวิทยาจำเพาะ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ศัลยพยาธิวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
วิทยาคอหอย[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การให้เหตุผลทางภววิทยา, ข้อพิสูจน์ทางภววิทยา[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ยาขับน้ำลาย[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ปฏิฐานนิยมเชิงตรรก[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
วิทยาพิกัดยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ไพอีโลแกรม, ภาพรังสีกรวยไต[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การทำไพอีโลแกรม, การถ่ายภาพรังสีกรวยไต[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การทำไพอีโลแกรมขับถ่าย [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, intravenous ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การทำไพอีโลแกรมวิธีฉีดเข้าหลอดเลือด [ มีความหมายเหมือนกับ pyelography, excretion ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การทำไพอีโลแกรมสวนทางขึ้น[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
วิทยาสัตว์เซลล์เดียว[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ปรจิตวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
พีเอแอล (แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ภูมิอากาศบรรพกาลวิทยา[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
บรรพชีวินวิทยา[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
ปริทันตวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ปริทันตวิทยา[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
พยาธิกายวิภาคศาสตร์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. นักพยาธิวิทยา๒. พยาธิแพทย์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
พยาธิวิทยา [ มีความหมายเหมือนกับ pathobiology ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
สัตวพยาธิวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
กลลพยาธิวิทยา, พยาธิวิทยาเซลล์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
พยาธิวิทยาคลินิก[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
พยาธิวิทยาเปรียบเทียบ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ทันตพยาธิวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
พยาธิวิทยาทดลอง[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
สรีรเคมี [ มีความหมายเหมือนกับ biochemistry, human ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
พีแอลเอ (แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ประสิทธิผลทางสรีรภาพ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การสบ(ฟัน)ได้ดุลเชิงสรีระ[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
สรีรวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
สัตวสรีรวิทยา[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น[เทคโนโลยีการศึกษา]
บัตรรายการ[เทคโนโลยีการศึกษา]
หลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกันExample:เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีการใช้อย่างกว้างขวางในห้องสมุดและหน่วยงานบริการสารสนเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อความหมายให้ตรงกัน ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะจัดทำหรือใช้ในที่ใด ประเทศใด ภาษาใดก็ตาม สามารถใช้สารสนเทศร่วมกัน และแลกเปลี่ยนกันได้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 และ ได้มีการปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติมอยู่เสมอ ปัจจุบันเป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1998 (Anglo-American Cataloguing Rules, 2nd ed. 1998 Revision) หรือเรียกอย่างย่อว่า AACR2R จัดทำโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน คณะกรรมการลงรายการของประเทศออสเตรเลียและของประเทศแคนาดา สมาคมห้องสมุดอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยอาศัยมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรม (ISBD) เป็นหลัก ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ISBD เป็นส่วนเดียวกับ AACR2R <p> AACR2R ได้กำหนดรูปแบบในการลงรายการบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน คือ <p> 1) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ <p> 2) ส่วนฉบับพิมพ์ <p> 3) ส่วนรายละเอียดเฉพาะวัสดุ หรือประเภทของสิ่งพิมพ์ <p> 4) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p> 5) ส่วนลักษณะทางกายภาพ <p> 6) ส่วนชุด <p> 7) ส่วนหมายเหตุ <p> 8) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความที่เกี่ยวกับการได้รับ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บัตรรายการExample:บัตรที่บันทึกรายการต่างๆ ซึ่งเป็นข้อมูลของหนังสือ รายการต่างๆ นั้น ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ภาพประกอบ ชื่อชุด หมายเหตุ รายการเลขมาตรฐานสากล และแนวสืบค้น ซึ่งบัตรรายการนี้ เป็นเครื่องมือสำหรับผู้อ่านในการค้นหาหนังสือในห้องสมุด เนื่องจากในบัตรรายการจะประกอบด้วยเลขเรียกหนังสือด้วย <br> <br> การเรียงบัตรรายการแยกตามประเภทของบัตรผู้แต่ง บัตรชื่อเรื่อง บัตรหัวเรื่อง ภายใต้บัตรแต่ละประเภทนั้น จัดเรียงตามลำดับตัวอักษรแบบพจนานุกรม <br> <br> บัตรรายการทำด้วยกระดาษขนาด 3x5 นิ้ว ด้านล่างของบัตรเจาะรูสำหรับร้อยบัตรเก็บไว้ในลิ้นชักตู้บัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การทำบัตรรายการ, การลงรายการทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์Example:Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00.[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้Example:MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ชื่อบุคคล (การทำบัตรรายการ)[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เทคโนโลยีการศึกษา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ตู้บัตรรายการExample:<p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/CardCarbinet.jpg" alt="Card-Catalog-Cabinet"> <p>ภาพตู้บัตรรายการ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/CardCarbinet2.jpg" alt="Card-Catalog-Cabinet"> <p>ภาพตู้บัตรรายการ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
แค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณารักษ์ผู้ทำบัตรรายการ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บัตรร่าง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การจัดเนื้อเรื่องตามลำดับวันเดือนปี[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายการนิติบุคคล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การลงรายการเชิงพรรณนา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ต้นฉบับลายมือ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายการบรรณานุกรมออนไลน์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายการเข้าถึงแบบออนไลน์Example:<p>คือ ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่ออำนวยความแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นและชี้แหล่งรายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุดว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการหรือไม่ หากมีก็จะแจ้งให้ผู้ใช้ทราบข้อมูลรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนตัดสินใจคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ และจะไปหาตัวเล่มบนชั้นต่อไป อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลครั้งเดียวแต่ได้ข้อมูลหลากประเภทในเวลาเดียวกัน เช่น หนังสือ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวารสาร เป็นต้น จากช่องทางการสืบค้น ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งใช้หลักการสืบค้นเช่นเดียวกับการสืบค้นด้วยบัตรรายการ แต่มีความสะดวก รวดเร็วและค้นหาได้ตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากแหล่งบริการสารสนเทศส่วนใหญ่ใช้ระบบออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต อีกทั้งผู้ใช้ยังสามารถสั่งพิมพ์ ดาวน์โหลด หรือ export รายการที่สืบค้นได้ เพื่อส่งผ่านทางอีเมลต่อไป รวมถึงทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ทันสมัย เนื่องจากเมื่อห้องสมุดได้รับทรัพยากรใหม่ๆ เข้ามาในห้องสมุด หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล บรรณารักษ์ก็จะทำการปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลอยู่เสมอ <p>ตัวอย่างหน้าแรกของ Online Public Access Catalog ของศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-1.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>ตัวอย่างหน้า Online Public Access Catalog ซึ่งแสดงรายระเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมเลขเรียกหนังสือ สถานภาพ และสถานที่จัดเก็บ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-2.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>แหล่งข้อมูล <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายการบัตรของห้องสมุด[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์Example:<P>บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ (Publisher's catalog) ใช้สำหรับแสดงรายการสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของสำนักพิมพ์ วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่รายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์แต่ละแห่งเป็นเจ้าของ รวมทั้งรายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์วางแผนจะผลิตหรือตีพิมพ์จำหน่าย <p>ในห้องสมุด บรรณารักษ์งานจัดหา ใช้บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ สำหรับการติดตาม และตรวจสอบรายการสิ่งพิมพ์ใหม่ที่น่าสนใจ ในการพิจารณาคัดเลือกเข้าห้องสมุด <p>ตัวอย่าง บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ เช่น ของสมาคม American Chemical Society (ACS) ได้จัดทำบัญชีรายชื่อ ACS Publications Product Catolog 2012 หรือ Karger Libri Catolog 2012 ของสำนักพิมพ์ Karger Libri AG เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
นาโนเทคโนโลยี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สหบัตร, สหบรรณานุกรมExample:สหบัตร/สหบรรณานุกรม เป็นรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดของห้องสมุดหลายแห่งมารวมไว้ในรายการเดียวกัน มีชื่อหรืออักษรย่อของห้องสมุดกำกับไว้ เพื่อให้ทราบว่ารายการนั้นๆ มีอยู่ที่ห้องสมุดแห่งใด <p> <p> <p>เดิมที่ยังใช้บัตรรายการในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศนั้น จะเป็นการรวมรายการบัตรของห้องสมุดไว้เป็นรายการบัตรเดียวกันในแต่ละบัตรรายการจะมีชื่อหรืออักษรย่อของชื่อของห้องสมุดกำกับไว้เช่นเดียวกัน โดยทั่วไปจัดเรียงบัตรรายการตามลำดับอักษรชื่อผู้แต่ง หรืออาจจะเรียงลำดับตามหัวข้อวิชา อาจจะจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มได้ <p>การจัดทำสหบัตรหรือสหบรรณานุกรมมีประโยชน์หลายประการ คือ <p>1. ทำให้ทราบแหล่งทรัพยากรสารสนเทศว่ามีอยู่ในห้องสมุดใดบ้าง <p>2. ทำให้ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ โดยอาจมีข้อตกลงในการจัดหาร่วมกัน ห้องสมุดแห่งใดมีรายการทรัพยากรสารสนเทศนั้นแล้ว ห้องสมุดแห่งอื่นไม่จำเป็นต้องซื้อมาซ้ำอีก สามารถใช้บริการยืม-คืนระหว่างห้องสมุด <p>3. ทำให้สามารถรวบรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศตามผู้แต่ง หรือกลุ่มสาขาวิชาได้สะดวกและรวดเร็ว <p>ตัวอย่าง <p>สหบัตรของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโดย หอสมุดกลาง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวบรวมบัตรรายการของทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2521-2529 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120825-Union-Catalog.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog"> <p>จากภาพจะเป็นการรวมสหบรรณานุกรมของรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจากรายการตัวอย่าง จะเห็นว่ารายการนี้มีอยู่ในห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ ศูนย์เอกสารประเทศ และหอสมุดกลาง <p>ปัจจุบันมีการจัดทำฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมมหาวิทยาลัย โดยสำนักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ได้ริเริ่มดำเนินงานโครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ในการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุมหาวิทยาลัย/สถาบัน มหาิวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เข้าด้วยกัน <p>ตัวอย่าง รายการสหบรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมของโครงการ ThaiLIS <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-Union-Catalog-ThaiLIS.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog-ThaiLIS"> <p>จากตัวอย่างข้างต้นจะปรากฏว่า หนังสือ เรื่อง คิดถึงทุกปี ของ บินหลา สันกาลาคีรี มีอยู่ในห้องสมุด 14 แห่ง <p>รายการอ้างอิง <p>สุนทรี หังสสูต. สหบัตรและรวมรายชื่อวารสาร. หน้า 61-66 ใน การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. <p>Reitz, Joan M. Dictionary for library and information science. Westport, Conn. : Libraries Unlimited, 2004. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมExample:<p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การประเมินเทคโนโลยี[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
หนังสือค้างExample:ออสบอร์น [ 1 ] และ ปิเตอร์นิค [ 2 ] ได้ให้คำจำกัดความของรายการที่ค้างดำเนินการ (Arrear of Cataloging) ไว้ดังนี้ เป็นรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดที่ไม่ได้รับการดำเนินการตามขั้นตอนใดๆ เลย ซึ่งอาจได้แก่ หนังสือที่ห้องสมุดได้รับบริจาคมาเป็นจำนวนมากๆ หรือเป็นหนังสือที่ได้รับการดำเนินการช้าเกินควรหรือเป็นหนังสือที่ได้รับการทำบัตรรายการยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จนถึงยังมิได้ดำเนินการในขั้นตอนใดเลย นับตั้งแต่ได้รับหนังสือมา หรือ หมายถึง หนังสือที่ไม่ได้รับการทำบัตรรายการ ซึ่งอาจเนื่องจากลักษณะภายนอกของหนังสือ (accident) หรือเพราะเป็นผลมาจากเหตุการณ์บางอย่างที่เป็นอุปสรรค (circumstance) ซึ่งสามารถสรุปสาเหตุที่สำคัญๆ [ 3 ]ได้ดังนี้ <p>1. บุคลากร <p>1.1จำนวนบุคลากรไม่เพียงพอ <p>1.2มีการเปลี่ยนแปลงบุคลากร บุคลากรใหม่ขาดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านทำรายการ <p>1.3มีเวลาในการปฏิบัติงานไม่เต็มเวลา ต้องปฏิบัติงานด้านอื่นๆ อีกด้วย <p>1.4ไม่เข้าใจรายละเอียดในการปฏิบัติงาน ทำให้ได้งานน้อยและล่าช้า <p>1.5ไม่มีความชำนาญในภาษาและเนื้อหาวิชาเฉพาะ <p>2. การจัดหาหนังสือ <p>2.1 การจัดซื้อหนังสือเป็นปริมาณมากๆ <p>2.2 การรับบริจาคหนังสือ (Gift) และหนังสืออภินันทนาการ (Donations) จำนวนมากๆ และห้องสมุดไม่สามารถดำเนินการได้ทันท่วงที <p>2.3 ปริมาณการจัดหาหนังสือและกำลังคนไม่สัมพันธ์กัน มีการจัดหาหนังสือเป็นจำนวนมากและเพิ่มขึ้นทุกปี ขณะที่บุคลากรที่ทำหน้าที่วิเคราะห์และลงรายการไม่ได้เพิ่มขึ้น หรือไม่ได้สัดส่วนกัน <p>3. ปัญหาการลงรายการ <p>ผู้ปฏิบัติงานนำกฎเกณฑ์มาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับเงื่อนไขต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป และการลงรายการตามมาตรฐานอย่างเคร่งครัด ทำให้เกิดเป็นข้อจำกัด และเป็นอุปสรรค์ต่อการเร่งดำเนินการลงรายการให้ทัน <p>4. การจัดหมวดหมู่หนังสือ <p>ความไม่สามารถวิเคราะห์หมวดหมู่ของหนังสือ เนื่องจาก เป็นหนังสือภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ หรือ เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเฉพาะวิชา ที่ผู้ปฏิบัติงานไม่มีความรู้ <p>รายการอ้างอิง <p>[ 1 ] Osborn, A.D. 1951. "Arrearages-Ugly word." Library Journal 76 (November 15, 1951) : 1863-1867. <p>[ 2 ] Piternick, George. 1969. "University library arrearages." Library Resources & Technical Services 13, 1 (Winter 1969) : 102-114. <p>[ 3 ] นันทพร แก้วบูชา. การดำเนินงานเกี่ยวกับหนังสือค้างในขั้นตอนงานทำบัตรรายการและจัดหมู่หนังสือของห้องสมุดมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ อ.ม. ] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทย่าลัย, 2531. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรพชีวินวิทยา[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีชีวภาพ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ปฏิสนธิ (ชีววิทยา)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ปรสิตวิทยา[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ปรสิตวิทยาทางการแพทย์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ปรสิตวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีเครือข่าย[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ประสาทวิทยา[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ปักษีวิทยา[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีโฟโทนิกส์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีฟิล์มบางเชิงแสง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีสะอาด[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ทรัพยากรชีวภาพ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ภูมินิเวศน์จุลินทรีย์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การถ่ายทอดเทคโนโลยี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
นวัตกรรมทางเทคโนโลยี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ชีววิทยา[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีทางทันตกรรม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีด้านการประมวลผลภาษา[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เทคโนโลยีเซนเซอร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ภาษาศาสตร์มนุษยวิทยา
(n)นักโบราณคดี
(jargon)ระบบรับข้อมูลอุตุนิยมวิทยาโดยอัตโนมัติ
(n)รายการ
[/kripˈtäləjē/](n)ศาสตร์การเข้ารหัสลับ, การเข้ารหัสลับ
(n)ตจแพทย์
(n)ตจวิทยา
[UK [ ˌɛkəʊhaɪˈdrɒlədʒi ], US [ ˌɛkoʊhaɪˈdrɑːlədʒi ]](n, uniq)น. นิเวศนุกวิทยา - วิชาที่ว่าด้วยระบบน้ำที่มีอยู่ในโลกและระบบนิเวศ (eco + hydrology: นิเวศ + อุทกวิทยา)
(adj)เกี่ยวกับระบบนิเวศSee Also:ecology
(n)นักวิทยาศาสตร์เพาะเลี้ยงตัวอ่อนSee Also:embryo
(n)การศึกษาเรื่องไวน์, การทำไวน์ และการปลูกองุ่นSyn.viticulture
(n)นักระบาดวิทยาSee Also:A. -, diseaseSyn.-
(n)คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
(n)คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
Finance technology and stock market investment
(phrase, slang)สำเร็จความใคร่ด้วยตัวเองSyn.masturbation
นิติมานุษยวิทยา
นิติโบราณคดี
(n)เทพปกรณัมกรีกSyn.Greek myth
(n)มิญชวิทยา
ส่วนที่มีความเหมือน, ส่วนอื่นที่ทำหน้าที่คล้าย
(n)มีนวิทยา
[อิมมิวโนโลจิคอล](n)การศึกษาเกี่ยวกับวิทยาภูมิคุ้มกัน
(n)นักจลนสรีรศาสตร์
ศัพทวิทยา
[ลิมโนโลจิสต์](n)นักชลธีวิทยา
(vt)เข้าสู่ระบบSee Also:เริ่มต้นใช้งานSyn.log in
(n, uniq)ชื่อบริการบัตรสมาชิกออนไลน์สำหรับร้านค้า โดยร้านค้าสามารถเปิดบัตรในระบบ Loga และเปิดให้ลูกค้าของร้านสามารถสมัครเป็นสมาชิก, สะสมแต้ม, รับคูปอง, เลือกซื้อสินค้า, เติมเงิน, และอื่นๆ อีกมากมาย บริการ Loga ดำเนินการโดยบริษัท เมตามีเดีย เทคโนโลยี จำกัด ภายใต้เว็บ https://loga.app/ และแอปในชื่อ Loga
สมุดปูมเรือ เป็นสมุดสำหรับบันทึกเหตุการณ์ และรายละเอียดต่าง ๆ ในการเดินเรือไว้ ตามลำดับเวลา
(n)เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้สำหรับนับจำนวนก้าวที่เดิน หรือวัดปริมาณแคลลอรี่ที่ใช้ ซึ่งปัจจุบันมีหลายรูปแบบ เป็น pedometer(เครื่องวัดจำนวนก้าว) สำหรับลดน้ำหนัก และมีวิทยุในตัว หรือมีไฟฉายในตัว เป็นต้น
concept behind the tool
(adj)(adj.) เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematical) morphological Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์)See Also:morphology
(n)สัณฐานวิทยา
(n)วิทยาหน่วยคำ
(n)สาขาทางธรณีวิทยาซึ่งศึกษาซากฟอสซิล
(n)บรรพชีวินวิทยา
ส่วนทัณฑปฎิบัติ
(adj)เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องภาษาที่ใช้ในอักษรศาสตร์ เกี่ยวกับภาษาศาสตร์
[(ฟิลอจ'ละจี)](n)นิรุกติศาสตร์, ภาษาศาสตร์, การศึกษาเรื่องภาษา.Syn.Synonym: . philological adj. philologist n. !philologer n. philologize vi. ###S.
(n)จิตประสาทภูมิคุ้มกัน; การแพทย์สาขาที่เกี่ยวกับสภาวะอารมณ์มีผลต่อภูมิคุ้มกันอย่างไร
(n)อายุรแพทย์โรคระบบหายใจ
[เรดิโอโลจิคัล เทคโนโลจีส](n, uniq)นักรังสีเทคนิค
(n)การศึกษาเกี่ยวกับการไหลของของเหลวและของกึ่งของเหลว
(n)วิชาที่เกี่ยวกับของไหล[ วิทยาศาสตร์ ] ของกึ่งเหลวกึ่งแข็งหรือหนืดๆ
(n)หมอรักษาโรคไขข้อ
(n)วิทยาแผ่นดินไหว
(n)ความตระหนักในศักยภาพสูงสุดของตน
[สโตมาโตโลจี](n)โอษฐวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับโรคชนิดต่างๆ ที่พบในช่องปากและอวัยวะข้างเคียง
รายการทรัพยากรสารสนเทศ
(n)สารคดีท่องเที่ยว
ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)advanced technologiesSyn.เทคโนโลยีทันสมัยAnt.เทคโนโลยีรุ่นเก่าExample:คอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เกือบทุกชนิดUnit:ชนิด
(n)biotechnologyThai Definition:เทคโนโลยีแขนงหนึ่งที่เกี่ยวกับการนำเอาระบบของสิ่งมีชีวิตเล็กๆ มาใช้ในกระบวนการแปรรูปเพื่อประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรม การแพทย์ หรือวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆ
(n)political ideologyThai Definition:แนวความคิดทางการเมืองที่มีความสำคัญต่อกลุ่มชน และกลุ่มชนยึดถือร่วมกัน
(n)catalogue cardSee Also:card index (library)Example:นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด
(n)terminologyExample:เจ้าหน้าที่ตรวจสอบการใช้ศัพท์บัญญัติให้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถานUnit:คำThai Definition:คำที่กำหนดให้ใช้จากคำที่แปลมาจากภาษาอื่น
(v)ask for forgivenessSee Also:apologizeSyn.ขออโหสิกรรมExample:กรรมใดที่ลูกตั้งใจก็ดี ไม่ตั้งใจก็ดี ลูกขออโหสิ อย่าให้เราต้องเบียดเบียนให้แก่กันและกันThai Definition:ขอให้ยกโทษที่ล่วงเกิน
(v)whipSee Also:beat, flog, scourge, lash, thrashSyn.โบยแส้Example:ม้าตัวนั้นถูกลงแส้เพื่อให้วิ่งเข้าเส้นชัยเป็นที่ 1
(clas)kilogrammeSee Also:kgSyn.กิโลกรัม
(n)graduate of theologySyn.เปรียญThai Definition:ผู้สอบความรู้พระปริยัติธรรมสายบาลีได้ตามหลักสูตรตั้งแต่ 3 ประโยคขึ้นไป
(n)The Meteorological DepartmentSee Also:MET.Syn.กรมอุตุนิยมวิทยา
(n)informational technologySee Also:ITSyn.เทคโนโลยีสารสนเทศ
(v)log inSee Also:logs in, log on, logs on, logs intoSyn.เข้าระบบAnt.ออกนอกระบบExample:สมาชิกจะเข้าสู่ระบบได้ก็ต่อเมื่อใส่รหัสผ่านก่อนThai Definition:ติดต่อกับระบบคอมพิวเตอร์โดยผู้ใช้จะต้องใส่รหัสประจำตัวก่อน
(n)information technologySee Also:ITExample:เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มากThai Definition:เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการผลิต จัดเก็บ และเผยแพร่ข่าวสารผ่านทางคอมพิวเตอร์ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
(n)information technologySee Also:ITThai Definition:เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการผลิต จัดเก็บ และเผยแพร่ข่าวสารผ่านทางคอมพิวเตอร์ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
(n)biological weaponSyn.อาวุธเชื้อโรคExample:มนุษย์รู้จักผลิตอาวุธชีวภาพนี้โดยเลียนแบบการเกิดโรคระบาดThai Definition:อาวุธที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ซึ่งครอบคลุมถึงสารพิษจากสิ่งมีชีวิต หรือแม้กระทั่งฮอร์โมนหรือสารอื่นใดที่สิ่งมีชีวิตผลิตขึ้นมา
(n)biological weaponSyn.อาวุธชีวภาพExample:กองทัพสหรัฐ เคยตั้งโรงงานอาวุธเชื้อโรค โดยใช้วัตถุดิบที่หาได้ตามท้องตลาด เพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า ผู้ก่อการร้ายสามารถผลิตอาวุธเชื้อโรคได้อย่างง่ายThai Definition:อาวุธที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ซึ่งครอบคลุมถึงสารพิษจากสิ่งมีชีวิต หรือแม้กระทั่งฮอร์โมนหรือสารอื่นใดที่สิ่งมีชีวิตผลิตขึ้นมา
(n)high-techSee Also:high-technology
(adj)biologicalExample:การสร้างเขื่อนแก่งเสือเต้นกั้นแม่น้ำยมตอนบนจะมีผลกระทบมากต่อทรัพยากรชีวภาพThai Definition:เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
(n)biotechnologyExample:คนอาจเห็นว่าเทคโนโลยีชีวภาพเป็นเรื่องที่แปลกใหม่ แต่แท้ที่จริงแล้วเทคโนโลยีชีวภาพได้เจริญควบคู่มากับวิวัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่สมัยโบราณThai Definition:การใช้กระบวนการที่มีพื้นฐานทางชีวภาพในอุตสาหกรรมการผลิต และการให้บริการ
(n)ideologyExample:วัยรุ่นจะเชื่อเสมอว่าอุดมการณ์คือสิ่งที่ทำให้เป็นจริงได้เสมอThai Definition:อุดมคติอันสูงส่งที่จูงใจมนุษย์ให้พยายามบรรลุถึง
(n)psychological warfareExample:ทั้งโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกต่างก็ใช้สงครามจิตวิทยาระหว่างกัน
(n)technologyExample:เขาได้นำวิทยาการผลิตและความเจริญทางด้านเทคโนโลยีนานาประการของชาวตะวันตกมาใช้Thai Definition:การนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการผลิตและการให้บริการ
(n)anthropologySyn.มานุษยวิทยา, มนุษย์วิทยาExample:มนุษยวิทยาแบ่งเรื่องของมนุษย์ออกเป็นสองภาคคือ ภาคว่าด้วยเรื่องเชื้อชาติและภาคว่าด้วยวัฒนธรรมThai Definition:วิชาว่าด้วยเรื่องตัวคนและสิ่งที่คนสร้างขึ้น
(n)ecologyExample:ระบบนิเวศหนึ่งๆ นั้นประกอบด้วยบริเวณที่สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ และกลุ่มประชากรที่มีชีวิตอยู่ในบริเวณดังกล่าวThai Definition:โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ กับบริเวณแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ดำรงชีวิตอยู่
(n)analogySee Also:comparison, simileExample:ผู้ที่ได้อ่านหนังสือโบราณจะพบความเปรียบมากมาย ทั้งที่เป็นอุปมาอุปไมย อุปลักษณ์ สาธกThai Definition:การเปรียบเทียบกัน
(n)graduation in Buddhist theologySee Also:the highest level of Buddhist dhammaExample:ผู้บวชได้ร่วมมุทิตาสักการะพระภิกษุสามเณรที่สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยคจากทั่วประเทศ
(v)yield to superior logicSee Also:surrender, yield, submit, listen to reasonSyn.จำนน, ยอม, ยอมจำนน, ยินยอมAnt.ขัดขืนExample:เขาต้องยอมจำนนต่อเหตุผล
(v)glorifySee Also:eulogize, extol, exalt, enhance one's prestigeSyn.ยกย่องExample:รัฐบาลตั้งใจที่จะพยายามดำเนินการจัดสร้างพระตำหนักให้เสร็จภายในปีนี้เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมีพระชนมายุครบ 6 รอบ
(n)fairy taleSee Also:myth, mythologyExample:หากย้อนไปเมื่อหลายปีก่อน ชีวิตของเธอเหมือนนางเอกในเทพนิยายUnit:เรื่องThai Definition:เรื่องราวหรือตำนานเกี่ยวกับเทวดา
(n)archaeologySyn.โบราณคดีวิทยาExample:การขุดค้นพบที่บ้านเชียงนี้มีความสำคัญยิ่งต่อการศึกษาวิจัยวิชาโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์Thai Definition:วิชาที่ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโบราณวัตถุและโบราณสถาน
(n)antiquesSee Also:relics, ruins, archaeological findsSyn.วัตถุโบราณ, ของเก่าExample:เราสะสมโบราณวัตถุไว้ในพิพิธภัณฑ์สถานก็เพื่อให้อนุชนคนรุ่นหลังจะได้ศึกษาThai Definition:สังหาริมทรัพย์ที่เป็นของโบราณไม่ว่าจะเป็นสิ่งประดิษฐ์หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือที่เป็นส่วนหนึ่งส่วนใดของโบราณสถาน ซากมนุษย์ หรือซากสัตว์ ซึ่งเป็นประโยชน์ในทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี
(n)linguisticsSee Also:philologyExample:พื้นฐานของการวิจัยนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ภาษาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันThai Definition:วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่างๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์
(n)geologySyn.ธรณีวิทยา, วิชาภูมิวิทยาExample:วิชาแร่เป็นแขนงหนึ่งของภูมิวิทยาThai Definition:วิชาว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับประวัติ โครงสร้าง และสภาพของโลก
(n)title confered on Buddhist monk who passed the third grade in Buddhist theologySee Also:graduate in Buddhist theology who passes at least the third grade out of nine grades in alExample:ท่านดีใจที่มหาฉ่ำได้ปริญญาดุษฎีบัณฑิตก่อนตายThai Definition:สมณศักดิ์ที่ใช้นำหน้าชื่อภิกษุผู้ที่สอบไล่ได้ตั้งแต่เปรียญธรรม 3 ประโยคขึ้นไป
(n)anthropologyExample:ท่านเป็นปราชญ์ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมหลายสาขา เช่น ภาษา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี มานุษยวิทยา ศาสนา ประเพณี เป็นต้นThai Definition:วิชาว่าด้วยเรื่องตัวคนและสิ่งที่คนสร้างขึ้น
(v)praiseSee Also:admire, eulogize, extol, laud, commend, compliment, applaudSyn.ชื่นชม, ยกย่องสรรเสริญExample:เด็กต้องการที่จะให้บิดามารดายกย่องชมเชยตนเวลาสอบได้คะแนนดี
(n)parallelogramSyn.สี่เหลี่ยมด้านขนานUnit:รูปThai Definition:รูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านคู่ตรงข้ามขนานกัน
(n)dialogue playSee Also:legitimate dramaThai Definition:ละครพูดเจรจา ได้แบบจากตะวันตก เป็นละครที่เล่นอย่างชีวิตจริง
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[aēntiløkāritheum] (n) EN: antilogarithm   FR: antilogarithme [ m ]
[āhān lae thīphak] (n, exp) EN: accommodation ; food and lodging  FR: repas et logement [ mpl ]
[anālǿk] (n) EN: analogue = analog (Am.)  FR: analogue [ m ]
[āramphakathā] (n) EN: preface ; introduction ; foreword ; introductory words ; prologue ; preamble  FR: préambule [ m ] ; prologue [ m ] ; introduction [ f ] ; préface [ f ]
[āsai] (v) EN: dwell ; inhabit ; live ; lodge ; reside ; settle ; rest ; abide ; stay  FR: habiter ; vivre ; résider ; loger ; gîter
[āsai yū] (v, exp) EN: reside ; stay at ; stay in ; stay overnight  FR: loger ; demeurer
[ātchayāwitthayā = ātyāwitthayā] (n) EN: criminology  FR: criminologie [ f ]
[ātyāwitthayā = ātchayāwitthayā] (n) EN: criminology  FR: criminologie [ f ]
[āwut cheūarōk] (n, exp) EN: bacteriological weapon  FR: arme bactériologique [ f ]
[āwut chīwaphāp] (n, prop) EN: biological weapon  FR: arme biologique [ f ]
[āyurasāt] (n) EN: science of medicine ; medicine ; pathology ; therapeutics  FR: sciences médicales [ fpl ] ; médecine [ f ] ; pathologie [ f ] ; thérapeutique [ f ]
[bān] (n) EN: house ; home ; habitation ; dwelling place  FR: maison [ f ] ; logis [ m ] ; logement [ m ] ; demeure [ f ] ; habitation [ f ] ; résidence [ f ] ; domicile [ m ]
[banchī] (n) EN: list ; roll ; roster ; catalog  FR: liste [ f ] ; rôle [ m ]
[bānchǿng] (n) EN: house ; home ; habitation ; residence ; housing  FR: maison [ f ] ; logis [ m ] ; demeure [ f ] ; habitation [ f ] ; résidence [ f ]
[bānphak] (n) EN: residence ; dwelling house ; house ; home ; lodging  FR: maison [ f ] ; habitation [ f ] ; logement [ m ] ; résidence [ f ]
[bānphanaēk] (n) EN: table of contents ; catalog ; list  FR: table des matières [ f ]
[bantheuk] (n) EN: blog ; web log  FR: blog [ m ] = bloc [ m ] = blogue [ m ] (Québ.) ; journal personnel [ m ]
[bantheuk hētkān] (n) EN: log  FR: journal de bord [ m ]
[bat rāikān] (n, exp) EN: catalogue card ; index card
[blǿk] (n) EN: blog  FR: blog [ m ] ; journal personnel [ m ]
[bōi] (v) EN: flog ; whip ; lash ; thrash  FR: fouetter ; flageller
[Bōlōnyā] (n, prop) EN: Bologna  FR: Bologne
[Bōlōnyā] (tm) EN: Bologna  FR: Bologne
[bōrānnakhadī] (n) EN: archeology  FR: archéologie [ f ]
[bōrānnakhadīwitthayā] (n) EN: archeology  FR: archéologie [ f ]
[bōrānnasathān] (n) EN: ancient remains ; archaeological site ; historic site  FR: ruine [ f ] ; site historique [ m ]
[bōrānnawatthu = bōrānwatthu] (n) EN: antiques ; relics ; ruins ; archaeological finds  FR: antiquité [ f ] ; ruine [ f ] ; relique [ f ]
[botnam] (n) EN: editorial  FR: éditorial [ m ] ; préambule [ m ] ; introduction [ f ] ; prologue [ m ] ; chapitre introductif [ m ]
[botphūt] (n) EN: dialogue ; conversation  FR: dialogue [ m ] ; conversation [ f ]
[botsonthana] (n) EN: conversation ; dialog  FR: conversation [ f ] ; dialogue [ m ]
[chabap rūam lem] (n, exp) EN: collection ; anthology  FR: collection [ f ]
[chaloēm] (v) EN: glorify ; eulogize ; extol ; exalt ; enhance ; carry forward
[chān] (n) EN: porch ; terrace ; balcony ; loggia ; veranda = verandah ; deck  FR: plate-forme [ f ] ; terrasse [ f ]
[chang kaē nālikā] (n) EN: watchmaker  FR: horloger [ m ] ; horlogère [ f ] ; réparateur de montres [ m ]
[chang nālikā] (n) EN: watchmaker  FR: horloger [ m ] ; réparateur de montres [ m ]
[cheūnchom] (v) EN: admire ; look up to ; gloat over ; praise ; commend ; eulogize ; appreciate ; laud  FR: admirer ; apprécier ; louanger ; se réjouir
[cheūn chom penyāngying] (n, exp) EN: rave review  FR: critique dithyrambique [ f ] ; critique élogieuse [ f ]
[chīwa] (n) EN: physiology  FR: physiologie [ f ]
[chīwajariyatham] (n, exp) EN: bioethics  FR: bioéthique [ f ] ; éthique biologique [ m ]
[chīwaphāp] (adj) EN: biological  FR: biologique
[chīwawitthayā] (n) EN: biology  FR: biologie [ f ]
[chīwawitthayā choēng khamnūan] (n, exp) EN: computational biology
[chīwawitthayā khøng sel] (n, exp) EN: cell biology  FR: biologie cellulaire [ f ]
[chīwawitthayā khøng sel thāng kān phaēt] (n, exp) EN: medical cell biology
[chomchoēi] (v) EN: praise ; laud ; compliment ; eulogize ; admire ; applaud  FR: vanter ; louer ; admirer ; célébrer ; glorifier ; louanger (litt.)
[chumnum] (n) EN: group ; collection ; anthology   FR: collection [ f ]
[chumnum reūangsan] (n, exp) EN: anthology of short stories   FR: recueil de nouvelles [ m ]
[dān thēknōlōyī] (adj) EN: technological  FR: technologique
[dāolōt prōkraēm] (v, exp) FR: télécharger un logiciel
[dōi anulōm] (x) EN: by analogy ; mutatis mutandis
CMU Pronouncing Dictionary
Oxford Advanced Learners Dictionary
WordNet (3.0)
(n)the branch of psychology concerned with abnormal behaviorSyn.psychopathology
(adj)of or pertaining to aerology
(n)meteorology of the total extent of the atmosphere; especially the upper layers
(adj)of or pertaining to agrobiologySyn.agrobiological
(n)the study of plant nutrition and growth especially as a way to increase crop yield
(adj)of or related to agrologySyn.agrological
(n)science of soils in relation to crops
(n)the modal logic of necessity and possibility and contingency
(n)the branch of medical science that studies the causes and treatment of allergies
(adj)relating to cross-fertilization in plants
(n)cross-fertilization in plantsAnt.autogamy
(adj)denoting or relating to cells or tissues from individuals belonging to the same species but genetically dissimilar (and hence immunologically incompatible)Ant.xenogeneic
(n)a variant form of a grapheme, as `m' or `M' or a handwritten version of that grapheme
(n)a signature written by one person for another
(adj)of or relating to an allograph
(n)the developmental process of forming tooth enamel
(n)an ambiguous grammatical construction; e.g., `they are flying planes' can mean either that someone is flying planes or that something is flying planesSyn.amphiboly
(n)a clock that displays the time of day by the position of hands on a dial
(n)a computer that represents information by variable quantities (e.g., positions or voltages)Syn.analogue computer
(adj)expressing, composed of, or based on an analogy
(n)someone who looks for analogies or who reasons by analogy
(v)make an analogySyn.analogise
(adj)similar or equivalent in some respects though otherwise dissimilarSyn.correspondent
(adj)corresponding in function but not in evolutionary originAnt.heterologous, homologous
(adv)in an analogous manner
(n)something having the property of being analogous to something elseSyn.analog, parallel
(adj)of a circuit or device having an output that is proportional to the inputSyn.analog, linearAnt.digital
(n)a watch that represents time by the position of hands on a dial
(n)an inference that if things agree in some respects they probably agree in others
(n)drawing a comparison in order to show a similarity in some respect
(n)a specialist who administers an anesthetic to a patient before he is treatedSyn.anesthetist, anaesthetist
(n)the branch of medical science that studies and applies anesthetics
(n)the branch of theology that is concerned with angels
(n)a physician who specializes in angiology
(n)the branch of medical science that studies the blood and lymph vessels and their disorders
(n)an editor who makes selections for an anthology
(v)compile an anthologySyn.anthologise
(n)a collection of selected literary passages
(adj)of or concerned with the science of anthropology
(n)a social scientist who specializes in anthropology
(n)the social science that studies the origins and social relationships of human beings
(n)the academic department responsible for teaching and research in anthropologySyn.department of anthropology
(n)the number of which a given number is the logarithmSyn.antilog
(adj)counteracting inflammation
(adj)offering or expressing apologySyn.excusatoryAnt.unapologetic
(adv)in an apologetic manner
(n)the branch of theology that is concerned with the defense of Christian doctrines
(n)a person who argues to defend or justify some policy or institutionSyn.justifier, vindicator
(v)acknowledge faults or shortcomings or failingSyn.apologise
(v)defend, explain, clear away, or make excuses for by reasoningSyn.rationalize, justify, rationalise, apologise, excuse
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

a. [ Gr. 'a priv. + E. biological. ] Pertaining to the study of inanimate things. [ 1913 Webster ]

a. Pertaining to acology. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; remedy + -logy. ] Materia medica; the science of remedies. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_;, &unr_;, ray + -logy. ] The science which treats of rays of light, especially of the actinic or chemical rays. [ 1913 Webster ]

a. Pertaining to adenology. [ 1913 Webster ]

n. [ Adeno- + -logy. ] The part of physiology that treats of the glands. [ 1913 Webster ]

n. [ Aëro- + lithology. ] The science of aërolites. [ 1913 Webster ]

{ } a. Of or pertaining to aërology. [ 1913 Webster ]

n. One versed in aërology. [ 1913 Webster ]

n. [ Aëro- + -logy: cf. F. aérologie. ] That department of physics which treats of the atmosphere. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; to perceive + E. physiology. ] The science of sensation in relation to nervous action. H. Spenser. [ 1913 Webster ]

a. Pertaining to ætiology; pertaining to the cause; assigning a cause. -- Æ`ti*o*log"ic*al*ly, adv. [1913 Webster]

n. [ L. aetologia, Gr. a'itiologi`a; a'iti`a cause + lo`gos description: cf. F. étiologie. ] 1. The science, doctrine, or demonstration of causes; esp., the investigation of the causes of any disease; the science of the origin and development of things; etiology. AS [ 1913 Webster ]

2. The assignment of a cause. [ 1913 Webster ]

3. (Med.) The cause or origin of a disease. Now more commonly written etiology. [ PJC + AS ]

n. [ Gr. 'a`gnoia ignorance + -logy. ] (Metaph.) The doctrine concerning those things of which we are necessarily ignorant. [ 1913 Webster ]

n. One versed or engaged in agriology. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; wild, savage + -logy. ] Description or comparative study of the customs of savage or uncivilized tribes. [ 1913 Webster ]

adj. of or pertaining to agrology. [ WordNet 1.5 ]

n. 1. the science of soils in relation to crops. [ WordNet 1.5 ]

{ } a. Pertaining to agrostology. [ 1913 Webster ]

n. One skilled in agrostology. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; + -logy. ] That part of botany which treats of the grasses. [ 1913 Webster ]

n. See Ætiology. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; truth + -logy. ] The science which treats of the nature of truth and evidence. Sir W. Hamilton. [ 1913 Webster ]

a. Of or pertaining to algology; as, algological specimens. [ 1913 Webster ]

n. One learned about algæ; a student of algology. [ 1913 Webster ]

n. [ L. alga seaweed + -logy. ] (Bot.) The study or science of algæ or seaweeds. [ 1913 Webster ]

a. (Bot.) Characterized by allogamy. [ 1913 Webster ]

pos>n. [ Gr. &unr_; other + &unr_; marriage. ] (Bot.) Fertilization of the pistil of a plant by pollen from another of the same species; cross-fertilization. [ 1913 Webster ]

a. [ Gr. &unr_;. ] Different in nature or kind. [ R. ] [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; another + -graph. ] A writing or signature made by some person other than any of the parties thereto; -- opposed to autograph. [ 1913 Webster ]

adj. 1. of or pertaining to an allograph. [ WordNet 1.5 ]

n. [ LL. Alogiani, Alogii, fr. Gr. &unr_;; 'a priv. + &unr_; word. ] (Eccl.) One of an ancient sect who rejected St. John's Gospel and the Apocalypse, which speak of Christ as the Logos. Shipley. [ 1913 Webster ]

n. [ L. alogia, Gr. &unr_;, fr. 'a priv. + &unr_; reason. ] Unreasonableness; absurdity. [ Obs. ] [ 1913 Webster ]

a. Pertaining to amphibiology. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; amphibious + -logy: cf. F. amphibiologie. ] A treatise on amphibious animals; the department of natural history which treats of the Amphibia. [ 1913 Webster ]

a. Of doubtful meaning; ambiguous. “Amphibological expressions.” Jer. Taylor. [ 1913 Webster ]

-- Am*phib`o*log"ic*al*ly, adv. [1913 Webster]

n.; pl. Amphibologies [ L. amphibologia, for amphibolia, fr. Gr. 'amfiboli`a, with the ending -logia as if fr. Gr. 'amfi`bolos ambiguous + lo`gos speech: cf. F. amphibologie. See Amphiboly. ] A phrase, discourse, or proposition, susceptible of two interpretations; and hence, of uncertain meaning. It differs from equivocation, which arises from the twofold sense of a single term. [ 1913 Webster ]

{ } n. [ Gr. &unr_; + -logy. ] Ambiguity of speech; equivocation. [ R. ] [ 1913 Webster ]

n. [ Amylum + -gen. ] (Chem.) That part of the starch granule or granulose which is soluble in water. [ Webster 1913 Suppl. ]

n. [ Amylum + genesis. ] The formation of starch. [ Webster 1913 Suppl. ]

a. 1. Of or pertaining to amylogen. [ Webster 1913 Suppl. ]

2. Forming starch; -- applied specif. to leucoplasts. [ Webster 1913 Suppl. ]

a. Analogous. [ Obs. ] Donne. [ 1913 Webster ]

a. [ See Analogous. ] Of or belonging to analogy. Geo. Eliot. [ 1913 Webster ]

a. 1. Founded on, or of the nature of, analogy; expressing or implying analogy. [ 1913 Webster ]

When a country which has sent out colonies is termed the mother country, the expression is analogical. J. S. Mill. [ 1913 Webster ]

2. Having analogy; analogous. Sir M. Hale. [ 1913 Webster ]

adv. In an analogical sense; in accordance with analogy; by way of similitude. [ 1913 Webster ]

A prince is analogically styled a pilot, being to the state as a pilot is to the vessel. Berkeley. [ 1913 Webster ]

n. Quality of being analogical. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; course of reasoning, fr. &unr_; to think over, to calculate ] 1. (Logic) an argument from the cause to the effect; an a priori argument. Johnson. [ 1913 Webster ]

2. Investigation of things by the analogy they bear to each other. Crabb. [ 1913 Webster ]

n. One who reasons from analogy, or represent, by analogy. Cheyne. [ 1913 Webster ]

v. i. To employ, or reason by, analogy. [ 1913 Webster ]

‖n. [ Gr. &unr_;. ] Analogue. [ 1913 Webster ]

CC-CEDICT CN-EN Dictionary
[  /  , jì shù, ㄐㄧˋ ㄕㄨˋ]technology; technique; skill#183[Add to Longdo]
[ / , xué, ㄒㄩㄝˊ]learn; study; science; -ology#508[Add to Longdo]
[ , jīng shén, ㄐㄧㄥ ㄕㄣˊ]spirit; mind; consciousness; thought; mental; psychological; essence; gist#521[Add to Longdo]
[ , kē jì, ㄎㄜ ㄐㄧˋ]science and technology#681[Add to Longdo]
[  /  , què dìng, ㄑㄩㄝˋ ㄉㄧㄥˋ]definite; certain; fixed; to fix (on sth); to determine; to be sure; to ensure; to make certain; to ascertain; to clinch; to recognize; to confirm; OK (on computer dialog box)#940[Add to Longdo]
[, dài, ㄉㄞˋ]to substitute; to act on behalf of others; to replace; generation; dynasty; age; period; (historical) era; (geological) eon#961[Add to Longdo]
[, pǎi, ㄆㄞˇ]row of logs or boards#981[Add to Longdo]
[ , xīn lǐ, ㄒㄧㄣ ㄌㄧˇ]mental; psychological#997[Add to Longdo]
[, fǎn, ㄈㄢˇ]contrary; in reverse; inside-out or upside-down; to reverse; to return; to oppose; opposite; against; anti-; to rebel; to use analogy; instead; abbr. for 反切 phonetic system#1006[Add to Longdo]
[, , ㄎㄜˋ]customer; visitor; guest; guest web user (e.g. blogger 博客); phonetic -ke, -ge, -co, -key etc in loan words#1154[Add to Longdo]
[  /  , xiān jìn, ㄒㄧㄢ ㄐㄧㄣˋ]advanced (technology); to advance#1305[Add to Longdo]
[, , ㄌㄧˇ]texture; grain (of wood); inner essence; intrinsic order; reason; logic; truth; science; natural science (esp. physics); to manage; to pay attention to; to run (affairs); to handle; to put in order; to tidy up#1851[Add to Longdo]
[  /  , shēng tài, ㄕㄥ ㄊㄞˋ]way of life; ecology#1913[Add to Longdo]
[ , shēng wù, ㄕㄥ ㄨˋ]living creature; organism; biological#2201[Add to Longdo]
[, , ㄇㄨˋ]eye; item; section; list; catalogue; table of contents; order (taxonomy); goal; name; title#2277[Add to Longdo]
[  /  , lèi sì, ㄌㄟˋ ㄙˋ]similar; analogous#2319[Add to Longdo]
[ , gōng jīn, ㄍㄨㄥ ㄐㄧㄣ]kilogram#2420[Add to Longdo]
[  /  , zhǔ yì, ㄓㄨˇ ㄧˋ]-ism; ideology#2620[Add to Longdo]
[  /  , luò hòu, ㄌㄨㄛˋ ㄏㄡˋ]to fall behind; to lag (in technology etc); backward; to retrogress#2666[Add to Longdo]
[ , wén zì, ㄨㄣˊ ㄗˋ]character; script; writing; written language; writing style; phraseology#2744[Add to Longdo]
[  /  , zhuǎn ràng, ㄓㄨㄢˇ ㄖㄤˋ]transfer (technology, goods etc)#2781[Add to Longdo]
[  /  , duì huà, ㄉㄨㄟˋ ㄏㄨㄚˋ]dialog#3361[Add to Longdo]
[ / , xiè, ㄒㄧㄝˋ]to thank; to apologize; to wither (flowers, leaves etc); to decline; surname Xie#3549[Add to Longdo]
[  /  , xíng tài, ㄒㄧㄥˊ ㄊㄞˋ]shape; form; pattern; morphology#3581[Add to Longdo]
[  /  , shāng biāo, ㄕㄤ ㄅㄧㄠ]trademark; logo#3816[Add to Longdo]
[  /  , bìng biàn, ㄅㄧㄥˋ ㄅㄧㄢˋ]pathological changes#4513[Add to Longdo]
[  , gāo kē jì, ㄍㄠ ㄎㄜ ㄐㄧˋ]high tech; high technology#4760[Add to Longdo]
[  /  , qì xiàng, ㄑㄧˋ ㄒㄧㄤˋ]meteorology; atmosphere#4778[Add to Longdo]
[ , bìng lǐ, ㄅㄧㄥˋ ㄌㄧˇ]pathology#4804[Add to Longdo]
[    /    , kē xué jì shù, ㄎㄜ ㄒㄩㄝˊ ㄐㄧˋ ㄕㄨˋ]science and technology#4805[Add to Longdo]
[  /  , luó ji, ㄌㄨㄛˊ ㄐㄧ˙]logic#4922[Add to Longdo]
[ , shēng lǐ, ㄕㄥ ㄌㄧˇ]physiology#4941[Add to Longdo]
[  /  , mó nǐ, ㄇㄛˊ ㄋㄧˇ]imitation; to simulate; to imitate; analog (device, as opposed to digital)#4974[Add to Longdo]
[, , ㄆㄧˇ]clogged; evil#4986[Add to Longdo]
[  /  , yǎn yì, ㄧㄢˇ ㄧˋ]deductive (logic)#5296[Add to Longdo]
[  /  , duì yìng, ㄉㄨㄟˋ ㄧㄥˋ]to correspond; a correspondence; corresponding; homologous; matching with sth; counterpart#5337[Add to Longdo]
[ , dào qiàn, ㄉㄠˋ ㄑㄧㄢˋ]to apologize; to make an apology#5438[Add to Longdo]
[  /  , kǒu hào, ㄎㄡˇ ㄏㄠˋ]slogan; catchphrase#5579[Add to Longdo]
[  /  , dì zhì, ㄉㄧˋ ㄓˋ]geology#5589[Add to Longdo]
[  /  , dēng lù, ㄉㄥ ㄌㄨˋ]login; register#5617[Add to Longdo]
[  /  , shén huà, ㄕㄣˊ ㄏㄨㄚˋ]fairy tale; mythology; myth#6574[Add to Longdo]
[, , ㄧˇ](arch. final particle, analogous to 了)#6612[Add to Longdo]
[ , xiāng shuǐ, ㄒㄧㄤ ㄕㄨㄟˇ]perfume; cologne#7358[Add to Longdo]
[  /  , mù lù, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ]catalog; table of contents; directory (on computer hard drive); list; contents#7457[Add to Longdo]
[ , huī zhāng, ㄏㄨㄟ ㄓㄤ]badge; emblem; insignia; crest; logo; coat of arms#7636[Add to Longdo]
[ , bù tōng, ㄅㄨˋ ㄊㄨㄥ]be obstructed; be blocked up; be impassable; not make sense; be illogical; be ungrammatical#7691[Add to Longdo]
[    /    , xìn xī jì shù, ㄒㄧㄣˋ ㄒㄧ ㄐㄧˋ ㄕㄨˋ]information technology; IT#7821[Add to Longdo]
[, Pān, ㄆㄢ]surname Pan; Pan, faun in Greek mythology, son of Hermes#8053[Add to Longdo]
[  /  , shāng gǎn, ㄕㄤ ㄍㄢˇ]sick at heart; psychologically wounded#8157[Add to Longdo]
[, , ㄌㄩˋ]chlorine Cl, halogen with atomic number 17#8221[Add to Longdo]
Saikam JP-TH-EN Dictionary
技術
[ぎじゅつ, gijutsu] TH: เทคโนโลยี
技術
[ぎじゅつ, gijutsu] EN: technology
成り立つ
[なりたつ, naritatsu] TH: ใช้การได้
成り立つ
[なりたつ, naritatsu] EN: to be practical (logical, feasible)
謝る
[あやまる, ayamaru] TH: กล่าวขอโทษ
謝る
[あやまる, ayamaru] EN: to apologize
動物園
[どうぶつえん, doubutsuen] TH: สวนที่มีการศึกษาสัตว์
動物園
[どうぶつえん, doubutsuen] EN: zoological gardens
Longdo Approved DE-TH
(n)|der, pl. Gynäkologen| สูตินารีแพทย์See Also:der Frauenarzt
(adj, adv)ไม่ตรรกะ หรือ ไม่สมเหตุสมผลSee Also:A. logisch, nachvollziehbarSyn.unnachvollziehbar
(n)|die, nur Sg.| วิชาสังคมศาสตร์
(adj)ที่เกี่ยวกับทางสังคม
(n)|der, pl. Soziologen| นักสังคมศาสตร์Syn.die Soziologin/-nen
(adj, adv)ที่สอดคล้องกับเหตุผล, เป็นเหตุเป็นผล
(n)|die, nur Sg.| กระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต
(n)|die, nur Sg.| ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา
(adj, adv)ซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต
(adj, adv)เกี่ยวกับสรีรศาสตร์, เกี่ยวกับสรีรวิทยา
(n)|die, nur Sg.| สัณฐานวิทยาSyn.Formenlehre
(adj)เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematische) morphologische Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์)See Also:morphologie
DING DE-EN Dictionary
Infologie { f }
Phonologie { f }
ABC-Waffen { pl }; atomare, biologische und chemische Waffen [ mil. ]
nuclear, biological, and chemical weapons[Add to Longdo]
Ablaufglied { n }
step logic element[Add to Longdo]
Abmeldung { f } (am System) [ comp. ]
logging off; logoff[Add to Longdo]
Abrechnungsprotokolldatei { f }
accounting log file[Add to Longdo]
Abstammung { f }; Ahnentafel { f }
Abwassertechnik { f }
sewage technology[Add to Longdo]
Adressdekodierung { f }
address decode logic[Add to Longdo]
Änderungsprotokoll { n }
activity log[Add to Longdo]
Änderungsprotokoll { n }
amendment log[Add to Longdo]
Äthiologie { f }
Agrarökologie { f }
Agricultural Ecology[Add to Longdo]
Ahnenforschung { f }
genealogical research[Add to Longdo]
Algebra { f } [ math. ] | Boolesche Algebra { f }
algebra | algebra of logic[Add to Longdo]
Altbestandskatalogisierung { f }
retrospective conversion[Add to Longdo]
Alterungslehre { f }
gerontologic[Add to Longdo]
Analog-Digitalwandler { m }
analog (to) digital converter (ADC)[Add to Longdo]
Analog-Ausgabeeinheit { f }
analog output unit[Add to Longdo]
Analog-Digital-Umsetzer { m }
analog-digital converter; A/D converter[Add to Longdo]
Analog-Eingabeeinheit { f }
analog input unit[Add to Longdo]
Analoganzeige { f }
analog display; analogue display[Add to Longdo]
Analogausfall { m }
analog failure[Add to Longdo]
Analogdarstellung { f }
analog representation[Add to Longdo]
Analogdatenverarbeitung { f }
analogue data processing[Add to Longdo]
Analog- und Digitaltechnik { f }
analog and digital technology[Add to Longdo]
Analog- und Digital-Oszilloskop { n }
analog and digital oscilloscopes[Add to Longdo]
Analog- und Digitalelektronik { f }
analog and digital electronics[Add to Longdo]
Analoggröße { f }
analog quantity[Add to Longdo]
Analoghilfseingang { m }
auxiliary analog input[Add to Longdo]
Analogie { f } | Analogien { pl }
analogy | analogies[Add to Longdo]
Analogkanal { m }
analog channel[Add to Longdo]
Analogmessinstrument { n }
analog measuring instrument[Add to Longdo]
Analogon { n }; Gegenstück { n }; Nachbildung { f }
analog; analogue[Add to Longdo]
Analogquelle { f }
analog supply[Add to Longdo]
Analogrechner { m }
analog computer[Add to Longdo]
Analogschaltung { f }
analog circuit[Add to Longdo]
Analogsichtgerät { n }
analog display unit[Add to Longdo]
Analogsignal { n }
analog signal[Add to Longdo]
Analogsignalverarbeitung { f }
analog signal processing[Add to Longdo]
Analogspeicher { m }
analog memory[Add to Longdo]
Analogtechnik { f }
analog instrumentation; analog technique[Add to Longdo]
Analogverstärkung { f }
analog gain[Add to Longdo]
Analogwertschreiber { m }
analog data recorder[Add to Longdo]
Analogzeichengeber { m }
analog transmitter[Add to Longdo]
Analysator { m }
Angewohnheit { f }; Gewohnheit { f }; Gepflogenheit { f } | Angewohnheiten { pl }; Gewohnheiten { pl }; Gepflogenheiten { pl } | die Angewohnheit haben zu; die Gewohnheit haben zu | mit einer Gewohnheit brechen; sich etw. abgewöhnen
habit | habits | to be in the habit of | to break a habit[Add to Longdo]
Anthropologe { f }; Anthropologin { f }
anthropologist[Add to Longdo]
Anthropologie { f }; Menschenkunde { f }; Lehre { f } vom Menschen
anthropology[Add to Longdo]
Anthologie { f }
Longdo Approved FR-TH
(n)|m| ที่พักอาศัยSyn.résidence, habitat, appartement
EDICT JP-EN Dictionary
[mase ; mashi](aux) (1) (pol) (See ます) (used to make a polite request or demand) please; (2) used to increase the politeness of a greeting, apology, etc.#57[Add to Longdo]
[いちらん, ichiran](n, vs) (1) at a glance; (a) look; (a) glance; (a) summary; (2) (school) catalog; catalogue; (P)#119[Add to Longdo]
[もく, moku](n) (1) (biological) order; (2) item (of a budget revision, etc.); (ctr) (3) (See 囲碁) counter for go pieces; counter for surrounded positions (in go)#185[Add to Longdo]
[けい, kei](n, n-suf) (1) system; lineage; group; (2) { math } corollary; (3) (geological) system (range of strata that correspond to a particular time period); (4) (taxonomical) series; (P)#222[Add to Longdo]
[ば, ba](n) (1) place; spot; space; (2) field; discipline; sphere; realm; (3) (See その場) occasion; situation; (4) scene (of a play, movie, etc.); (5) session (of the stock market); (6) area in which cards are laid out (in a card game); (7) { physics } field; (8) field (gestalt psychology); (P)#247[Add to Longdo]
[komento](n, vs, adj-no) (1) comment; (2) (abbr) (See ブログコメント) (blog) comment; (P)#282[Add to Longdo]
[せい, sei](ctr) (1) counter for generations; (n, n-suf) (2) (geological) epoch#318[Add to Longdo]
[き, ki](n, n-suf) (1) period; time; (2) (geological) age#341[Add to Longdo]
[だい, dai](n, n-suf) (1) charge; cost; price; (2) (See 台・だい・6) generation; age; reign; (3) (geological) era; (4) (after someone's name or title) a representative of; on behalf of; for (someone); (5) (See 代表電話番号) used after a phone number to indicate that it is a switchboard number; (ctr) (6) (See 台・だい・6) counter for decades of ages, eras, etc.; (7) counter for generations (of inheritors to a throne, etc.); (8) (abbr) (See 代理申請会社) proxy application company#376[Add to Longdo]
[かれ, kare](n) (1) (uk) (See 何れ・1, 此れ・1, 其れ・1) that (indicating something distant from both speaker and listener (in space, time or psychologically), or something understood without naming it directly); (2) that person (used to refer to one's equals or inferiors); (3) (arch) over there; (4) (あれ only) (col) down there (i.e. one's genitals); (5) (あれ only) (col) period; menses; (int) (6) hey (expression of surprise or suspicion); eh?; (n) (7) that (something mentioned before which is distant psychologically or in terms of time); (P)#451[Add to Longdo]
[ぎじゅつ, gijutsu](n) art; craft; technique; technology; engineering; skill; (P)#549[Add to Longdo]
[たね, tane](n, n-suf) (1) kind; variety; (2) (biological) species; (3) (abbr) (See 種概念) (logical) species#565[Add to Longdo]
[まさ, masa](n, adj-no) (1) (logical) true; regular; (2) 10^40; (3) (abbr) (See 正本・せいほん) original; (4) { math } (See 負・ふ) positive; greater than zero; (P)#784[Add to Longdo]
[ま, ma](adj-na, n, adj-no) (1) truth; reality; genuineness; (2) seriousness; (n) (3) logical TRUE; (4) (See 楷書) printed style writing; (5) (abbr) (See 真打ち) star performer; (P)#892[Add to Longdo]
[なつ, natsu](n) Xia (dynasty of China; perhaps mythological)#895[Add to Longdo]
[roguin](n, vs) { comp } login#924[Add to Longdo]
[りれき, rireki](n) personal history; background; career; log; record; (P)#925[Add to Longdo]
[かど(P);もん(P), kado (P); mon (P)](n, n-suf) (1) gate; (2) (もん only) branch of learning based on the teachings of a single master; (3) (もん only) (biological) division; (ctr) (4) (もん only) counter for cannons; (P)#1127[Add to Longdo]
[せいぶつ, seibutsu](n, adj-no) (1) living things; creature; (n) (2) (abbr) (See 生物学) biology; (P)#1213[Add to Longdo]
[けいとう, keitou](n) system; family line; geological formation; lineage; ancestry; (P)#1225[Add to Longdo]
[かい, kai](n) (1) (biological) kingdom; (2) erathem (rock layer corresponding to the era in which it was deposited); (3) partition of land; (suf) (4) the world of (some category)#1313[Add to Longdo]
[ようご, yougo](n) (1) term; terminology; (2) wording; choice of words; phraseology; (P)#1451[Add to Longdo]
[rogu](n) log; journal; (P)#1534[Add to Longdo]
[もうしわけ, moushiwake](n, vs) apology; excuse; (P)#1578[Add to Longdo]
[りゅう(P);たつ;りょう, ryuu (P); tatsu ; ryou](n) (1) (See ドラゴン) dragon (esp. a Chinese dragon); (2) naga (semidivine human-cobra chimera in Indian mythology); (3) (りゅう, りょう only) promoted rook (shogi); (P)#1686[Add to Longdo]
[さいぼう(P);さいほう, saibou (P); saihou](n, adj-no) cell (biology); (P)#1875[Add to Longdo]
[てきよう, tekiyou](n, vs) applying (e.g. a technology); adoption; (P)#1935[Add to Longdo]
[rogo](n) (1) logo; (2) (abbr) logotype; (P)#2028[Add to Longdo]
[しそう, shisou](n) thought; idea; ideology; (P)#2077[Add to Longdo]
[たいわ, taiwa](n, vs, adj-no) dialogue; discussion; conversation; interaction; (P)#2094[Add to Longdo]
[つな, tsuna](n) (biological) class#2170[Add to Longdo]
[き, ki](n) (1) (abbr) (geological) period; (2) (abbr) (See 日本書紀) Nihon-shoki#2296[Add to Longdo]
[いきさつ(P);けいい;たてぬき;たてよこ(ok), ikisatsu (P); keii ; tatenuki ; tateyoko (ok)](n) (1) (いきさつ, けいい only) details; particulars; whole story; sequence of events; chronology; circumstances; how it started; how things got this way; (2) (けいい only) longitude and latitude; (3) (けいい, たてぬき, たてよこ only) (orig. meaning of けいい) (See 縦横・たてよこ・4) warp and weft; warp and woof; (P)#2320[Add to Longdo]
[しんり, shinri](n) state of mind; mentality; psychology; (P)#2539[Add to Longdo]
[ねんぴょう(P);えんぴょう, nenpyou (P); enpyou](n) chronological tables; chronology; (P)#3155[Add to Longdo]
[るいじ, ruiji](n, adj-no) (1) resemblance; similarity; analogous; quasi; (vs) (2) to resemble; to be similar; to be alike; (P)#3232[Add to Longdo]
[すじ, suji](n) (1) muscle; tendon; sinew; (2) vein; artery; (3) fiber; fibre; string; (4) line; stripe; streak; (5) (See 筋が通る) reason; logic; (6) plot; storyline; (7) lineage; descent; (8) school (e.g. of scholarship or arts); (9) aptitude; talent; (10) source (of information, etc.); circle; channel; (11) well-informed person (in a transaction); (12) logical move (in go, shogi, etc.); (13) ninth vertical line (shogi); (14) seam on a helmet; (15) (abbr) (See 筋蒲鉾) gristly fish paste (made of muscle, tendons, skin, etc.); (16) (arch) social position; status; (n-suf, n, adj-no) (17) on (a river, road, etc.); along; (suf, ctr) (18) counter for long thin things; (19) (arch) (Edo period) counter for hundreds of mon (obsolete unit of currency); (P)#3255[Add to Longdo]
[り, ri](n) (1) reason; principle; logic; (2) { Buddh } (See 事・じ) general principle (as opposed to individual concrete phenomenon); (3) (in neo-Confucianism) the underlying principles of the cosmos; (P)#3287[Add to Longdo]
[ge-to](n) (1) gate (for entry, boarding, etc.); (2) { comp } gate; (3) logic element; (P)#3871[Add to Longdo]
[かきこみ, kakikomi](n, vs) (1) writing; (2) entry (e.g. to a form); (3) posting (e.g. to a blog); (P)#3995[Add to Longdo]
[おわび, owabi](n, vs) apology#4034[Add to Longdo]
[さかい(P);きょう(境), sakai (P); kyou ( sakai )](n) (1) (usu. さかい) border; boundary; (2) (usu. きょう) area; region; spot; space; environment; (3) (usu. きょう) psychological state; mental state; (4) (きょう only) { Buddh } cognitive object; something perceptible by the sense organs or mind; (P)#4043[Add to Longdo]
[ろんり, ronri](n) (1) logic; (adj-no) (2) logical; (P)#4300[Add to Longdo]
[しゃざい, shazai](n, vs) apology; (P)#4413[Add to Longdo]
[りんしょう, rinshou](adj-no) clinical (e.g. pathology, physiology); (P)#4618[Add to Longdo]
[もんぶ, monbu](n) (abbr) (See 文部科学省) Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology; (P)#4741[Add to Longdo]
[にっし, nisshi](n) journal; log; (P)#4933[Add to Longdo]
[anarogu](adj-na, n, adj-no) analog; analogue; (P)#5116[Add to Longdo]
[しゅつど, shutsudo](n, vs) archeological excavation (archaeological); (P)#5127[Add to Longdo]
[けいふ, keifu](n) genealogy; pedigree; (P)#5139[Add to Longdo]
COMPDICT JP-EN Dictionary
[あいまいろんり, aimaironri]fuzzy logic[Add to Longdo]
[あくせすろぐ, akusesurogu]access log[Add to Longdo]
[あなこん, anakon]analog computer (abbr)[Add to Longdo]
[あなろぐ, anarogu]analog[Add to Longdo]
[あなろぐこんぴゅーたー, anarogukonpyu-ta-]analog computer[Add to Longdo]
[あなろぐすいっち, anarogusuicchi]analog switch[Add to Longdo]
[あなろぐでーた, anarogude-ta]analog data[Add to Longdo]
[アナログディジタルへんかんき, anarogudeijitaru henkanki]analog-to-digital converter, A, D converter, ADC (abbr.)[Add to Longdo]
[あなろぐでいすぷれい, anarogudeisupurei]analog display[Add to Longdo]
[アナログデジタルへんかんき, anarogudejitaru henkanki]AD converter, analog digital converter[Add to Longdo]
[あなろぐぽーと, anarogupo-to]analog port[Add to Longdo]
[アナログかさんき, anarogu kasanki]summer, analog adder[Add to Longdo]
[アナログかいせん, anarogu kaisen]analog line (circuit)[Add to Longdo]
[アナログかけざんき, anarogu kakezanki]analog multiplier[Add to Longdo]
[アナログわりざんき, anarogu warizanki]analog divider[Add to Longdo]
[アナログけいさんき, anarogu keisanki]analog computer[Add to Longdo]
[アナログしゅつりょくチャネルぞうふくき, anarogu shutsuryoku chaneru zoufukuki]analog output channel amplifier[Add to Longdo]
[アナログじょざんき, anarogu jozanki]analog divider[Add to Longdo]
[アナログじょうざんき, anarogu jouzanki]analog multiplier[Add to Longdo]
[アナログしんごう, anarogu shingou]analog signal[Add to Longdo]
[アナログそうち, anarogu souchi]analog device[Add to Longdo]
[アナログつうしんろ, anarogu tsuushinro]analog channel[Add to Longdo]
[アナログでんそう, anarogu densou]analog transmission[Add to Longdo]
[アナログにゅうりょくチャネル, anarogu nyuuryoku chaneru]analog input channel (e.g. in process control)[Add to Longdo]
[アナログにゅうりょくチャネルぞうふくき, anarogu nyuuryoku chaneru zoufukuki]analog input channel amplifier[Add to Longdo]
[アナログひょうげん, anarogu hyougen]analog representation[Add to Longdo]
[アナログひょうじ, anarogu hyouji]analog representation[Add to Longdo]
[アナログへんすう, anarogu hensuu]analog variable[Add to Longdo]
[アンチコピーぎじゅつ, anchikopi-gijutsu]anti-copying technology (software)[Add to Longdo]
[エミッタートランジスタろんりかいろ, emitta-toranjisuta ronrikairo]Emitter-Coupled Transistor Logic, ECTL[Add to Longdo]
[エミッタけつごうそし, emitta ketsugousoshi]ECL, Emitter Coupled Logic[Add to Longdo]
[えらーろぐ, era-rogu]error log[Add to Longdo]
[オブジェクトぎじゅつ, obujiekuto gijutsu]object technology[Add to Longdo]
[かたろぐ, katarogu]catalog (vs), catalogue[Add to Longdo]
[かたろぐどぷろしじゃ, katarogudopuroshija]cataloged procedure[Add to Longdo]
[きーてくのろじー, ki-tekunoroji-]key technology[Add to Longdo]
[きろ, kiro]kilo-, kilogram, kilometre, 10**3, k[Add to Longdo]
[げーと, ge-to]gate, logic element[Add to Longdo]
[コアぎじゅつ, koa gijutsu]core technology[Add to Longdo]
[こみっとろぐきろく, komittorogukiroku]log-commit record[Add to Longdo]
[システムろんりそうち, shisutemu ronrisouchi]system logical unit[Add to Longdo]
[じゃーなる, ja-naru]journal, log[Add to Longdo]
[だいあろぐ, daiarogu]dialogue[Add to Longdo]
[だいあろぐぼっくす, daiarogubokkusu]dialog box[Add to Longdo]
[ダイアログボックスをとじる, daiarogubokkusu wotojiru]to dismiss a dialog box[Add to Longdo]
[ダイアログかいふく, daiarogu kaifuku]dialogue recovery[Add to Longdo]
[ダイアログかくりつしじみかんりょう, daiarogu kakuritsushijimikanryou]dialogue establishment indication outstanding[Add to Longdo]
[ダイアログかくりつようきゅうみかんりょう, daiarogu kakuritsuyoukyuumikanryou]dialogue establishment request outstanding[Add to Longdo]
[ダイアログしゅうりょうしじみかんりょう, daiarogu shuuryoushijimikanryou]dialogue termination indication outstanding[Add to Longdo]
[ダイアログしゅうりょうようきゅうみかんりょう, daiarogu shuuryouyoukyuumikanryou]dialogue termination request outstanding[Add to Longdo]
JDDICT JP-DE Dictionary
[げしゅく, geshuku]Pension, Logis[Add to Longdo]
[もんどう, mondou]Frage_und_Antwort, Dialog[Add to Longdo]
[こうこがく, koukogaku]Archaeologie[Add to Longdo]
[たいわ, taiwa]Gespraech, Dialog[Add to Longdo]
[じょまく, jomaku]Vorspiel, Prolog[Add to Longdo]
[しんりがく, shinrigaku]Psychologie[Add to Longdo]
[しんりびょうしゃ, shinribyousha]psychologische_Schilderung[Add to Longdo]
[にほんがくしゃ, nihongakusha]Japanologe[Add to Longdo]
[こんちゅうがく, konchuugaku]Insektenkunde, Entomologie[Add to Longdo]
[ほしうらない, hoshiuranai]Astrologie, Horoskop[Add to Longdo]
[じょうり, jouri]Vernunft, Logik[Add to Longdo]
[きしょうがく, kishougaku]Meteorologie[Add to Longdo]
[とまりきゃく, tomarikyaku]Logiergast[Add to Longdo]
[ひにょうきか, hinyoukika]urologische_Abteilung, Urologie[Add to Longdo]
[そっこうじょ, sokkoujo]meteorologische_Station, Wetterwarte[Add to Longdo]
[まんざい, manzai]humoristischer_Dialog (auf der Buehne)[Add to Longdo]
[どくぎん, dokugin]Sologesang, Solovortrag[Add to Longdo]
[さんふじんかい, sanfujinkai]Gynaekologe[Add to Longdo]
[そうじ, souji]Aehnlichkeit, Analogie[Add to Longdo]
[ぜんもんどう, zenmondou]Zen-Dialog, unverstaendlicher_Dialog[Add to Longdo]
[すじ, suji]-Muskel, -Sehne, -Ader, -Faser; -Linie; -Logik; Vernunft, Handlung (Roman), Quelle (einer Information)[Add to Longdo]
[すじみち, sujimichi]Vernunft, -Logik[Add to Longdo]
[けいふ, keifu]Stammbaum, Ahnentafel, Genealogie[Add to Longdo]
[さいぼう, saibou]-Zelle (biologisch)[Add to Longdo]
[みゃくらく, myakuraku](logischer) Zusammenhang[Add to Longdo]
[ししゅう, shishuu]Gedichtsammlung, Anthologie[Add to Longdo]
[ろんり, ronri]Logik[Add to Longdo]
[しゅうだんしんり, shuudanshinri]Gruppenpsychologie, Massenpsychologie[Add to Longdo]
[おんいんがく, on'ingaku]Phonologie, Phonetik[Add to Longdo]
[るいじ, ruiji]Aehnlichkeit, Analogie[Add to Longdo]
[るいすい, ruisui]Analogie, Analogieschluss[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ