(แอคทิโนมอร์' ฟิค) fadj. ซึ่งเกี่ยวกับรัศมีสมมาตรหรือสัดส่วน, แบ่งออกได้ในแนวตั้งตรงเป็นครึ่งเล็ก ๆ ที่เหมือนกัน. -actinomorpous adj. actinomorphy n.
(อาฟ' เทอะโมสทฺ, แอฟ-') adj., n. หลังเที่ยง, บ่าย
(อาฟ' เทอะนูน, แอฟ-') adj., n. หลังเที่ยง, บ่าย
(อะแกร' เรียน) adj. เกี่ยวกับไร่นาและที่ดิน, เกี่ยวกับชาวนา, ชนบท. -n. ผู้นิยมการแบ่นนันที่ดินให้ -agrarianly adv. (relating to land)
(อา) interj. โอย, อะฮ้า! (คำอุทานแสดงความเจ็บปวดความประหลาดใจ ความเห็นด้วยความสงสาร การบ่น ความยินดี ฯลฯ)
(ไอลฺ) n. ทางเดินระหว่างที่นั่ง (ในรถ, โรงหนัง, เครื่องบิน, โบสถ์) , ที่นั่งฟังธรรมที่แบ่งเป็นตอนในโบสถ์. -in the aisles หัวเราะท้องแข็ง.
ภาวะที่ต้องเปลี่ยนท่าบ่อย ๆ
(แอล' โลเคท) vt. จัดสรร, แบ่งสรร, หาตำแหน่ง, กำหนด, บรรจุ, ลงบัญชี.
(แอลโลเค' เชิน) n. การจัดสรร, การแบ่งสรร, การบรรจุ, ภาวะที่ถูกจัดสรรหรือแบ่งสรร, ส่วนแบ่ง, การลงบัญชี, Syn.allotment
(อะลอท') vt. แจก, แบ่งส่วน, จัดแบ่ง, จัดสรร, จัดให้เพื่อจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง -alloter n., Syn.divide, appropriate
(อะลอท' เมินทฺ) n. การจัดแบ่ง, การจัดสรร, ส่วนที่จัดแบ่ง, ส่วนแบ่งที่ได้รับ, ที่ดินที่ให้คนสวนเช่า (share, portion, deal)
(อะลอทที) n. ผู้ที่ได้รับส่วนแบ่ง
(อะเลา' เอินซฺ) n. การยินยอม, การอนุญาตให้, สิ่งที่ได้รับส่วนแบ่ง, เงินส่วนแบ่ง, เงินช่วยเหลือ, เงินค่าใช้จ่าย, ส่วนเสริม, การอดทน, การยอมรับ, การพิจารณา, การให้อภัย. vt. เพื่อให้, จัดให้, จัดสรร, Syn.share, allotment
การทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะมีข้อความบ่งบอกไว้ว่า เป็น alpha version หมายความว่า รุ่นทดสอบรอบแรก ดู beta version ประกอบ
รุ่นทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีข้อความบ่งบอกไว้ว่าเป็นรุ่นทดสอบรอบแรก มีความหมายเหมือน alpha testดู beta version ประกอบ
(แอมมิโท' ซิส) n. วิธีการแบ่งเซลล์โดยตรง มีลักษณะที่มีการแบ่งตัวนิวเคลียส์ โดยไม่เกิดโครโมโซม. -amitotic adj.
(แอมฟีแอส' เทอะ) n. ส่วนที่เป็นรูปกระสวยในเซลล์ที่มีการแบ่งตัวแบบ mitosis
(แอน' นะเฟส) n.เป็นระยะที่สี่ของการแบ่งตัวแบบ miptosis เป็นระยะที่ chromatid ถูกดึงแยกออกจากกันเป็นสองส่วนแล้วเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงข้ามและไปหยุดที่ขั้วทั้งสองของเซลล์ ทำให้ spindle fibre ที่อยู่ระหว่างโครมาติดยาวมากขึ้น chromatid ที่แยกออกจากกันนี้แล้ว จะเป็นโครโมโซมที่สมบูรณ์
(อะนอน') adv. ไม่ช้า, เวลาอื่น, ทันที. -ever and anon เป็นประจำปี, บ่อย
(อะพาร์ท'เธด, -ธิด) n. การแบ่งผิว, การแบ่งแยกชนชาติ, Syn.segregation
(แอพพละแนท'ทิค) adj. ไม่มีการบ่ายบนทางทรงกรมหรือสี (..spherical aberration)
(แอพพะโครแมท'ทิค) adj. ไร้การบ่ายแบนของทรงกรมหรือสี -apochromatism n. (for spherical chromatic aberration)
(แอปเปิลทู) เป็นชื่อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกที่บริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาด คอมพิวเตอร์ชุดนี้ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพิวเตอร์ หลังจากที่แอปเปิล ทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และ แอปเปิล ทรี (Apple III) ตามกันออกมาอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรี หันมาผลิตชุดแมคอินทอช ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดสูงมากในปัจจุบัน
(อะพอร์'เชิน) vt. แบ่งปัน, แบ่งสรร -apportioner n., Syn.dispense, allot
(อะพอร์'เชินเมินทฺ) n. การแบ่งปัน, การแบ่งสรร
(อะแคว'เรียม) n., (pl. aquariums, aquaria) ที่เก็บ (บ่อ, ถัง, อ่าง, ฯลฯ) สัตว์น้ำหรือพืชน้ำ. -aquarian, aquarial adj.
(อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้)
แป้นลูกศรเป็นแป้นพิมพ์พิเศษที่ใช้เพื่อการเลื่อนตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ให้ขึ้นลง หรือขยับไปทางซ้ายหรือ ขวาได้ แป้นลูกศรนี้มีอยู่ 4 แป้นและจะมีลูกศรเล็ก ๆ เป็นเครื่องหมายบ่งบอกทิศทางของการ เลี่อน (ซ้าย, ขวา, บน, ล่าง)
(อาร์ที'เชียน-) n. บ่อน้ำบาดาล
(อาร์'โว) n. ตอนบ่าย (คำแสลงของภาษาออสเตรเลีย) (afternoon)
(อะซอร์ทฺ') vt., vi. เลือกสรร, แบ่งประเภท, ไปหาสู่กัน. -assortive adj.
(อะซอร์ท'ทิด) adj. ประกอบด้วยชนิดที่คัดเลือกแล้ว, ประกอบด้วยชนิดต่าง ๆ , หลายชนิด, หลากหลาย, คละกัน, เหมาะสม, แบ่งประเภทเป็นหมู่, Syn.miscellaneous, varied, sundry, Ant.matching, similar
(อะซอร์ท'เมินทฺ) n.การแบ่ง
(แอส'เทอะ) n. ต้นไม้ดอกจำพวกดอกเบญจมาศหรือดอกเก๊กฮวย, ส่วนที่มีรูปคล้ายดาว ในระหว่างการแบ่งตัวของเซลล์
(แอท'ทัมมิสซึม) n. ทฤษภ๊ที่ว่าธาตุที่ไม่สามารถแบ่งให้เล็กกว่าเดิมได้อีกนั้นเป็นส่วนประกอบที่สุดของสารทั้งหลาย. -atomist n. -atomic (al) adj. (atomic theory)
(อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn.assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น
(แอฟวะทาร์') n. อวตาร, การจุติลงมาเกิดของเทพในศาสนาพราหมณ์, ร่างอวตาร, ร่างที่แบ่งภาค
(อะเวิร์ท') vt. เบี่ยงบ่าย, บิดเบน, ปัดออก, เบือนหน้า. -avertible, avertable adj., Syn.deflect, divert, Ant.face, confront
(แบ็ก) คำ ๆ นี้ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลเพื่อบ่งบอกว่า เป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง (backup file) เช่น autoexec.bak (แฟ้มข้อมูลเดิมชื่อ autoexec.bat) นี้ ในบางกรณี โปรแกรมจะสร้างนามสกุลให้แฟ้มข้อมูลเหล่านี้เองโดยไม่ต้องสั่ง โดยเฉพาะถ้ามีการเก็บแฟ้มข้อมูลที่นำมาแก้ไขแล้วซ้ำอีกครั้งหนึ่ง แฟ้มที่แก้ใหม่จะใช้ชื่อเดิม แต่แฟ้มเดิมจะกลายเป็นแฟ้มสำรอง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำบางโปรแกรม
การประมวลผลเชิงกลุ่มหมายถึงการประมวลผลที่ทำต่อเนื่องกันไปตามลำดับโดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นตัวควบคุม ในการประมวลผลแบบนี้ เราจะต้องจัดรวบรวมข้อมูลและแบ่งแยกเป็นกลุ่มไว้ให้เรียบร้อยก่อน จึงส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลทีเดียว เมื่อเสร็จแล้วจึงจัดรวบรวมเป็นรายงาน หรือสรุปผลอีกทีหนึ่ง วิธีการประมวลผลแบบนี้ทำง่าย ประหยัด และตรงไปตรงมา แต่อาจจะช้าไปบ้าง เพราะต้องรอให้ข้อมูลเรียบร้อยก่อน ตรงกันข้ามกับการประมวลผลแบบเชื่อมตรง (on line proessing) ซึ่งหมายถึงการที่เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูลดู on line processing ประกอบ
(บีฟ) { beefed, beefing, beefs } n. เนื้อวัว, เนื้อควาย, วัวสำหรับฆ่าเป็นอาหาร, กำลังกล้ามเนื้อ, อำนาจ, พละกำลัง, น้ำหนัก, การบ่น vi. บ่น, See Also:beef up ทำให้แข็งแรง, เพิ่มกำลัง, เพิ่มจำนวน
(บิกรัดจฺ') { begrudged, begrudging, begrudges } vt. อิจฉา, ริษยา, เดียดฉันท์, บ่นว่า, ต่อว่า, See Also:begrudging adj. ดูbegrudge
(เบนดฺ) { bent, bent, bending, bends } vt., vi. ทำให้งอ, ทำให้โค้ง, ทำให้ยอม, ก้ม, งอ, โค้ง, น้าว, โน้ม, ดัด, หัน, บ่าย, เบี่ยง, จ้องเขม็ง n. การงอ, การดัด, การเบี่ยง, หัวโค้ง, คุ้ง, เงื่อนเชือก, Syn.curve
การค้นหาแบบทวิภาคหมายถึง วิธีการค้นหาโดยใช้ระบบแบ่งครึ่งข้อมูลทั้งหมดออกเป็นสองส่วน การค้นหาตัวที่ต้องการจะต้องเลือกหาจากข้อมูลทีละส่วน โดยใช้วิธีเดิมคือแบ่งเป็นสองส่วนย่อย หากพบในส่วนที่หนึ่ง ก็ไม่ต้องเสียเวลาหาในอีกส่วนหนึ่งอีกต่อไป
(ไบพาร์'ไททฺ) adj. ประกอบด้วย หรือแบ่งออกเป็นสองส่วน, แบบเดียวกัน 2 ฉบับ
vt., vi. แบ่งออกเป็นสองส่วน, , See Also:bisection n.
(ไบเซค'เทอะ) n. เส้นหรือแนวที่แบ่งมุมหรือส่วน
(บลอค) { blocked, blocking, blocks } n. ท่อนไม้, ท่อนหิน, ก้อนใหญ่, ชิ้นใหญ่, ห่อดินระเบิด, แท่นโลหะ, เขียง, แม่พิมพ์, ลูกรอก, ตะแลงแกง, ตึกที่แบ่งออกเป็นส่วน, เครื่องกีดขวาง, ทั้งแถว, ทั้งก้อน, ทั้งปีก, ตึกใหญ่, คฤหาสน์ใหญ่, อุปสรรค, การขัดขวาง, เขตหนึ่งของตัวเมือง, เขตห่างไกลท
n. ที่คั่นหนังสือ, ริบบิ้นหรือกระดาษคั่นหนังสือ ที่คั่นหนังสือคั่นหน้า1. การใช้ที่คั่นหนังสือนั้นเพื่อประโยชน์ในการกลับมาหาที่เก่าได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาค้นหา ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ทำไว้ให้ง่ายในการกลับมาค้นหา 2. เป็นคำสั่งในโปรแกรมบางโปรแกรมที่ช่วยให้กลับมาค้นหาง่าย กล่าวคือนำข้อความหรือคำสั่งมารวมไว้ หากต้องการสั่งก็จะหาพบได้ง่าย เช่น ในโปรแกรมเน็ตสเคป (ใช้อินเตอร์เน็ต) การเลือกคำสั่ง bookmark หมายถึงการนำชื่อโฮมเพจที่จะใช้บ่อย ๆ ไปเก็บรวมไว้ เมื่อต้องการกลับไปใช้อีก จะได้สั่งได้สะดวก