早稲田
[わせだ, waseda](name, org)วาเซดะ (ชื่อของมหาวิทยาลัย), มหาวิทยาลัยวาเซดะ
ずっと
[ずっと, zutto](adv)อย่างมาก โดยตลอด มาอย่างช้านาน
内務省
[ないむしょう, naimushou](n)กระทรวงมหาดไทย
ゴッグル
[ごっぐる, gogguru](n)แว่นตาแบบปิดลงมาด้านข้างใส่ในการปฏิบัติงานสำหรับป้องกันเศษผงกระเด็นเข้าตา
横断歩道
[おうだんほどう, oudanhodou](n)ทางม้าลาย, ทางคนข้าม
新着
[おうだんほどう, shinchaku](n)เพื่งมา, มาใหม่
一心
[いっしん, isshin]ใจดวงเดียวกัน , จิตใจมุ่งมั่น
施工
[せこう, sekou](n)การลงมือก่อสร้าง, การดำเนินการก่อสร้าง
設備
[せつび, setsubi](n)สิ่งอำนวยความสะดวก, อุปกรณ์, เครื่องมือ
科学的管理
[かがくてきかんり, kagakutekikanri](n)การควบคุมอย่างมีหลักการทางวิทยาศาสตร์
火傷防止手袋
[やけどぼうしてぶくろ, yakedoboushitebukuro](n)ถุงมือกันไฟ
細胞
[さいぼう, saibou](n)เซลล์, หน่วยเล็กสุดในร่างกายของสิ่งมีชีวิต
農機具
[のうきぐ, noukigu]เครื่องจักรกลการเกษตร, เครื่องมือกสิกรรม
めちゃくちゃ
[のうきぐ, mechakucha](adj, slang)ใช้เพื่อแสดงอาการ ว่า ม๊ากมาก จะมีความหมายแฝงเป็นทางด้านลบ เช่น ยุ่งม๊ากมาก เลอะสุดๆ เป็นต้น, See Also:S. とても とても
殺人的
[さつじんてき, satsujinteki](n)น่ากลัว, ชวนให้สยอง, รุนแรงมาก
todai
[とうだい, toudai](n)มหาวิทยาลัยโตเกียว (เป็นชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งของมหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น)
馬乗り
[うまのり, umanori](vt)ขี่หลังม้า
格好
[かっこう, kakkou](n, vi, vt)(เชพ) n. สัณฐาน, รูป, รูปแบบ, รูปโฉม, ร่าง, รูปร่าง, โฉม, ทรวดทรง, การกำหนดสัณฐาน (รูป, รูปแบบ, รูปโฉม..) การจัดอย่างมีระเบียบ, การซ่อมแซม, วิถีทางชีวิต, สภาพการณ์, เครื่องอาภรณ์แสดงละคร, -Phr. (take shape ก่อร่าง, เป็นรูปเป็นร่างขึ้น) vt., vi. ก่อร่าง, แสดงออกเป็นถ้อยคำ
装置
[そうち, souchi](n, vt)การติดตั้ง(อุปกรณ์เครื่องมือ) อุปกรณ์ เครื่องมือ
打ち上げ
[うちあげ, uchiage](n, vi, vt)(ลอนชฺ) { launched, launching, launches } vt. ปล่อย (เรือ) ลงน้ำปล่อย (ดาวเทียม, ทุ่นระเบิด) , เหวี่ยง, ยิง, ทำให้เริ่มปฏิบัติการ, เริ่ม, ยื่น (คำคัดค้าน) , ออกคำสั่ง. vi. เริ่ม, เข้าร่วม, ลงมือ. n. การปล่อย, การเริ่มปฏิบัติการ, การเข้าร่วม, เรือบด, เรือยนต์ คำที่มีความหม
超硬合金
[ちょうこうごうきん, choukougoukin](n)วัดุโลหะชนิดหนึ่งมีความแข็งมากกว่าเหล็ก 5 เท่า มักใช้ทำเป็นแม่พิมพ์ที่ใช้ในการอัดเพื่อขึ้นทรงหรือรีดเหล็ก
熱膨張係数
[ねつぼうちょうけいすう, netsubouchoukeisuu](n)ค่าสัมประสิทธิ์การขยายตัวอันเนื่องมาจากความร้อน
สมูก
[จมูก](slang)เป็นคำที่ แผลงมาจากจมูก เช่น น้องนิวสมูกบาน
横目
[よこめ, yokome]แอบมอง ชำเลืองมอง
います
[imasu, imasu]มี / อยู่ ใช้กับ สิ่งต่างๆ ที่ขยับด้วยตัวเองได้ [ สิ่งมีชีวิต ] ใช้ร่วมกับคำช่วย が[ ga ] เช่น うちに ねこが います ที่บ้านมีแมวอยู่
七味唐辛子
[しちみとうがらし, shichimitougarashi](n)เครื่องปรุงชนิดผงมีส่วนผสมจากเครื่องเทศ7ชนิด
片栗粉
[かたくりこ, katakuriko](n)แป้งมันสำปะหลัง
老舗
[ろうほ, rouho]ร้านเก่าแก่(ตั้งมานาน)
四つん這い
[よつんばい, yotsunbai](n)ตั้งท่าคลาน (ใช้ทั้งมือ และเท้า)
校正
[こうせい, kousei](n)การสอบเทียบ (เครื่องมือวัดต่างๆ)
一部事業組合
[いちぶじぎょうくみあい, ichibujigyoukumiai](n, name)สหการ (เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ที่เกิดจากการรวมตัวกันขององค์กรปกครองท้องถิ่นมากกว่าหนึ่งแห่งในการทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น สหการแข่งม้า ก็เป็นการรวมตัวขององค์กรปกครองท้องถิ่นเพื่อจัดการแข่งม้าและหารายได้เข้าสหการ จากนั้นสหการก็จะนำรายได้ที่เข้าสหการ นำไปแบ่งให้แก่เทศบาลหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกของสหการ
器具
[きぐ, kigu](n)เครื่องมือ, เครื่องใช้, เครื่องใช้ภายในบ้าน
滅菌
[めっきん, mekkin, mekkin , mekkin]การทำให้ปราศจากเชื้อ - การทำลายเซลล์ สปอร์ หรือไข่ ของสิ่งมีชีวิต จนทำให้ไม่สามารถแพร่พันธุ์ได้อีก
質量中心
[しつりょうちゅうしん, shitsuryouchuushin](n)จุดศูนย์กลางมวล (ฟิสิกส์), See Also:R. center of mass CM
床の間
[とこのま, tokonoma]เป็นส่วนที่ยกพื้นห้องขึ้นสูงมุมหนึ่งในห้องแบบญี่ปุ่น ประดับด้วยแจกันดอกไม้ และภาพแขวนฝาผนัง
厨房 ; 中坊 ; 中に病
[จูโบ จูนิเบียว จูนิบโย chuubou chuububyou ちゅうにびょう ちゅうぼう](n, slang)ความหมายโดยแท้จริง แปลว่า ครัว แต่เนื่องจากไปพ้องเสียงกับอีกคำแสลงอีกคำที่มีความหมายว่า เกรียน (ทำตัวเป็นเด็กไม่รู้จักโต ก่อกวน หรือสร้างความรำคาญให้ผู้อื่น) คือ 中坊 (เด็กมัธยมต้น หรือ เด็กที่ไม่รู้จักโต) และในขั้นตอนเวลาพิมพ์คำว่า 中坊 มักจะไม่ออกมาให้เลือก ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่จึงใช้คำ 厨房 ในเชิงคำแสลงว่า "เกรียน" แทนคำเดิมไปโดยปริยาย นอกจากนี้ยังมีคำว่า 中に病 (ちゅうにびょう)ซึ่งแปลว่า "โรคเด็กม.ต้น" ก็มีใช้ในความหมายเชิงว่า เกรียน ได้ด้วยเ่ช่นกัน (ขอบคุณข้อมูลจากเพจ "เรียนภาษาญี่ปุ่นกับโอมเซนเซ" ด้วยค่ะ)
手を打つ
[จูโบ จูนิเบียว จูนิบโย chuubou chuububyou ちゅうにびょう ちゅうぼう, te wo utsu](n, vi)ลงมือ
打つべき手
[จูโบ จูนิเบียว จูนิบโย chuubou chuububyou ちゅうにびょう ちゅうぼう, utsu beki te](n)การควรลงมือทำ