แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
89 ผลลัพธ์ สำหรับ 

acquisition

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -acquisition-, *acquisition*
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)การได้มาSyn.acquirement, acquiring, attainment
(n)การตรวจหาที่ตั้งโดยเรดาร์ (เครื่องบิน)See Also:การตรวจหาที่ตั้งโดยเครื่องมืออื่นๆ
(n)การพัฒนาทักษะ
(n)สิ่งที่เพิ่มเติมSyn.addition, accession, appendix
Hope Dictionary
(แอคคิวซิซ' เชิน) n. การได้มาซึ่งการเข้าถือสิทธิ์, สิ่งที่ได้มาSyn.procurement
การรวบรวมข้อมูลหมายถึง การเสาะหาหรือการรับข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์
Nontri Dictionary
(n)การครอบครอง, การเข้าถือสิทธิ์, การเข้ายึด, สิ่งที่ได้มา
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การได้มาซึ่งดินแดน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การได้มา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ค่าใช้จ่ายในการขาย[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
มีความหมายเหมือนกับ acquisition cost[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำผิดที่ทำให้ได้ทรัพย์มา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
การจัดหาExample:<p>การจัดหา (Acquisition) ในที่นี้หมายถึงการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด ศูนย์บริการสารสนเทศ ศูนย์บริการความรู้ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมที่ให้ได้มาซึ่งทรัพยากรสารสนเทศ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ โดยวิธีการต่าง ๆ ได้แก่ การจัดซื้อ การบอกรับเป็นสมาชิก การขอหรือได้รับบริจาค การแลกเปลี่ยน และการจัดทำขึ้นเอง <p>1. การจัดซื้อ เป็นวิธีที่ห้องสมุดใช้ในการจัดหามากที่สุด วิธีการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศทั่วไปที่ห้องสมุดนิยมใช้ ได้แก่ การสั่งซื้อแบบรายย่อย การสั่งซื้อแบบรวม การสั่งซื้อแบบประจำ การสั่งซื้อแบบเสนอให้เลือก และการสั่งซื้อแบบให้ตัวแทนเลือกให้ <p>2. การขอและรับบริจาค เป็นอีกวิธีหนึ่งของการจัดหาที่ประหยัดงบประมาณของห้องสมุด วิธีการขอหรือรับบริจาคทรัพยากรสารสนเทศนั้น ห้องสมุดอาจทำเป็นครั้งคราวหรือขอสมัครเป็นสมาชิกเพื่อรับทรัพยากรสารสนเทศนั้นเป็นประจำ แหล่งที่บริจาค ได้แก่ หน่วยงานของรัฐบาล ห้องสมุด องค์กรระหว่างประเทศ องค์กรการกุศล องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร มูลนิธิ หน่วยงานที่จัดกิจกรรมวิชาการ เช่น การประชุม สัมมนา เป็นต้น <p>3. การแลกเปลี่ยน วัตถุประสงค์ของการแลกเปลี่ยนทรัพยากรกันระหว่างห้องสมุด คือ การจัดหาทรัพยากรที่ไม่มีจำหน่ายโดยทั่วไป เช่น วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ สิ่งพิมพ์ของห้องสมุดหรือหน่วยงานที่สังกัด รายงานการประชุมหรือสัมมนา รายงานประจำปี เป็นต้น ซึ่งทรัพยากรสารสนเทศที่จะแลกเปลี่ยนดังกล่าวห้องสมุดมีซ้ำ จำนวนมากเกินความจำเป็น หรือไม่ตรงกับความต้องการของห้องสมุด <p>4. การบอกรับ เป็นวิธีจัดหาวิธีหนึ่ง นิยมใช้กับทรัพยากรสารสนเทศที่มีการปรับปรุงสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้แก่ วารสาร และฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ / ออนไลน์ เช่น บทความวารสาร หนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุม เอกสารอื่น ๆ เป็นต้น การบอกรับกระทำโดยการเป็นสมาชิกของสำนักพิมพ์ / ผู้ผลิต หรือ ตัวแทนจำหน่าย / บริษัทผู้ให้บริการ <p>5. การผลิตหรือจัดทำขึ้นเอง ห้องสมุดจำเป็นต้องมีการผลิตทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ ทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดผลิตหรือจัดทำขึ้น เช่น กฤตภาค รูปภาพ ดัชนี บรรณานุกรม จุลสาร วารสารและสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของห้องสมุด รวมทั้งการแปลงสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ / ออนไลน์ เพื่อประหยัดเนื้อที่จัดเก็บ หรือเพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด โดยเฉพาะสิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ เช่น หนังสือหายาก ต้นฉบับตัวเขียน เป็นต้น ห้องสมุดจะให้บริการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ในรูปแบบของแผ่นซีดีรอม แผ่นดีวิดี หรือฐานข้อมูลออนไลน์ <p>ด้วยวิธีการจัดหาทั้งหมดดังกล่าว ก่อให้เกิดความสำคัญในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ คือ <p>1. ทำให้ห้องสมุดได้ทรัพยากรสารสนเทศที่มีคุณค่า <p>2. ทำให้ได้ทรัพยากรสารสนเทศที่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ <p>3. ทำให้ห้องสมุดประหยัดงบประมาณในการจัดหา และประหยัดเวลาในการทำงาน <p>4. ทำให้ห้องสมุดสามารถดำเนินงานได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การเรียนรู้[TU Subject Heading]
การแสวงหา[การแพทย์]
การจัดหาทรัพยากรห้องสมุด[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
แผนกจัดหา, ฝ่ายจัดหา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การได้มาซึ่งสินทรัพย์[ตลาดทุน]
การครอบงำกิจการ[TU Subject Heading]
การจัดหาวารสารExample:<p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การจัดหาสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง[TU Subject Heading]
การจัดหาทรัพยากร[TU Subject Heading]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
The acquisition of a particular little piece of information has cost me a small fortune.Anna and the King (1999)
ในประวัติศาสตร์ ของอารยธรรมใด ๆ มันเป็นช่วงเวลาของการเข้า ซื้อกิจการของเทคโนโลยีContact (1997)
Beresford Capital opened higher today after their announcement of the Dirasonic acquisition over the weekend.Awake (2007)
And with that merger still in question, the Dirasonic acquisition will go a great way to calming investors' concerns that Beresford is playing with fire.Awake (2007)
ทั้งหมดเป็นลักษณะของการถูกรัดคอWrecking Crew (2008)
ใช่ เราอยู่ในธุรกิจข้อมูลข่าวสารWarGames: The Dead Code (2008)
..แต่ปัญหาการรวบรวมข้อมูล ในทฤษฎี "สังคมแห่งจิตใจ" ของมินสกี้ ได้ถูกพูดถึง โดยซิงค์ ในหัวข้อ"E-M-One"Chuck Versus the Lethal Weapon (2009)
สำหรับเรา ที่ Comintex ผลกำไรแสดงว่าปีนี้เป็นปีที่เราได้เติบโต ทั้งใน APL และ ไฟเบอร์ ออพติก ในดัชท์, แซนดักConfessions of a Shopaholic (2009)
ทันทีที่คุยกันเสร็จ เราจะลองไปดูทุกๆ บริษัท ที่BRรวบมาไว้ในรอบ 18 เดือนDuplicity (2009)
มีทั้งหมด 57 แห่งDuplicity (2009)
เชื่อได้ว่า BR จัดการเคลียร์หนี้สิน ให้กับฟอร์มาเวลเรียบร้อยDuplicity (2009)
เรื่องเดินทางไปดันวู๊ดดี้ เบื้องหลังการเข้าถือครองฟอร์มาเวล การลงของตอนเที่ยงคืน มีพร้อมหมดDuplicity (2009)
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)learningSee Also:acquisition of knowledgeSyn.การศึกษา, การเรียน, การเล่าเรียนExample:พฤติกรรมของสัตว์มีความยืดหยุ่น สามารถดัดแปลงได้โดยการเรียนรู้ภายหลังThai Definition:การศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ หรือความชำนาญ
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kān dāi dindaēn] (n, exp) EN: acquisition
[kān dāimā] (n) EN: acquisition  FR: acquisition [ f ]
[kān jathā ngoenthun] (n, exp) EN: acquisition of capital ; raising of capital
[kān rīenrū] (n) EN: learning ; acquisition of knowledge  FR: apprentissage [ m ] ; compréhension [ f ] ; acquisition de connaissances [ f ]
[kān rūaprūam khømūn] (n, exp) EN: data collection ; data acquisition
[kān seū] (n) EN: buying ; purchase ; acquisition  FR: achat [ m ]
[sing thī dāimā] (n, exp) EN: acquisition  FR: acquisition [ f ]
WordNet (3.0)
(n)the act of contracting or assuming or acquiring possession of something
(n)something acquired
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

n. [ L. acquisitio, fr. acquirere: cf. F. acquisition. See Acquire. ] 1. The act or process of acquiring. [ 1913 Webster ]

The acquisition or loss of a province. Macaulay. [ 1913 Webster ]

2. Specifically: (Business, Finance) The purchase of one commercial enterprise by another, whether for cash, or in a trade of stock of the purchasing company for that of the purchased company.
Syn. -- buyout, takeover. [ PJC ]

3. The thing acquired or gained; an acquirement; a gain; as, learning is an acquisition. [ 1913 Webster ]

Syn. -- See Acquirement. [ 1913 Webster ]

DING DE-EN Dictionary
Abschlussgebühr { f }
acquisition fee[Add to Longdo]
Abschlussprovision { f }
acquisition commission[Add to Longdo]
Anschaffungsetat { n }
acquisition budget[Add to Longdo]
Anschaffungskosten { pl }; Abschlusskosten { pl }; Akquisitionskosten { pl }
acquisition cost[Add to Longdo]
Anschaffungsvorschlag { m } / Anfrage (Bibliothek)
acquisition request[Add to Longdo]
Beschaffungswert { m }; Anschaffungswert { m }
acquisition value[Add to Longdo]
Beteiligungserwerb { m }
acquisition of stock[Add to Longdo]
Bezugsart { f }
acquisition type[Add to Longdo]
Bezugsdaten { pl }
acquisition data[Add to Longdo]
Eigentumserwerb { m }
acquisition of ownership[Add to Longdo]
Einstandspreis { m }; Lagereinstandspreis { m }
acquisition price[Add to Longdo]
Erfassungsliste { f }; Zugangsliste { f }
acquisition list[Add to Longdo]
Erfassungsabwicklung { f }
acquisition management[Add to Longdo]
Erfassungsaufgabe { f }
acquisition task[Add to Longdo]
Erfassungsaufwand { m }
acquisition effort[Add to Longdo]
EDICT JP-EN Dictionary
[かくとく, kakutoku](n, vs, adj-no) acquisition; possession; (P)#795[Add to Longdo]
[しゅとく, shutoku](n, vs) acquisition; (P)#1351[Add to Longdo]
[ばいしゅう, baishuu](n, vs) (1) acquisition (esp. corporate); buy-out; takeover; purchase; (2) corruption; bribery; (P)#3311[Add to Longdo]
[しんちゃく, shinchaku](n, adj-no, vs) new arrivals; new acquisitions#6140[Add to Longdo]
[しゅうとく, shuutoku](n, vs) learning; acquisition; (P)#8344[Add to Longdo]
[akuijishon ; akuuijishon](n) acquisition[Add to Longdo]
[amedasu](n) Automated Meteorological Data Acquisition System; AMeDAS; (P)[Add to Longdo]
[データしゅとく, de-ta shutoku](n) { comp } data acquisition[Add to Longdo]
[データしゅうしゅう, de-ta shuushuu](n) { comp } data collection; data acquisition[Add to Longdo]
[データしゅうしゅうかんりシステム, de-ta shuushuukanri shisutemu](n) { comp } data acquisition and control system[Add to Longdo]
COMPDICT JP-EN Dictionary
[データしゅとく, de-ta shutoku]data acquisition[Add to Longdo]
[データしゅうしゅう, de-ta shuushuu]data collection, data acquisition[Add to Longdo]
[データしゅうしゅうかんりシステム, de-ta shuushuukanri shisutemu]data acquisition and control system[Add to Longdo]
[きょうどうしゅうしゅう, kyoudoushuushuu]co-operative acquisition[Add to Longdo]
[じどうデータしゅうしゅう, jidou de-ta shuushuu]Automatic Data Acquisition, ADA[Add to Longdo]
[むしょうしゅうしゅう, mushoushuushuu]free acquisition[Add to Longdo]
[ゆうしょうしゅうしゅう, yuushoushuushuu]non-gratuitous acquisition[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ