นิเวศวิทยารังสี, การศึกษาผลกระทบของสารกัมมันตรังสีที่มีในธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นต่อระบบนิเวศ สารกัมมันตรังสีอาจมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของตัวมันเอง และมีวัฏจักรการเคลื่อนย้ายในระบบนิเวศภายในกลุ่มหรือระหว่างกลุ่มของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต (หิน ดิน น้ำ และอากาศ) ในสภาวะแวดล้อมต่างๆ กัน เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต ส่งผลกระทบทางชีววิทยาและการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ[นิวเคลียร์]
ความวิตกกังวล[TU Subject Heading]
ความวิตกกังวลต่อทันตกรรม[TU Subject Heading]
การใช้ชีวิตกลางแจ้ง[TU Subject Heading]
คุณภาพชีวิตการทำงาน[TU Subject Heading]
ความวิตกกังวลในการพูด[TU Subject Heading]
ตารางชีวิตการทำงาน, Example:แสดงจำนวนปีเฉลี่ยของชีวิตการทำงาน ในขณะที่ประชากรที่ประกอบกิจกรรมทาง เศรษฐกิจแต่ละคนยังใชีวิตอยู่ในแต่ละช่วงอายุ [สิ่งแวดล้อม]
สิ่งมีชีวิตกำจัดศัตรูพืช, Example:สิ่งมีชีวิตหรือสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิตซึ่งมี ฤทธิ์ในการกำจัดศัตรูพืช โดยจะทำให้เกิดผลกระทบเฉพาะด้านต่อขบวนการทางชีววิทยาของศัตรูพืชดังกล่าว มากกว่าการทำให้เกิดความเป็นพิษเช่นเดียวกับสารเคมี ตัวอย่างเช่น การนำโปรตีนของแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis (BTK) ไปรบกวนกระบวนการดูดซึมอาหารของแมลงบางชนิด เป็นต้น ซึ่งข้อดีของ biopesticides เมื่อเปรียบเทียบกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชก็คือ สามารถย่อยสลยได้ง่ายกว่าและมีความเฉพาะเจาะจงกับศัตรูพืชที่ต้องการทำลาย มากกว่า [สิ่งแวดล้อม]
ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ[การทูต]
ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง[การทูต]
โคลน , วิธีการหรือกระบวนการที่ใช้สร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์ ซึ่งอาจจะเป็นดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิตก็ได้ นอกจากนี้ยังอาจหมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นมาจากกระบวนการดังกล่าวได้อีกด้วย คำว่า โคลน มีที่มาจากคำในภาษากรีกที่แปลง่า กิ่งก้าน[เทคโนโลยีชีวภาพ]
ยาระงับความวิตกกังวล[การแพทย์]
ยาที่ใช้ระงับความวิตกกังวล, ยาต้านวิตกกังวล[การแพทย์]
ยาต้านวิตกกังวลที่ดีเลิศในอุดมคติ[การแพทย์]
ความกังวล, ความวิตกกังวล, กังวล, กระวนกวาย, วิตกกังวล, ความกังวลใจ[การแพทย์]
กลุ่มอาการวิตกกังวลและซึมเศร้า[การแพทย์]
ความผิดปกติจากอารมณ์หวั่นวิตกสุดขีดอย่างเฉียบพลัน[การแพทย์]
ความวิตกกังวลกระจายไปทั่ว[การแพทย์]
โรคประสาทหวั่นวิตกจากการพลัดพราก[การแพทย์]
โรคประสาทแบบวิตกกังวล, โรคประสาทกังวล, โรคประสาทชนิดวิตกกังวล, โรคประสาทวิตกกังวล[การแพทย์]
แบบวิตกกังวล, โรคประสาทกังวล[การแพทย์]
ความวิตกกังวลเกิดเป็นช่วงๆ[การแพทย์]
หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวลให้แก่ผู้ป่วย[การแพทย์]
ความวิตกกังวลที่เป็นลักษณะเฉพาะ[การแพทย์]
ความวิตกกังวลเรื้อรัง[การแพทย์]
การสื่อความวิตกกังวล[การแพทย์]
ความวิตกกังวลเกิดเป็นช่วง ๆ[การแพทย์]
ความวิตกกังวลมีลักษณะลอยตัวเป็นอิสระ[การแพทย์]
ความวิตกกังวลที่กระจายทั่วไป[การแพทย์]
ความวิตกกังวลอย่างรุนแรง[การแพทย์]
ความวิตกกังวลที่ผิดปกติ[การแพทย์]
ความวิตกกังวลเชิงโรคประสาท[การแพทย์]
ความวิตกกังวลปกติ[การแพทย์]
ความวิตกกังวลเชิงวัตถุวิสัย[การแพทย์]
อารมณ์หวั่นวิตกกังวลและหวาดกลัวโดยไม่มีตัวเร้า[การแพทย์]
ความวิตกกังวลจากโรคทางกาย[การแพทย์]
ความวิตกกังวลอย่างท่วมท้น[การแพทย์]
ความวิตกกังวลที่มีพยาธิสภาพ[การแพทย์]
หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวลให้แก่ผู้ป่วย[การแพทย์]
ความวิตกกังวลคงอยู่นาน[การแพทย์]
ความวิตกกังวลที่สะท้อนกลับ[การแพทย์]
ความวิตกกังวลแบบเกี่ยวเนื่องกับเหตุการณ์[การแพทย์]
แนวโน้มวิตกกังวล, ความวิตกกังวลซ่อนเร้น[การแพทย์]
ฤทธิ์ต้านวิตกกังวล[การแพทย์]
ยาต้านวิตกกังวลที่ออกฤทธิ์สั้น[การแพทย์]
ฤทธิ์แก้วิตกกังวลที่ติดมาด้วย[การแพทย์]
ยาลดกังวล, กลุ่มยาคลายความวิตกกังวล, ยาต้านวิตกกังวล, ยาคลายกังวล, ยาระงับอาการทางประสาท, ยาคลายความวิตกกังวล[การแพทย์]
ยาแก้วิตกกังวลที่ออกฤทธิ์ส่วนกลางและกระจายไปทั่[การแพทย์]
กระวนกระวาย, วิตกกังวล, กังวล, อารมณ์เสีย[การแพทย์]