ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
สหกรณ์การเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
สมาคมสหกรณ์สินเชื่อเพื่อการเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
ธนาคารเพื่อการสหกรณ์[เศรษฐศาสตร์]
สหกรณ์การตลาด[เศรษฐศาสตร์]
สหกรณ์สินเชื่อ[เศรษฐศาสตร์]
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ[เศรษฐศาสตร์]
สหกรณ์การซื้อ[เศรษฐศาสตร์]
ผลการตรวจสมรรถนะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์, Example:กลุ่มผู้ผลอตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นานาชาติที่มาร่วมกันสรุปผลการตรวจสมรรถนะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมมาตราฐานที่ทำงานภายใต้เงื่อไขที่กำหนด การวัดสมรรถนะนี้เรียกว่า SPECmark[คอมพิวเตอร์]
ธนาคารสินเชื่อการเกษตร[TU Subject Heading]
สหกรณ์การเกษตร[TU Subject Heading]
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก[TU Subject Heading]
ความร่วมมือของเอเชีย[TU Subject Heading]
สหกรณ์ออมทรัพย์[TU Subject Heading]
ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกับโรงเรียน[TU Subject Heading]
สหกรณ์ผู้บริโภค[TU Subject Heading]
ความร่วมมือ[TU Subject Heading]
สหกรณ์กับสังคมนิยม[TU Subject Heading]
โฆษณาร่วม[TU Subject Heading]
การตลาดสหกรณ์[TU Subject Heading]
การตลาดสหกรณ์ของผลิตผลเกษตร[TU Subject Heading]
สหกรณ์[TU Subject Heading]
สหกรณ์โคนม[TU Subject Heading]
สหกรณ์ประมง[TU Subject Heading]
สหกรณ์เคหสถาน[TU Subject Heading]
ความร่วมมือระหว่างโรงเรียน[TU Subject Heading]
ความร่วมมือระหว่างรัฐ[TU Subject Heading]
ความร่วมมือระหว่างประเทศ[TU Subject Heading]
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด[TU Subject Heading]
สหกรณ์เพื่อการตลาด[TU Subject Heading]
สหกิจศึกษา[TU Subject Heading]
ความร่วมมือของภูมิภาคแปซิฟิก[TU Subject Heading]
สหกรณ์ผู้ผลิต[TU Subject Heading]
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน[TU Subject Heading]
สหกรณ์นักเรียน[TU Subject Heading]
ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย[TU Subject Heading]
สตรีในงานสหกรณ์[TU Subject Heading]
กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย -แปซิฟิก, Example:ประกอบด้วยสมาชิก 18 ประเทศ (ปี2538) ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน จีน ไต้หวัน ฮ่องกง เม็กซิโก ปาปัวนิวกีนี และชิลี โดยเริ่มกำเนิดขึ้นจากการประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศในภูมิภาคเมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ณ ประเทศออสเตรเลีย เป็นการรวมตัวกันอย่างหลวมๆ เพื่อความร่วมมือกันทางด้านเศรษฐกิจเท่านั้น วัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน คือ สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้า ของภูมิภาคและของโลกขยายความร่วม มือในกสาขาเศรษฐกิจที่มีความสนใจร่วมกัน พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้าหลายฝ่ายของแกตต์ ลดอุปสรรคในการค้าสินค้าและบริการ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ [สิ่งแวดล้อม]
สภาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ, Example:กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ที่นับถือศาสนาอิสลามมีสมาชิก 10 ประเทศ ได้แก่ อิหร่าน ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ตุรกี อาเซอร์ไบจัน อุสเบกิสถาน คาซักสถาน คีร์กีเซีย เคอรักเบนิสถาน และทาจิกิจสถาน สมาชิกกลุ่มนี้ได้จัดประชุมเป็นครั้งแรก เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 ที่กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน และต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ได้จัดประชุมระดับรัฐมนตรีเพื่อกำหนดแนวทางความร่วมมือของกลุ่มในด้านต่างๆ ซึ่งรวมทั้งการส่งเสริมการค้าระหว่างกัน โดยการลดอุปสรรคต่างๆ ทั้งทางด้านภาษีและที่มิใช่ภาษีลง [สิ่งแวดล้อม]
องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการ พัฒนา, Example:องค์การระหว่างประเทศ ประกอบด้วยสมาชิก ที่เป็นประเทศอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้วรวม 24 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ญี่ปุ่น ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2504 เพื่อส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน และมาตรฐานการครองชีพของประเทศสมาชิก ในขณะเดียวกันก็มีนโยบายรักษาเสถียรภาพทางเงินของโลก เพื่อให้เอื้ออำนวนต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก นอกจากนี้ยังใช้เวทีในการเจรจาหารือปัญหาทางเศรษฐกิจของโลก และการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศกำลังพัฒนาด้วย องค์การนี้เดิมคือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในยุโรป ซึ่งก่อตั้งขึ้นมาตามแผนฟื้นฟูยุโรปในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ของรัฐมนตรีจอร์จมาร์เชลล์ (George Marshall) แห่งสหรัฐอเมริกา (ดู Marshall Plan) [สิ่งแวดล้อม]
โครงการความร่วมมือด้านการพัฒนาอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นกรอบความร่วมมือระยะ 5 ปี ที่ออสเตรเลียให้ความร่วมมือกับ อาเซียนในด้านโครงการพัฒนากับอาเซียน โดยจะเริ่มโครงการครั้งแรกระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2544-2549 มีมูลค่ารวม 45 ล้านเหรียญออสเตรเลีย ซึ่งอาเซียนต้องออกเงินสมทบโครงการอีกร้อยละ 20 อนึ่ง AADCP เป็นโครงการความร่วมมือที่เกิดขึ้นเพื่อทดแทน AAECP (ASEAN-Australia Economic Cooperation Programme หรือ โครงการร่วมมือด้านเศรษฐกิจอาเซียน-ออสเตรเลีย) ซึ่งจะสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2546[การทูต]
ความร่วมมือเอเชีย เวทีความร่วมมือในระดับทวีปเอเชีย โดยเป็นความคิดริเริ่มของไทยในการสร้างกรอบความร่วมมือที่ครอบคลุมทุกอนุ ภูมิภาคของเอเชีย มีวัตถุประสงค์ที่จะเชื่อมโยงจุดแข็งและต่อยอดความร่วมมือต่าง ๆ ของประเทศเอเชีย โดยอาศัยความแตกต่างหลากหลายและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ซึ่งเอเชียมีอยู่มา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและมุ่งสร้างความร่วมมือในวงกว้างทั้งทวีปเอเชีย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ซึ่งจะทำให้ภูมิภาคเอเชียแข็งแกร่งและเป็นหุ้นส่วนที่เข้มแข็งสำหรับภูมิภาค อื่น ๆ เอซีดีได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ 18-19 มิถุนายน 2545 โดยมีผู้แทนระดับรัฐมนตรีจาก 18 ประเทศเข้าร่วม ที่ประชุมได้แบ่งกรอบความร่วมมือเป็น 2 มิติ ได้แก่ มิติการหารือ (dialogue dimension) และมิติโครงการความร่วมมือ (project dimension) เช่น การท่องเที่ยว ความมั่นคงทางพลังงาน และการพัฒนาตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Market)[การทูต]
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ[การทูต]
กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน[การทูต]
ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ[การทูต]
โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน เป็นมาตรการเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบการผลิตในรูปสินค้าสำเร็จ รูป/กึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรมระหว่างบริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศอาเซียน อันจะเป็นการสนับสนุนการแบ่งกันผลิตและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมในอาเซียน โดยจะต้องเป็นความร่วมมือตั้งแต่สองประเทศขึ้นไป และมีคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียนมีหุ้นส่วนอยู่ในแต่ละบริษัทอย่างน้อยร้อยละ 30 สินค้าที่ได้รับอนุมัติให้อยู่ในโครงการจะได้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรใน อัตราร้อยละ 0-5 ในทันที โดยไม่ต้องรอให้เขตการค้าเสรีอาเซียนมีผลบังคับใช้[การทูต]
คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-อินเดีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยอินเดียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับอินเดีย[การทูต]
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาอาเซียน-ลุ่มน้ำโขง เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ และจีน เพื่อพัฒนาลุ่มน้ำโขง[การทูต]