แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
307 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*รับผิดชอบ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: รับผิดชอบ, -รับผิดชอบ-
Longdo Unapproved JP - JP**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
พันธกิจ
[ミッション](n, org)กิจการหรืองานที่มีภาระรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติให้บรรลุผล
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)be responsibleSee Also:take responsibilities, be accountable forExample:พ่อแม่ควรอบรมเด็กให้ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจ และรับผิดชอบในกรณีที่สมควรThai Definition:ยอมตามผลที่ดีหรือไม่ดีในกิจการที่ได้กระทำไป
(n)responsible manSee Also:person in charge ofExample:รัฐบาลเป็นผู้รับผิดชอบในโครงการรถไฟฟ้ามหานครUnit:คนThai Definition:ผู้ยอมตามผลที่ดีหรือไม่ดีในกิจการที่ได้กระทำไป
(v)be irresponsibleSee Also:be not responsible, disclaim a responsibilitySyn.ปัดความรับผิดชอบExample:บริษัทไม่รับผิดชอบความเสียหายที่เกิดขึ้น เพราะถือว่านอกเหนือไปจากสัญญาThai Definition:ไม่ยอมตามผลที่ได้กระทำลงไป, ไม่สนในหรือไม่ใส่ใจกับผลที่ได้กระทำลงไป
(n)responsibilitySee Also:obligation, answerability, accountabilityExample:นักเรียนทุกคนควรมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนคือตั้งใจศึกษาเล่าเรียน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. บริษัทจำกัดซึ่งจำกัดความรับผิดของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกินจำนวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่ารวมของหุ้นที่ตนถือ.
ก. ยอมรับผลทั้งที่ดีและไม่ดีในกิจการที่ตนได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของตน เช่น สมุห์บัญชีรับผิดชอบเรื่องเกี่ยวกับการเงิน, รับเป็นภารธุระ เช่น งานนี้เขารับผิดชอบเรื่องอาหาร เธอจะไปไหนก็ไปเถอะ ฉันรับผิดชอบทุกอย่างในบ้านเอง.
น. ขอบเขตงานหรือความรู้ที่อยู่ในความรับผิดชอบ.
น. คณะบุคคลที่มีอำนาจหน้าที่และรับผิดชอบร่วมกันในการปกครองอำเภอ ปัจจุบันได้ถูกยุบเลิกไปแล้ว โดยโอนอำนาจและหน้าที่ไปเป็นของนายอำเภอ.
น. สำนักผู้ปกครองบ้านเมือง, ที่ว่าราชการเมือง, คณะผู้ว่าการบ้านเมืองซึ่งประกอบด้วยเจ้าผู้ครองเมืองหรือผู้ครองเมืองข้าหลวงประจำนครหรือเมืองซึ่งต่อมาเรียกว่า ปลัดมณฑลประจำจังหวัด และข้าหลวงผู้ช่วย มีหน้าที่บังคับบัญชารับผิดชอบในกิจการทั่วไปของเมือง, เค้าสนาม ก็ว่า.
น. เจ้าของคนไข้, ผู้รับผิดชอบในตัวคนไข้.
(ถาน, ถานะ-) น. ตำแหน่งหน้าที่ เช่น เธอต้องรับผิดชอบในฐานที่เป็นหัวหน้าห้อง
ก. ตรวจค้นด้วยสายตาหรือใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์เข้าช่วย เพื่อรวบรวมข่าวสารหรือประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ.
ว. ต่างคนต่างเอาตัวรอดหรือรับผิดชอบตัวเอง เช่น นักพนันพอเห็นตำรวจมาก็วิ่งตัวใครตัวมัน อาหารมื้อเย็นวันนี้ตัวใครตัวมันนะ, ไม่เกี่ยวข้องหรือช่วยเหลือกัน เช่น สังคมเมืองหลวงอยู่กันอย่างตัวใครตัวมัน.
(-หฺรวด) น. เจ้าหน้าที่ของรัฐ มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เรียกชื่อตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ เช่น ตำรวจสันติบาล ตำรวจกองปราบ ตำรวจนํ้า ตำรวจรถไฟ ตำรวจป่าไม้.
น. ผู้เป็นหัวหน้าวงแชร์ มีหน้าที่จัดการและรับผิดชอบเรื่องเงิน ตามปรกติจะเป็นผู้ได้เงินเป็นคนแรกโดยไม่เสียดอกเบี้ย.
น. ผู้รับผิดชอบในการปลูกสร้างหรือปฏิสังขรณ์สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น นายด้านปฏิสังขรณ์ศาลาราย.
น. ผู้รับประกันหรือคํ้าประกัน, ผู้รับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายแทน.
น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานผู้ปกครองท้องที่ ซึ่งเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาข้าราชการในอำเภอ และรับผิดชอบในการบริหารราชการของอำเภอ.
น. ตำแหน่งผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาล.
น. ตำแหน่งผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบพิเศษ เมืองพัทยา.
น. ตำแหน่งผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบองค์การบริหารส่วนจังหวัด.
น. ตำแหน่งผู้รับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบองค์การบริหารส่วนตำบล.
น. เด็กหญิงที่ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นำในทางความประพฤติ, สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กหญิงให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติ และความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น.
(บันนาทิกาน) น. ผู้จัดเลือกเฟ้น รวบรวม ปรับปรุง และรับผิดชอบเรื่องลงพิมพ์.
(บันนารัก) น. บุคคลที่รับผิดชอบในการบริหารและดำเนินงานในห้องสมุด.
ก. ประกาศไม่รับผิดชอบหรือตัดขาดไม่ให้ความอุปการะเลี้ยงดูอีกต่อไป.
ก. รับผิดชอบในการควบคุมและสั่งการ, เรียกผู้มีอำนาจเช่นนั้น ว่า ผู้บังคับการ.
ก. วางของที่มีนํ้าหนักบนบ่าหรือบนหลัง เช่น แบกกระสอบข้าวสาร แบกปืน, โดยปริยายหมายความว่า รับภาระหนัก, มีความรับผิดชอบมาก, เช่น แบกค่าใช้จ่ายในบ้านคนเดียว แบกงานไว้มาก.
ที่กำหนดให้มีเป็นปรกติ เช่น งานประจำปี, เรียกรถโดยสารที่วิ่งอยู่บนเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งเป็นปรกติ ว่า รถประจำทาง, เรียกครูหรืออาจารย์ที่สอนและดูแลรับผิดชอบนักเรียนชั้นใดชั้นหนึ่งเป็นปรกติ ว่า ครูหรืออาจารย์ประจำชั้น, เรียกบัตรที่ออกให้ไว้เฉพาะบุคคลและจะต้องเก็บไว้กับตัวเป็นปรกติ ว่า บัตรประจำตัว, เรียกลูกจ้างที่จ้างไว้เป็นปรกติ ไม่ใช่ชั่วคราว ว่า ลูกจ้างประจำ, เรียกผู้ที่มาติดต่อหรือไปมาหาสู่กันเสมอเป็นปรกติ เช่น ลูกค้าประจำ ขาประจำ, ลักษณะการฝากเงินไว้กับธนาคารโดยจะได้รับดอกเบี้ยเมื่อฝากครบตามเวลาที่กำหนดไว้ เรียกว่า ฝากประจำ.
น. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการนี้.
(-สะหฺวะ) ก. ทำอย่างขอไปที, ผลักให้พ้นหน้าที่ความรับผิดชอบของตนไป.
น. บุคคลซึ่งรับผิดชอบในการจัดให้สิ่งพิมพ์นั้นแพร่หลายด้วยประการใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นการขายหรือให้เปล่า.
น. บุคคลซึ่งจัดการและรับผิดชอบในการพิมพ์.
หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่มีภาระในการเลี้ยงดูลูก ครูมีภาระในการอบรมสั่งสอนศิษย์, ความรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่ตายหมด พี่ต้องรับภาระส่งเสียเลี้ยงดูน้อง.
ก. กำชับสั่งเสีย เช่น มอบหมายการงาน, กะให้, กำหนดให้, เช่น มอบหมายหน้าที่ให้แต่ละคนรับผิดชอบ.
น. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกนักธรรมและธรรมศึกษาของคณะสงฆ์.
น. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกบาลีของคณะสงฆ์.
น. หัวหน้าผู้รับผิดชอบในงานบางอย่าง เช่น เขาเป็นแม่งานในการจัดเลี้ยงแขกที่มาในงาน.
ว. ไม่รับรู้, ไม่รับผิดชอบ, เช่น ทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้.
ก. ปัดภาระหรือความรับผิดชอบไปให้คนอื่น.
(รัดถะมนตฺรี) น. ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีหรือคณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง
รับผิดชอบ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ลูกไปทำผิด พ่อแม่จะไม่รับรู้ได้อย่างไร.
ก. รายงานต่อผู้บังคับบัญชาตามแบบพิธี โดยบอกชื่อ นามสกุล ยศ ตำแหน่ง หน้าที่ และภารกิจที่ต้องรับผิดชอบ.
น. คนที่ขาดสติสัมปชัญญะ, ครอบครัวที่ขาดผู้ดูแลรับผิดชอบ, การงานที่ขาดหัวหน้า.
น. เรียกผู้ชายที่มีความยุติธรรม ความซื่อสัตย์ เข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว กล้าหาญ และมีความรับผิดชอบ เป็นต้น.
น. สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กชายให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติและความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น.
มีความประพฤติเหลวไหลไม่มีความรับผิดชอบ เช่น คนกินเหล้าเมายาเป็นคนเละเทะ เชื่อถือไม่ได้, มีความประพฤติเป็นที่น่ารังเกียจ (มักใช้ในทางชู้สาว) เช่น ผู้หญิงคนนั้นทำตัวเละเทะ.
ว. อาการที่วกหรือย้อนกลับไปหาจุดเริ่มต้น เช่น ให้การเป็นวัวพันหลัก, ลักษณะที่วกหรือย้อนกลับไปหาบุคคลที่เป็นต้นตอผู้รับผิดชอบ (มักใช้ในทางชู้สาว) มาจากสำนวนเต็มว่า แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก หมายความว่า ชายที่ใช้แม่สื่อไปติดต่อหญิงที่ตนชอบ แล้วไม่ได้ตัวหญิงคนนั้น เลยเอาแม่สื่อนั้นเองเป็นภรรยา หรือผู้หญิงทำทีรับอาสาไปติดต่อหญิงคนใดคนหนึ่งให้แก่ชาย แต่ในที่สุดก็เอาตัวเองเข้าพัวพันจนได้ชายคนนั้นเป็นสามี.
ก. มอบหรือย้ายโอนในอาการที่สละกรรมสิทธิ์ซึ่งมีอยู่ในขณะนั้น เช่น เวนหน้าที่ให้ผู้รับผิดชอบคนต่อไป เวนราชสมบัติ.
น. อำนาจหรือสิทธิที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานให้แก่ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินตามศักดิ์ของแต่ละคน เดิมเป็นการถือครองที่ดินคิดเป็นจำนวนไร่ ต่อมาถือเป็นการกำหนดสถานะ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคนในสังคม เช่น มหาอุปราช มีศักดินา ๑๐๐๐๐๐ เจ้าพระยาจักรี มีศักดินา ๑๐๐๐๐ ภิกษุรู้ธรรม เสมอนา ๖๐๐ ไพร่มีครัว มีศักดินา ๒๐ ยาจก วณิพก ทาส ลูกทาส มีศักดินา ๕ (สามดวง)
น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน ดูแลรับผิดชอบและเป็นประธานที่ประชุมเสนาบดีของฝ่ายพลเรือน รวมทั้งการปกครองและการยุติธรรมในหัวเมืองฝ่ายเหนือ.
น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาสนาบดีฝ่ายทหาร ดูแลรับผิดชอบและเป็นประธานที่ประชุมเสนาบดีของฝ่ายทหาร รวมทั้งการปกครองและการยุติธรรมในหัวเมืองปักษ์ใต้.
น. ตำแหน่งพระเถระผู้รับผิดชอบในองค์การปกครองของคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เช่น สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.
ก. รับผิดชอบ, ต้องรับใช้แทน.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ความรับผิดชอบทางการเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความรับผิดชอบตามกฎหมาย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความรับผิดชอบตามกฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความรับผิดชอบทางสังคม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มูลเหตุให้ต้องรับผิดชอบ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
รัฐบาลที่รับผิดชอบ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
รัฐบาลที่ต้องรับผิดชอบ (ต่อรัฐสภา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความเป็นบิดามารดาที่มีความรับผิดชอบ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ความรับผิดชอบ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความรับผิดชอบตามกฎหมาย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความรับผิดชอบทางการเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความรับผิดชอบทางสังคม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภาระรับผิดชอบ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความรับผิดชอบทางแพ่ง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความรับผิดชอบร่วมกัน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความรับผิดชอบร่วมกัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เขตรับผิดชอบของตัวแทน[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
การแจ้งความรับผิดชอบ[เทคโนโลยีการศึกษา]
การแจ้งความรับผิดชอบ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ประเภทของสัญญาซื้อขายน้ำมันที่ผู้ขายจะต้องรับผิดชอบในการส่งน้ำมันไปถึงผู้ซื้อ , ประเภทของสัญญาซื้อขายน้ำมันที่ผู้ขายจะต้องรับผิดชอบในการส่งน้ำมันไปถึงผู้ซื้อ และจะต้องเป็นผู้จ่ายค่าขนส่งและค่าประกันภัยแทนผู้ซื้อ[ปิโตรเลี่ยม]
สัญญาการซื้อขายน้ำมัน, สัญญาการซื้อขายน้ำมันประเภทที่ผู้ขายรับผิดชอบในการขนถ่ายน้ำมันลงเรือของผู้ซื้อ ณ ท่าเรือขนถ่าย ความสูญเสียหรือภัยอันตรายที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางผู้ซื้อจะต้องรับผิดชอบเอง[ปิโตรเลี่ยม]
การแบ่งแยกความรับผิดชอบ[TU Subject Heading]
ภาระรับผิดชอบทางการศึกษา[TU Subject Heading]
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม[TU Subject Heading]
ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี[TU Subject Heading]
ความรับผิดชอบ[TU Subject Heading]
ความรับผิดชอบในเด็ก[TU Subject Heading]
ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ[TU Subject Heading]
การประชุมรัฐมนตรีสารนิเทศอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่รับผิดชอบงานทางด้านสารนิเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี[การทูต]
แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น(1) ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน (2)เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน และ (3)เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก[การทูต]
เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านยาเสพติด " ประกอบด้วยผู้แทนระดับปลัดกระทรวงฯ ที่รับผิดชอบงานด้าน ยาเสพติดของประเทศสมาชิกอาเซียน มีการประชุมปีละครั้ง "[การทูต]
การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์[การทูต]
คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546[การทูต]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น[การทูต]
มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว[การทูต]
กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน "[การทูต]
คนในชาติที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้นในต่างแดน ในเรื่องนี้ มีหลายประเทศได้อนุญาตให้ผู้แทนทางการทูตและทางกงสุลของตนอำนวยความช่วย เหลือเท่าที่จำเป็นแก่คนชาติของตนที่ประสบความยากจนข้นแค้นในต่างประเทศรวม ทั้งค่าส่งตัวกลับประเทศด้วย มีหลายรายที่กำหนดให้คนชาติที่ต้องทุกข์นั้น แจ้งถึงสาเหตุที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้น และสัญญาว่าเงินที่ได้รับนี้จะต้องชดใช้คืนภายหลัง ตามปกติ ผู้แทนทางการทูตหรือกงสุลจะต้องปรึกษากับกระทรวงการต่างประเทศของตน ก่อนที่จะนำเงินให้คนชาติของตนกู้ยืมหรือไปรับรองบุคคลเหล่านั้น หรือไปรับผิดชอบทางการเงินใดๆ[การทูต]
เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ[การทูต]
หมายถึง เจ้าหน้าที่แนะนำเอกอัครราชทูต ในนครหลวงของบางประเทศจะมีเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ ซึ่งรับผิดชอบการติดต่อกับเอกอัครราชทูตซึ่งกำหนดจะยื่นสารตราตั้ง ให้เดินทางจากทำเนียบเอกอัครราชทูตไปยังทำเนียบของประมุขแห่งรัฐ และจะเป็นผู้เบิกตัว หรือแนะนำเอกอัครราชทูตผู้นั้นต่อประมุขของรัฐในพิธียื่นสารตราตั้ง ในนครหลวงของอีกบางประเทศ เจ้าหน้าที่แนะนำตัวเอกอัครราชทูตจะมีตำแหน่งเรียกอย่างอื่นคือ Master of Ceremonies ส่วนในประเทศอังกฤษ ณ พระราชสำนักแห่งเซนต์เจมส์ ผู้ที่ทำหน้าที่เช่นนี้จะเรียกว่า Her Majesty?s Marshal of the Diplomatic Corps ส่วนในสหรัฐอเมริกา ผู้กระทำหน้าที่นี้คืออธิบดีกรมพิธีการทูต (Chief of Protocol)[การทูต]
กองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน " ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกองทุนให้ความช่วย เหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน พ.ศ. 2539 โดยให้สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบ มีวัตถุประสงค์ให้เงินกู้ผ่อนปรนแก่รัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินของรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม เพื่อลงทุนในโครงการพัฒนาประเทศ โดยเงินกู้ที่ รัฐบาลไทยปล่อยให้กู้นี้ จะต้องเป็นเงินสกุลบาท และส่วนหนึ่งของ เงินกู้จะต้องนำไปซื้อสินค้าและบริการจากภาคเอกชนไทย "[การทูต]
หมายถึง วิธีจัดที่นั่งโต๊ะในการเลี้ยงอาหารสำหรับนักการทูต โดยคำนึงถึงลำดับอาวุโส เพื่อป้องกันมิให้เกิดความรู้สึกขุ่นเคืองหรือหัวเสีย เรื่องการจัดที่นั่งในการเลี้ยงอาหารโดยคำนึงถึงลำดับอาวุโสนี้ นักการทูตส่วนใหญ่ไม่ว่าที่ไหน มักจะถือว่ามีความสำคัญไม่น้อย เพราะถือเป็นเรื่องของศักดิ์ศรีในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ ฝ่ายที่รับผิดชอบโดยตรงต่อการจัดที่นั่งเช่นนี้ได้แก่ กรมพิธีการทูตของกระทรวงการต่างประเทศ ส่วนลำดับของอาวุโสก็ถือตามวันเวลาที่นักการทูตแต่ละคนได้เข้าประจำตำแหน่ง ที่ในประเทศผู้รับ กล่าวคือ ผู้ที่เข้าประจำตำแหน่งก่อนก็คือผู้ทีมีอาวุโสกว่าผู้ที่มาประจำตำแหน่ง หน้าที่ทีหลัง[การทูต]
หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น[การทูต]
นโยบายต่างประเทศเชิงรุก " เป็นนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงยุคหลังสงครามเย็นที่การแข่งขันและความขัด แย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ ได้เกือบหมดสิ้นไป โดยประเทศไทยได้เน้นบทบาทนำทางการทูต และ มีส่วนร่วมรับผิดชอบในกิจการต่าง ๆ ของประชาคมระหว่างประเทศมากขึ้น "[การทูต]
1. พิธีการทูต 2. พิธีสาร " 1. พิธีการทูต หมายถึง หลักปฏิบัติ หรือมารยาททางการทูต (etiquette) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในนานาประเทศจนกลายเป็นรูปแบบที่ใช้กันในงานพิธีการ หรือรัฐพิธีต่าง ๆ รวมถึงเรื่องเอกสิทธิ์ ความคุ้มกัน ลำดับอาวุโส ฯลฯ ทั้งนี้ บุคคลซึ่งเป็นหัวหน้ารับผิดชอบด้านพิธีการทูต เรียกว่า Chief of Protocol สำหรับประเทศไทย คือ อธิบดีกรมพิธีการทูต ส่วนเจ้าหน้าที่พิธีการทูต เรียกว่า protocol official 2. พิธีสาร เป็นความตกลงระหว่างประเทศอย่างหนึ่ง โดยมากเป็นพิธีสารต่อท้ายสนธิสัญญาหรืออนุสัญญา หรือพิธีสารแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาหรืออนุสัญญานั้น "[การทูต]
หลักการความรับผิดชอบในการคุ้มครอง เป็นหลักการที่ได้รับการรับรองในการประชุมระดับผู้นำ เพื่อทบทวนผลของปฏิญญาสหัสวรรษ(High Level Panel Meeting - HLPM) เมื่อวันที่ 14-16 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ นครนิวยอร์ก ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงทางมนุษยธรรม ( humanitarian interference/intervention of humanity)เพื่อคุ้มครองประชาชนจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การฆ่าล้างชนชาติ โดยจะถือเป็นความรับผิดชอบและที่จะต้องดำเนินการร่วมกันโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม หลักการเรื่องนี้มีนัยเกี่ยวข้องกับกฏหมายระหว่างประเทศ อธิปไตย ของรัฐ ความอ่อนไหวทางการเมือง และความชอบธรรมในการปฏิบัติ จึงยังไม่มีการนิยามแนวความคิด R2P รวมถึงขอบเขตของ R2P ที่ชัดเจน[การทูต]
คือองค์การส่วนภูมิภาค ในเรื่องนี้ ข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติไว้ว่า ?ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรฉบับปัจจุบัน อันจักริดรอนสิทธิประจำตัวในการป้องกันตนเองโดยลำพังหรือโดยร่วมกัน หากการโจมตีโดยกำลังอาวุธบังเกิดแก่สมาชิกของสหประชาชาติ จนกว่าคณะมนตรีความมั่นคงจะได้ดำเนินมาตรการที่จำเป็น เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ มาตรการที่สมาชิกได้ดำเนินไปในการใช้สิทธิป้องกันตนเองนี้ จักต้องรายงานให้คณะมนตรีความมั่นคงทราบโดยทันที และจักไม่กระทบกระเทือนอำนาจและความรับผิดชอบของคณะมนตรีความมั่นคงภายใต้กฎ บัตรฉบับปัจจุบันแต่ทางหนึ่งทางใด ในอันที่จักดำเนินการเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้หรือสถาปนากลับคืนมา ซึ่งสันติภาพความมั่นคงระหว่างประเทศ?จะเห็นได้ว่า ประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกันมักจะทำข้อตกลงกันในส่วนภูมิภาค โดยอาศัยสนธิสัญญา และโดยที่อาศัยอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใกล้เคียงกัน ( Geographical Propinquity ) หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และมีวัตถุประสงค์ที่จะอำนวยความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเมืององค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่งที่พอจะหยิบยก มาเป็นตัวอย่างได้ คือ องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEATO) ซึ่งบัดนี้ได้ยุบเลิกไปแล้วเพราะหมดความจำเป็น องค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States-OAS) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต้ (NATO) องค์การร่วมมือระหว่างออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา (ANZUS) เป็นต้น องค์การภูมิภาคเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยอาศัยข้อ 51 ของกฎบัตร สหประชาชาติ ซึ่งกล่าวถึงสิทธิของประเทศสมาชิกที่จะทำการป้องกันตนเองโดนลำพังหรือโดย ร่วมกัน หากถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ[การทูต]
คือสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสมัชชาตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ตามที่องค์การต้องการหน้าที่สำคัญของเลขาธิการสหประชา ชาติ คือ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การ นำเรื่องใดก็ตามเสนอต่อคณะมนตรีความมั่นคง ซี่งตามทรรศนะของเลขาธิการเห็นว่าเป็นภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคง ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ทำรายงานประจำปี และรายงานเพิ่มเติมใด ๆ ที่จำเป็นเสนอต่อสมัชชาสหประชาชาติ เกี่ยวกับงานขององค์การ สหประชาชาติคณะเจ้าหน้าที่ที่ทำงานช่วยเหลือเลขาธิการนั้น ถือเป็นเจ้าหน้าที่ระหว่างประเทศ ประกอบด้วยชนชาติต่าง ๆ ในการเกณฑ์เจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าทำงานกับสหประชาชาติ จะคัดแต่ผู้ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถ และความซื่อสัตย์ในระดับสูงสุด และคำนึงถึงเขตภูมิศาสตร์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการทำงานตามหน้าที่ ทั้งตัวเลขาธิการและคณะเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมงาน จะต้องไม่แสวงหรือรับคำสั่งจากรัฐบาลใด ๆ หรือจากผู้มีอำนาจหน้าที่อื่นใดที่อยู่นอกเหนือองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกัน สมาชิกของสหประชาชาติได้ตกลงยอมรับนับถือความรับผิดชอบที่มีลักษณะระหว่าง ประเทศของสำนักเลขาธิการ และจักไม่แสวงใช้อิทธิพลใด ๆ ต่อสำนักเลขาธิการ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบเหล่านั้น[การทูต]
สำนักงานตรวจสอบสุขอนามัยพืชและสัตว์ของ อาร์เจนตินา เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการตรวจสอบมาตรฐานการส่งออก และนำเข้าสินค้าเกษตรและสัตว์ ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเศรษฐกิจและการผลิตของอาร์เจนตินา โรงงานผลิตสัตว์น้ำของไทยที่ส่งออกสินค้าไปยังอาร์เจนตินาจะต้องได้รับใบ รับรองมาตรฐานการผลิตจาก SENASA ก่อนที่จะได้รับอนุญาตให้นำสินค้าเข้าสู่อาร์เจนตินา[การทูต]
ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา " เป็นกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางวิชาการภายใต้กรอบขององค์การสหประชา ชาติ โดยเป็นการแลกเปลี่ยนคณะเจ้าหน้าที่เพื่อการดูงาน/ฝึกอบรม และแลกเปลี่ยนผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศกำลังพัฒนาด้วยกัน โดยประเทศที่ขอหรือส่งเจ้าหน้าที่จะรับผิดชอบ ค่าเดินทางระหว่างประเทศ ในขณะที่ประเทศเจ้าภาพจะรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายภายในประเทศ อาทิ ค่ากินอยู่ ค่าฝึกอบรม/ดูงาน "[การทูต]
ทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541[การทูต]
ภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์[การทูต]
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (อังค์ถัด) " เป็นองค์กรของสหประชาชาติที่รับผิดชอบเรื่องการค้า การเงิน การ ลงทุน เทคโนโลยี และการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ โดยมีหน้าที่เป็นเวทีประสานนโยบายระหว่างรัฐบาล ศึกษาวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจโลกและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศ กำลังพัฒนา ปัจจุบันมีรัฐสมาชิก 190 ประเทศ ประชุมระดับรัฐมนตรีปีละ 4 ครั้ง ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมอังค์ถัดครั้งล่าสุด (ครั้งที่ 10) เมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2543 "[การทูต]
มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ[การทูต]
งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก[การทูต]
การบัญชีตามความรับผิดชอบ[การบัญชี]
อำนาจความรับผิดชอบ, อำนาจ, ผู้มีอำนาจ[การแพทย์]
การให้คนมีส่วนร่วมรับผิดชอบในงานต่างๆ[การแพทย์]
ความผิดปกติทางจิต, อาการที่แสดงออกที่ผิดแปลก ทำให้การปรับตัวหรือสัมพันธภาพหรือความรับผิดชอบหรือชีวิตประจำวันที่เคยมี เสียไป หรือแตกต่างจากคนทั่วไปอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถแสดงออกหลายด้านไล่เรียงตั้งแต่สิ่งที่สังเกตยากที่สุด คือ ความคิด ความรู้สึก การรับรู้ อารมณ์ หรือพฤติกรรม[สุขภาพจิต]
ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจExample:ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจ[ธุรกิจ]
พิจารณาบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ, การทำรายละเอียดของงาน[การแพทย์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ท่านประธานของเรารับผิดชอบพนักงานมากมายแล้สก้อมีงานมากมายที่ต้องทำHero (1992)
ถ้าคุณช่วยผมในตอนนี้ ผมจะรับผิดชอบมันเป็นอย่างดีเลยHero (1992)
รู้แล้วน่ะ รู้แล้ว หัดรับผิดชอบให้เยอะๆรู้มั้ยHero (1992)
ในฐานะหัวหน้าโครงการ และผู้ประสานงานของรัฐบาล มันเป็นความรับผิดชอบของฉัน ที่จะใช้มาตรการเด็ดขาดThe Lawnmower Man (1992)
ทั้งแกและฉันล้วนต้องรับผิดชอบ.. ..กับสิ่งที่สิ่งเกิดขึ้นThe Lawnmower Man (1992)
สิ่งที่เกิดกับเขา เป็นความรับผิดชอบของผมThe Lawnmower Man (1992)
ไม่เพียงแค่เป็นความรับผิดชอบของเขา ที่ต้องรู้สภาพทางวิ่งทุกกระเบียดนิ้ว เขายังต้องรับผิดชอบต่อชีวิต ของอีกสามคนในสเลดอีกด้วยCool Runnings (1993)
ทีนี้ นายยังต้องการ รับผิดชอบอีกมั้ย?Cool Runnings (1993)
- - คุณเป็นคนที่รับผิดชอบหรือไม่In the Name of the Father (1993)
คนมองให้คุณ ตรวจสอบเพื่อหาผู้รับผิดชอบIn the Name of the Father (1993)
ไม่ว่าจะเป็น Barker รับผิดชอบหรือไม่ ... เพื่อนำในทีมจลาจล, โจไม่เคยให้อภัยเขาIn the Name of the Father (1993)
- เรื่องลูกผมรับผิดชอบเองJunior (1994)
ใช่ ตอนนี้คุณเลยต้องรับผิดชอบไงLéon: The Professional (1994)
ผมรู้สึกรับผิดชอบกับเรื่องนี้The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
ไม่เป็นไร ฉันรับผิดชอบเอง รอดูล่ะกันThe Great Dictator (1940)
ยังไงซะฉันก็คือผู้ที่รับผิดชอบ ต่อพฤติกรรมของเธอตอนที่อยู่ที่นี่Rebecca (1940)
ดังนั้นฉันควรจะเป็น ฝ่ายรับผิดชอบเรื่องการจัดงาน--Rebecca (1940)
"ผมไม่มีส่วนรับผิดชอบครับ" คาโปว คนหนึ่งบอกNight and Fog (1956)
"ผมไม่ได้รับผิดชอบมันครับ"Night and Fog (1956)
แล้วใครจะเป็นคนรับผิดชอบ?Night and Fog (1956)
คุณจะต้องเผชิญกับความรับผิดชอบหลุมฝังศพ ขอขอบคุณคุณสุภาพบุรุษ12 Angry Men (1957)
ที่นี่คุณใช้ในความรับผิดชอบ ฉันเพิ่งจะเก็บปากของฉันปิด12 Angry Men (1957)
เรามีความรับผิดชอบ12 Angry Men (1957)
ใครคือผู้รับผิดชอบในเรื่องนี้?Yellow Submarine (1968)
คุณรู้มั้ย ปัญหาไม่อยู่ที่ความฉลาด อยู่ที่เรามีความรับผิดชอบ เเต่ไร้ซึ่งอํานาจBeneath the Planet of the Apes (1970)
คุณรู้ว่าฉันรับผิดชอบต่อคุณพ่อของคุณสำหรับชีวิตของคุณThe Godfather (1972)
แต่ตอนนี้ผมรู้สึกรับผิดชอบคุณThe Little Prince (1974)
เธอรู้สึกรับผิดชอบ สิ่งที่เธอทำให้เชื่องเสมอThe Little Prince (1974)
ผมรับผิดชอบเธอ ผมต้องกลับไปดูแลเธอThe Little Prince (1974)
ผมรับผิดชอบดอกไม้ดอกนี้The Little Prince (1974)
ฉันเป็นคนเดียวที่จะต้องรับผิดชอบ ต่อครอบครัวของเธอ.Suspiria (1977)
ฉันไม่รับผิดชอบอะไรMad Max (1979)
สิ่งที่ทำร้ายคุณมากที่สุด คือประวัติของคุณตั้งแต่สงคราม เมืองต่างๆ งานต่างๆ ไม่มีเลยที่แสดงให้เห็นว่าคุณ ยอมรับความรับผิดชอบที่แท้จริงได้Airplane! (1980)
แต่ตอนนี้เครื่องเป็นของเขา เขารับผิดชอบAirplane! (1980)
"มหาตมะ คานธี เป็นตัวแทน ความรู้สึกรับผิดชอบของมนุษยชาติGandhi (1982)
หน้าที่ของนักต่อสู้คือ กระตุ้นความรับผิดชอบGandhi (1982)
และเราจะกระตุ้นต่อไป จนพวกเขาจะรับผิดชอบ หรือเปลี่ยนกฎหมายGandhi (1982)
คุณมีความรับผิดชอบ สำหรับภารกิจดิสคัเฟอรี2010: The Year We Make Contact (1984)
เข้าใจมั้ยว่า เราต้องรับผิดชอบ การยิงขีปนาวุธนิวเคลียร์ โจมตีประเทศเราเองSpies Like Us (1985)
- ใครรับผิดชอบสาวน้อยคนนี้?Dirty Dancing (1987)
ถ้าเธอพยายามปัดความรับผิดชอบล่ะก็ it'll blow up in your face.Akira (1988)
เรามีส่วนต้องรับผิดชอบสำหรับการกระทำของเขาAkira (1988)
"ผมยังไม่พร้อมจะัต้องรับผิดชอบ"Big (1988)
ไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้นRambo III (1988)
ฉันไม่รับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้นนะRambo III (1988)
ฉันรับผิดชอบเองCasualties of War (1989)
หมวดไรลีย์รายงานฉันแล้ว ตอนนี้เป็นความรับผิดชอบของฉันCasualties of War (1989)
จอกนี้ยังเคยรองรับพระโลหิตของพระองค์ ตอนถูกตรึงกางเขน และได้ มอบความรับผิดชอบให้โจเซฟแห่งอารามาเทียIndiana Jones and the Last Crusade (1989)
คุณกำลังการรั่วไหลในบางปัสสาวะสาธารณะสกปรก และคนที่อยู่ในคอกต่อไปชะโงกข้ามและถามคุณเกี่ยวกับพระเจ้าหรือคาฟคา หรือเสรีภาพกับความรับผิดชอบThe Russia House (1990)
ชั้นจะรับผิดชอบเรื่องการเขียนรายงานเอง เหรอGood Will Hunting (1997)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[jamnūan khadī seung rapphitchøp yū] (n, exp) EN: caseload
[kān møpmāi khwām rapphitchøp] (n, exp) EN: delegation of responsibility
[khwām rapphitchøp] (n) EN: responsibility ; obligation ; answerability ; accountability  FR: responsabilité [ f ]
[khwām rapphitchøp ruam kan] (n, exp) EN: collective responsibility  FR: responsabilité collective [ f ]
[khwām rapphitchøp thāng phaeng] (n, exp) EN: civil liability
[khwām rapphitchøp tø phalittaphan] (n, exp) EN: product liability
[khwām rapphitchøp tø sangkhom] (n, exp) EN: social responsibility ; Corporate Social Responsibility (CSR)  FR: responsabilité sociale des entreprises (RSE) [ f ]
[khwām samneuk rapphitchøp] (n, exp) EN: sense of responsibility
[līeng khwām rapphitchøp] (v, exp) EN: avoid responsibility ; evade one's responsibility ; shirk one's responsibility  FR: échapper à ses responsabilités ; fuir ses responsabilités
[mai rapphitchøp] (adj) EN: be irresponsible ; be not responsible ; disclaim a responsibility  FR: décliner toute responsabilité
[mī khwām rapphitchøp] (adj) EN: responsible
[phāra rapphitchøp] (n, exp) EN: accountability
[phūrapphitchøp] (n) EN: person responsible ; responsible man ; person in charge of  FR: responsable [ m ] ; personne responsable [ f ]
[rapphitchøp] (v) EN: be responsible ; take responsibilities ; accept responsibility ; be accountable for ; bear ; shoulder  FR: assumer la responsabilité ; prendre ses responsabilités ; être responsable ; répondre de
[rapphitchøp] (adj) EN: responsible  FR: responsable
[tǿng rapphitchøp] (x) EN: responsible ; accountable
Longdo Approved EN-TH
(adj)ที่อยู่ในความรับผิดชอบในหน้าที่
(n)โรคกลัวความรับผิดชอบSyn.fear of responsibility
(n, adj)การปัดความรับผิดชอบ, ที่ปัดความรับผิดชอบ เช่น The most important one is the non-trust and buckpassing bureaucracy., The managers are active when there's benefit and buckpassing when things go bad.See Also:avoiding
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(vt)ยอมรับการตำหนิSee Also:รับผิดชอบ
(vt)ยอมรับSee Also:รับผิดชอบ
(phrv)รับผิดชอบต่อSee Also:รับผิดชอบ
(idm)ในความดูแลของSee Also:ในความรับผิดชอบของ
(vt)รับผิดชอบSyn.accept
(n)การรับผิดชอบต่อสิ่งไม่ดีที่เกิดขึ้นSyn.liability, responsibility
(vt)รับผิดชอบต่อสิ่งไม่ดีที่เกิดขึ้น
(adj)ซึ่งผู้มัดหรือเป็นภาระรับผิดชอบ
(vt)ส่งต่อไปยัง (เพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ)
(idm)จัดการSee Also:ดูแล, รับผิดชอบ
(idm)สามารถใช้เหตุผลตัดสินได้See Also:มีสติรู้รับผิดชอบชั่วดีSyn.be out of, go out of
(idm)อยู่ในความรับผิดชอบของSee Also:เป็นความรับผิดชอบของSyn.be out of
(idm)เลิกรับผิดชอบSee Also:หมดภาระ, หยุดรับภาระSyn.be on
(phrv)รับหน้าที่See Also:รับภาระ, รับผิดชอบ
(idm)ไม่อยู่ในความรับผิดชอบAnt.be in someone's hands
(phrv)รับหน้าที่See Also:รับภาระ, รับผิดชอบ
(phrv)หนีจาก (ความรับผิดชอบ, ครอบครัว, โรงเรียนฯลฯ)
(n)จำนวนงานที่รับผิดชอบอยู่ (เช่น ของหมอหรือนักสังคมสงเคราะห์)
(n)การลงคะแนนตัดสินโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการประชุมเนื่องจากแต่ละฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน
(n)หลักในการซื้อขายที่ผู้ซื้อจะต้องเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการหาคุณภาพที่บกพร่องของสินค้า
(n)ภาระSee Also:ความรับผิดชอบSyn.burden
(n)งานที่รับผิดชอบSyn.duty, work, abligation
(vt)มอบหมายให้See Also:ให้รับผิดชอบSyn.consign, entrust
(n)ความรับผิดชอบSyn.responsibility, engagement
(vt)ให้ความไว้วางใจSee Also:มอบความรับผิดชอบให้Syn.entrust, charge, consign
(vt)ให้อยู่ในความรับผิดชอบของSee Also:ให้อยู่ในความดูแลของSyn.entrust
(n)การละทิ้งความรับผิดชอบ (คำสแลง)
(n)ผู้รับผิดชอบในการดูแลทรัพย์สินมีค่าSyn.guardian, caretaker, keeper
(phrv)รับผิดชอบต่อSee Also:เป็นสาเหตุของ, นำมาซึ่งSyn.conduce to
(phrv)รับผิดชอบต่อSee Also:เป็นสาเหตุของ, นำมาซึ่งSyn.conduce to
(phrv)เลี่ยงความรับผิดชอบในเรื่อง (คำไม่เป็นทางการ)Syn.opt in, opt out
(phrv)มอบให้ (อำนาจ, หน้าที่, ความรับผิดชอบฯลฯ)
(phrv)มอบให้ (อำนาจ, หน้าที่, ความรับผิดชอบฯลฯ)
(idm)รับผิดชอบหน้าที่ของตนเอง
(phrv)กลายเป็นความรับผิดชอบในการทำบางสิ่ง
(phrv)กลายเป็นความรับผิดชอบในการทำบางสิ่ง
(idm)ปราศจากการผูกมัดSee Also:ไม่รับผิดชอบ
(n)เจ้าหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเดินเรือและสินค้าเรือ
(n)การกระจายความรับผิดชอบSee Also:การมอบหมายหน้าที่Syn.delegation
(vt)ถ่ายโอนอำนาจไปยังคนที่มีอำนาจน้อยกว่าSee Also:ถ่ายโอนความรับผิดชอบไปยังคนที่มีความรับผิดชอบน้อยกว่าSyn.commit, entrust, offer a post
(n)ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบSyn.denial, rejection, contradictionAnt.avowal, affirmation
Hope Dictionary
(อะเคา' ทะเบิล) adj. ซึ่งต้องรายงานหรืออธิบาย, ซึ่งรับผิดชอบ, สามารถอธิบายได้Syn.responsible, liable
ขีดอายุที่คนมีความนึกคิดที่รับผิดชอบได้
(อะมี' นะเบิล) adj. อ่อนโยน, ไม่ดื้อ, ซึ่งรับผิดชอบ, ยอม รับฟัง, ยอมให้วิจารณ์หรือทดสอ บ ได้-amenableness, amenability n.Syn.agreeableAnt.stubborn
(อะเวาชฺ') vt. รับประกัน, รับรอง, รับผิดชอบ, ยอมรับ, สารภาพ. -avoucher n.
(เบลม) { blamed, blaming, blames } vt. กล่าวโทษ, ตำหนิ, ประณาม, นินทา, กล่าวร้าย, โยนความผิดให้ -Phr. (be to blame ควรถูกตำหนิ, ควรรับผิดชอบ) n. การตำหนิ, ความรับผิดชอบ, ภาระSee Also:blamer n. blameful adj. ดูblame blameless adj. ดูblame -Conf. put
(เซอ'ริบรัม) n. สมองใหญ่ เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้า แบ่งเป็น 2 ซีก มี cerebralcortex ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการติดต่อของเส้นประสาททั่วร่างกาย สมองส่วน cerebrum ทำหน้าที่เกี่ยวกับความคิด ความฉลาด ไหวพริบ ความทรงจำ ความยั้งคิดและความรู้สึกรับผิดชอบต่าง ๆ และนอกจากยัง nerve center ท่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกายส่วนต่าง ๆ
(คอพ'เอาท) n. การไม่ยอมรับผิดชอบ, การไม่ยอมปฏิบัติตามคำมั่นหรือสัญญา, ผู้ที่ชองละทิ้ง
(ดิสชาร์จ') vi., vt., n. (การ) ปล่อย, เอาลง, ขับออก, ทำให้พ้นหน้าที่ความรับผิดชอบหรืออื่น ๆ , ปลดจากประจำการ, ปลดจากงาน, ปล่อยกระแสไฟฟ้า, หนังสือหลักฐานการปลดจากภาระหน้าที่, การชำระสะสางSee Also:discharger n. ดูdischargeSyn.unl
(ดิว'ทิฟูล) adj. เกี่ยวกับหน้าที่, ซึ่งรับผิดชอบต่อหน้าที่, เชื่อฟัง, ซื่อสัตย์, น่าเคารพ
(เอนทรัสทฺ') { entrusted, entrusting, entrusts } vt. มอบความรับผิดชอบ, มอบความไว้วางใจ.See Also:entrustment n. ดูentrustSyn.intrust
(ฟะเนก') vi. หลบหนีงานหรือความรับผิดชอบ, หลบหนี, โกง. vt. โกง, หลอก, ลวง -fainaiguer n.
(ไฟล'ที) adj. เปลี่ยนใจง่าย, เหลาะแหละ, ไม่แน่นอน, ไม่รับผิดชอบ, จิตฟุ้งซ่าน, ไม่เต็มบาท, ซึ่งผ่านไปอย่างรวดเร็ว. -flightily adv.See Also:flightiness n.Syn.unstable
adv., n. (คนที่) สะเพร่า, เลินเล่อ, มุทะลุ, ไม่รับผิดชอบ, ซุ่มซ่าม.
(เออริสพอน'ซะเบิล) adj. ไม่รับผิดชอบ, ขาดความรับผิดชอบ.See Also:irresponsibility, irresponsibleness n. irresponsibly adv.Syn.irresolute
(แลพ) { lapped, lapping, laps } n. หน้าตัก, ตัก, ที่เป็นแอ่ง, ชายเสื้อ, กระพุ้งผ้า, การควบคุม, การรับผิดชอบ, การพับ, การพัน, การคาด, การคาด, การห่อ, การวางซ้อน, การวิ่งรอบ, ส่วนที่เกย v. พับ, พัน, คาด, ห่อ, วางซ้อน, วิ่งแซงหน้าไปหนึ่งรอบ, ก่อเชื่อม, ทับเกย, วิ่งรอบ, เลย. abbr. laparotomy, leucine aminopeptidase, left atrail presaure, leukocyte alkaline phosphatase
(ลิแกล'ลิที) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, การปฏิบัติตามกฎหมาย, หน้าที่หรือความรับผิดชอบด้วยกฎหมาย
(ไลอะบิล'ลิที) n. หนี้, หนี้เงิน, หนี้สิน, ความรับผิดชอบ, ภาระหน้าที่, ด้านลูกหนี้ของบัญชี, ข้อเสียเปรียบ, ความโน้มเอียงSyn.accountability
(ไล'อะเบิล) adj. โน้มเอียง, โน้มน้าว, อาจจะ, ง่ายต่อ, รับผิดชอบ (ตามกฎหมาย)
(โอ'นิส) n. ความรับผิดชอบ, ภาระ
(ไพ'เพอะ) n. ผู้เป่าปี่หรือขลุ่ย, ผู้เป่าปี่สก๊อต, คนวางท่อ. -Phr. (pay the piper รับผิดชอบ)
(ริสพอนซะบิล'ลิที) n. ความรับผิดชอบ, ภาระ, ภาระหน้าที่, สิ่งที่รับผิดชอบ, สิ่งที่เป็นภาระหน้าที่Syn.accountability
(รีสพอน'ซะเบิล) adj. รับผิดชอบ, เป็นภาระ, เป็นภาระหน้าที่, เชื่อถือได้See Also:responsibleness n.Syn.accountable
(แชร์) n. ส่วน, ส่วนหนึ่ง, ส่วนแบ่ง, ส่วนร่วมมือ, ส่วนที่รับผิดชอบ, หุ้นส่วน vt. แบ่งส่วน, แบ่งสรร, แบ่งเฉลี่ย, แบ่ง, แบ่งกำไร. vi. มีส่วน, ร่วมส่วน, ร่วมหุ้น, ร่วมกันทำ, ร่วมกันรับ, ร่วมกันรับผิดชอบSee Also:sharable adj. shareable adj. sharer n.
(เชิร์ค) vt. หนีงาน, หนีภาระหน้าที่, หนีความรับผิดชอบ.Syn.soldier, malinger
(เชิร์ค'เคอะ) n. ผู้หนีงาน, ผู้หนีความรับผิดชอบSyn.idler, slacker, quitter
(โชล'เดอะ) n. ไหล่, บ่า, สะบัก, ไหล่เสื้อ, ไหล่เขา, ไหล่ถนน, ขอบถนน, ท่าแบกปืน. vt., vi. ใช้ไหล่ดัน, ใช้ไหล่เบียด, แบก, รับผิดชอบ, รับภาระ. shoulder arms เอาปืนขึ้นประทับไหล่.Syn.endure, assume, take on
วิศวกรระบบหมายถึง วิศวกรที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์อาจมีหน้าที่ออกแบบ หรือวางข้อกำหนดในการซื้อหรือหาเครื่องให้เหมาะสมกับงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์ ชี้แนะจุดผิดพลาดกว้าง ๆ เมื่อเครื่องทำงานผิดวัตถุประสงค์ รวมทั้งชี้แนะว่า ควรใช้เครื่องมากน้อยอย่างใดจึงจะคุ้มค่า หรืออาจหมายถึง การชี้แนะในเรื่องการจัดหาอุปกรณ์บางชนิดเพิ่มเติม เพื่อให้การทำงานเฉพาะอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
(ทรัสทฺ) n. ความเชื่อถือ, ความไว้วางใจ, ความมั่นใจ, ความหวัง, สิ่งที่ไว้ใจได้, บุคคลที่ไว้ใจได้, บริษัทใหญ่ที่รวมบริษัทเล็ก ๆ เข้าไว้, ความรับผิดชอบ, การฝากฝัง, ความพิทักษ์, ความอุปถัมภ์, การปกครอง, สินเชื่อ, -Phr. (in trust อยู่ในความพิทักษ์ของคนอื่น) adj. เกี่ยวกับสินเชื่อ
(ทู'เว) adj. สองทาง, สองฝ่าย, สองด้าน, รับผิดชอบทั้งสองฝ่าย, รับภาระทั้งสองฝ่าย
(อันอะเคา'ทะเบิล) adj. ไม่ได้อธิบายไว้, ไม่สามารถอธิบายได้, ไม่ต้องรับผิดชอบ, ไม่มีภาระหน้าที่, แปลก, พิกล, ไม่ สามารถตอบโต้.See Also:unaccountableness n. unaccountability n.
(อันเดอะเทค') vt., vi. เข้าทำ, ดำเนินการ, อาสา, รับรอง, ประกัน, รับผิดชอบ.Syn.take on
(อันเดอะเทค'เทอะ) n. ผู้รับหน้าที่, ผู้รับผิดชอบ, สัปเหร่อ, ผู้จัดการศพ, นักวิสาหกิจ
(แวก'กะบอนดฺ) adj. พเนจร, ร่อนเร่, จรจัด, ไร้ค่า, ขี้เกียจ. n. คนพเนจร, คนร่อนเร่, คนจรจัด, คนที่ไม่มีความรับผิดชอบ.See Also:vagabondish adj.Syn.tramp, vagrant
(วอน'ทัน) adj. มุ่งร้ายและไม่ยุติธรรม, ขี้เล่น, ซุกซน, ชอบเล่นพิเรน, ไม่รับผิดชอบ, มั่วโลกีย์, ฟุ่มเฟือย, ฟุ้งเฟ้อ, สุรุ่ยสุร่าย, เขียวชอุ่มSee Also:wantonly adv. wantonness n.
(วีล) n. ล้อ, ล้อรถ, บุคคลที่กระฉับกระเฉงและมีอิทธิพล, at the wheel ถือพวงมาลัยควบคุม บังคับบัญชา vi. vt. (ทำใหั) หมุน, หมุนรอบ, หัน, วนเวียน, หันกลับ, แล่นไปอย่างราบรื่น, กลิ้งบนล้อ, wheel and deal กระทำอยู่อย่างอิสระหรือโดยพลการ รับผิดชอบSee Also:wheel
Nontri Dictionary
(adj)ซึ่งต้องรายงาน, ซึ่งรับผิดชอบ, ซึ่งอธิบายได้
(adj)รับผิดชอบ, ยอมรับฟัง, ถือสาหาความได้
(adj)รับผิดชอบ, ที่แก้ได้, ที่ตอบได้
(vt)รับผิดชอบ, ยอมรับ, รับรอง, รับประกัน
(n)หน้าที่, ความรับผิดชอบ, ภาระ, ค่าธรรมเนียม, มูลค่า, การฟ้องร้อง
(n)การหลีกเลี่ยงหน้าที่, ความไม่รับผิดชอบ, ความเหลวไหล, การกระทำผิด
(adj)หลีกเลี่ยงหน้าที่, เหลวไหล, ไม่รับผิดชอบ, กระทำผิด
(adj)ซื่อสัตย์, ซึ่งรับผิดชอบต่อหน้าที่, ทำตามหน้าที่, เชื่อฟัง
(n)หน้าที่, ภาระหน้าที่, อากร, ภาษี, ความรับผิดชอบ
(vt)ไว้ใจ, มอบหมาย, มอบความรับผิดชอบ
(adj)ขาดความรับผิดชอบ
(n)ความเป็นไปได้, ความรับผิดชอบ, ข้อบกพร่อง, หนี้, พันธกรรม, ความโน้มเอียง
(adj)อาจเป็นไปได้, รับผิดชอบ, มีแนวโน้ม, โน้มเอียง
(n)ภาระหน้าที่, ความรับผิดชอบ
(adj)รู้จักหน้าที่, รับผิดชอบ, เป็นภาระ
(n)ความไว้ใจ, การให้เชื่อ, ความเชื่อถือ, ความรับผิดชอบ, สินเชื่อ, ของฝาก
(adj)อธิบายไม่ได้, ไม่รับผิดชอบ, แปลก, พิกล
(n)สัปเหร่อ, ผู้รับผิดชอบ
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(vi, vt, aux, verb)รับผิดชอบ
(n)ความรับผิดชอบ
[อ่อธ้อเหรอะทิ](n)(1) อำนาจ (權柄) (2) บุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น MEA, PEA (3) แหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ (權威)
[ชา ไอม์](slang)ขาดความรับผิดชอบSee Also:unzuverlässig, unvorsichtig, A. verantwortlichSyn.unverantwortlich
(vt)รับผิด/รับผิดชอบ
Longdo Approved JP-TH
[いんせきじにん, insekijinin](n)การแสดงความรับผิดชอบโดยการลาออก
[ぎむ, gimu](n)หน้าที่, ความรับผิดชอบ
[せきにん, sekinin](n)หน้าที่, ความรับผิดชอบ
[せきにんしゃ, sekininsha](n)ผู้รับผิดชอบ
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
担当者
[たんとうしゃ, tantousha](n)ผู้รับผิดชอบ, ผู้ได้รับมอบหมาย
無責任
[むせきにん, musekinin](n, adj)ไม่มีความรับผิดชอบ
責任感
[せきにんかん, sekininkan](n)มีความรับผิดชอบ
移管
[いかん, ikan](n)การโอนหน้าที่หรือความรับผิดชอบให้หน่วยงานอื่นทำ
アップリンクID
[アップリンクアイディー, appurinkuaidi^]ก. ผู้ควบคุมข้อมูล | เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูล ผู้ควบคุมข้อมูลสำหรับการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือ Freiwillige รับผิดชอบในการควบคุม Unterhaltungssoftware GmbH Torstr. 6 10119 เบอร์ลิน เยอรมนี อีเมล
Saikam JP-TH-EN Dictionary
一人まえになる
[いちにんまえになる, ichininmaeninaru] TH: เป็นคนที่รับผิดชอบตัวเองได้
引責
[いんせき, inseki] TH: รับผิดชอบ
引責
[いんせき, inseki] EN: taking responsibility (vs)
Longdo Approved DE-TH
(n)|das| ฝ่ายวิชาการในมหาวิทยาลัย ซึ่งรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการสอบโดยตรง
(n)|die, pl. Verantwortungen| ความรับผิดชอบ เช่น Für mein Leben trage ich selbst die Verantwortung. ฉันรับผิดชอบชีวิตของฉันด้วยตัวฉันเอง
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[ชา ไอม์](slang)ขาดความรับผิดชอบSee Also:unzuverlässig, unvorsichtig, A. verantwortlichSyn.unverantwortlich
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ