บรรณนิทัศน์[เทคโนโลยีการศึกษา]
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา[เทคโนโลยีการศึกษา]
บรรณานุกรม[เทคโนโลยีการศึกษา]
บรรณานุกรมของผู้แต่ง[เทคโนโลยีการศึกษา]
การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์[เทคโนโลยีการศึกษา]
การอ้างถึงทางบรรณานุกรม[เทคโนโลยีการศึกษา]
บรรณนิทัศน์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่ง, Example:เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์, Example:<p>บรรณานุกรม (Bibliographic) หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นการให้เครดิตแก่เจ้าของผลงาน และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ตัวอย่างเช่น การสืบค้นข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดหาเข้ามา หรือ รายการเข้าถึงแบบออนไลน์ (Online Public Access Catalog : OPAC) ข้อมูลบรรณานุกรมที่แสดง คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้การสืบค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ยังรวมถึงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ประเภทฐานข้อมูลบรรณานุกรม ที่แสดงผลเฉพาะข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ฐานข้อมูล ISI : Web of Science หรือ ฐานข้อมูล Scopus เป็นต้น[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรม, Example:หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การควบคุมทางบรรณานุกรม, Example:<p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายละเอียดทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมของบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การอ้างถึงบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บริการจัดทำบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดัชนีวรรณกรรม, ดรรชนีวรรณกรรม, Example:<p>Bibliometrics คือการศึกษาหรือวิธีการวัด (Measure) สารสนเทศ หรือข้อความชุดหนึ่ง มีพัฒนาการมายาวนานกว่า 40 ปี นับเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการประเมินงานวิจัย จัดอยู่ในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สามารถนำไปประยุกต์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้มากมาย <p>การใช้วิธีการ Bibliometrics เพื่อค้นหาผลกระทบ (Impact) ในทุกระดับ คือ ระดับบทความ (Paper) ระดับสาขาวิชา (Field) ระดับนักวิจัย (Researcher) ระดับสถาบัน (Institutes / Affiliations ) และระดับประเทศ (Country ) <p>วิธีการของ Bibliometrics มีการนำไปใช้เพื่อตรวจสอบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการอ้างอิงของวารสารวิชาการ ข้อมูลการอ้างอิงถือว่ามีความสำคัญ ดัชนีการอ้างอิงที่ผลิตโดยบริษัท Thomson Reuters ในฐานข้อมูล Web of Science และ Elsevier B.V. ในฐานข้อมูล Scopus ผู้สืบค้นสามารถค้นบทความที่อ้างอิงกันไปมาได้ ดัชนีการอ้างอิงสามารถสื่อถึงความเป็นที่นิยม มีผลกระทบต่อบทความ ผู้แต่ง และวารสาร <p>Bibliometrics เป็น Truly Interdisciplinary Research มีกลุ่มเป้าหมายหลักที่ศึกษา 3 กลุ่ม คือ <p>1 .Bibliometrics for Bibliometricians (Methodology เน้นหาวิธีการ เทคนิคต่าง ๆ) <p>2. Bibliometrics for scientific disciplines (Scientific information) เป็นกลุ่มที่มีความสนใจกว้างขวางมากที่สุด <p>3. Bibliometrics for Sciences Policy & Management (ศึกษาในระดับชาติ ภูมิภาค สถาบัน ด้วยการแสดงแบบเปรียบเทียบหรือพรรณา) <p>การประยุกต์ดัชนี Bibliometrics แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. เชิงปริมาณ (Quantitative) <p>- จำนวนบทความ (No. of Publications) ตามรายปี สถาบัน ประเทศ สาขาวิชา เป็นต้น <p>- จำนวนการได้รับการอ้างอิง (No. of Citations : Citing, Cited) <p>- จำนวนที่มีผู้เขียนร่วม (No. Co-Authors) <p>- จำนวนสิทธิบัตร (No. Patents) การยื่นขอจดสิทธิบัตรจากพลเมืองตนเองหรือต่างชาติ <p>2. เชิงความสัมพันธ์ (Relation) <p>- ดัชนีผลงานตีพิมพ์ร่วมกัน (ความเป็นนานาชาติ) <p>- ดัชนีเชื่อมโยงจากบทความอ้างอิง (หาคำตอบประเทศใดอ้างอิงถึงประเทศใดบ้าง) <p>- ดัชนีสัมพันธ์บทความวิชาการกับสิทธิบัตร <p>- ดัชนีอ้างอิงบทความร่วมกัน (วัดหาการอ้างอิงถึงบทความ 2 บทความ ในบทความเดียวกัน) <p>บรรณานุกรม <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. ความรู้พื้นฐาน Bibliometrics ประวัติ พัฒนาการ & การประยุกต์. 2551. Available at : http://www.slideshare.net/nstda/bibliometrics. Accessed August 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การรักษาด้วยหนังสือ, บรรณบำบัด[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมเชิงพรรณนา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมเชิงพรรณนา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมเลือกสรร[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การควบคุมทางบรรณานุกรมสากล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมสากล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การค้นทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การอ้างถึงทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่ง, Example:<p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมเฉพาะวิชา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การทำเหมืองข้อมูลบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
โรคกลัวหนังสือ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การรักษาด้วยหนังสือ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
รูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ศิลปกรรมในไบเบิล[TU Subject Heading]
ไบเบิล[TU Subject Heading]
ไบเบิลกับวรรณกรรม[TU Subject Heading]
ไบเบิล. พันธสัญญาใหม่[TU Subject Heading]
ไบเบิล. พันธสัญญาเก่า[TU Subject Heading]
ไบเบิล. พันธสัญญาเก่า. อพยพ.[TU Subject Heading]
ไบเบิล. พันธสัญญาเก่า. ปฐมกาล.[TU Subject Heading]
การสอนจากพระคัมภีร์[TU Subject Heading]
การอ้างถึงทางบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
บริการทางบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
บรรณานุกรม[TU Subject Heading]
บรรณานุกรมของบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
บรรณานุกรมแห่งชาติ[TU Subject Heading]
การควบคุมทางบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
สหบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
ดัชนีวรรณกรรม[TU Subject Heading]