ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต[นิวเคลียร์]
คณะกรรมการคอมพิวเตอร์ของรัฐ[คอมพิวเตอร์]
คณะกรรมการตรวจสอบ, Example:ได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทให้เป็นคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกรรมการตรวจสอบแต่ละรายต้องเป็นกรรมการอิสระ และต้องมีคุณสมบัติและหน้าที่ในลักษณะเดียวกับที่กำหนดไว้ในข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าคุณสมบัติและขอบเขตการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบมีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทำหน้าที่ในการสอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ รวมทั้งการทำหน้าที่อื่นในฐานะกรรมการตรวจสอบ ก.ล.ต. กำหนดให้บริษัทจดทะเบียนแต่ละแห่งต้องมีคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 3 คน[ตลาดทุน]
คณะกรรมการตรวจสอบ[TU Subject Heading]
คณะกรรมาธิการ[TU Subject Heading]
คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์[TU Subject Heading]
คณะกรรมการบริหาร[TU Subject Heading]
คณะกรรมการแม่น้ำโขง[TU Subject Heading]
คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงปักกิ่ง " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง ปักกิ่ง มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของ อาเซียนในการมีปฏิสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนที่กรุงปักกิ่ง[การทูต]
คณะกรรมการที่ปรึกษาของอาเซียนด้านมาตรฐานและคุณภาพ[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงโซล ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำ กรุงโซล มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับสาธารณรัฐเกาหลีที่กรุงโซล[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงโตเกียว ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตอาเซียน 10 ประเทศซึ่งประจำที่กรุง โตเกียว มีการหารือเป็นประจำทุก 1-2 เดือน หรือตามความจำเป็น[การทูต]
คณะอนุกรรมการอาเซียนด้านเยาวชน[การทูต]
คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-อินเดีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยอินเดียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับอินเดีย[การทูต]
คณะกรรมการความร่วมมือทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมระหว่างอาเซียนกับญี่ปุ่น เป็นกรอบการหารือระหว่างรัฐมนตรีเศรษฐกิจของอาเซียนกับกระทรวงการค้าต่าง ประเทศและอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น จัดประชุมครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2541[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงนิวเดลี " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง นิวเดลี มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับอินเดียที่กรุงนิวเดลี "[การทูต]
คณะกรรมการบริหารร่วมอาเซียน-นิวซีแลนด์ ประกอบด้วยผู้แทนระดับอธิบดีของอาเซียนและนิวซีแลนด์ ประชุมกัน ปีละครั้ง เพื่อทบทวนติดตามและนำเสนอโครงการความร่วมมือระหว่างกัน[การทูต]
คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมือเฉพาะด้านอาเซียน-ปากีสถาน เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยปากีสถานและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับปากีสถาน[การทูต]
คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-รัสเซีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน มีคณะทำงาน 2 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ (2) ด้านเศรษฐกิจ[การทูต]
คณะกรรมการประจำอาเซียน " ประกอบด้วยอธิบดีกรมอาเซียนของทุกประเทศสมาชิก มีหน้าที่ ควบคุม ดูแล ติดตามการดำเนินงานของกลไกและกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียน ปกติจะประชุมปีละ 6 ครั้ง เป็นการประชุมในนามของ รัฐมนตรีต่างประเทศ ในช่วงกลางระหว่างการประชุมประจำปีของ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน "[การทูต]
คณะอนุกรรมการอาเซียนด้านสาธารณสุขและโภชนาการ[การทูต]
คณะอนุกรรมการอาเซียนด้านแรงงาน[การทูต]
คณะอนุกรรมการอาเซียนด้านการศึกษา[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนในประเทศที่สาม เป็นกลไกประสานงานของอาเซียนที่จัดตั้งขึ้นในเมืองหลวงของประเทศที่สาม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นประเทศคู่เจรจาของอาเซียน คณะกรรมการดังกล่าว ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำประเทศนั้น ๆ[การทูต]
คณะอนุกรรมการอาเซียนด้านสตรี[การทูต]
คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-แคนาดา เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกปี เพื่อทบทวน ติดตามและขยายความร่วมมือระหว่างกันในด้านต่าง ๆ[การทูต]
คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-ประชาคมยุโรป " จัดตั้งขึ้นตามความตกลงว่าด้วยความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประชาคมยุโรป (ASEAN-EC Cooperation Agreement) ที่ลงนามกันเมื่อปี พ.ศ. 2523 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาระหว่างสองฝ่าย โดยมีคณะอนุกรรมการ 6 คณะ ได้แก่ ด้าน การค้า เศรษฐกิจอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และยาเสพติด "[การทูต]
คณะกรรมการประสานงานการดำเนินงานตามพันธกรณีภายใต้ CEPT ของ AFTA เป็นกรอบการหารือในระดับผู้เชี่ยวชาญอาวุโสด้านการคลัง เพื่อ ติดตามและประสานงานการดำเนินการตามพันธกรณีการลดอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากัน ของเขตการค้าเสรีอาเซียน ซึ่งปกติจัดขึ้นประมาณปีละ 3-4 ครั้ง[การทูต]
คณะกรรมการประสานงานด้านการลงทุนของอาเซียน " จัดตั้งขึ้นจากความตกลงพื้นฐานว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (AIA) โดยเป็นการประชุมระหว่างรองหัวหน้าหน่วยงานด้านการส่งเสริมการลงทุน เพื่อดูแลและประสานการดำเนินงานตามความตกลงว่าด้วย เขตการลงทุนอาเซียน "[การทูต]
คณะกรรมการประสานงานด้านบริการของอาเซียน[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนด้านวัฒนธรรมและสนเทศ[การทูต]
คณะกรรมการว่าด้วยการใช้อวกาศส่วนนอกในทางสันติ[การทูต]
คณะกรรมการในกรอบสหภาพยุโรป ประกอบด้วยผู้แทนถาวรประจำสหภาพยุโรปของประเทศสมาชิก[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนด้านการพัฒนาสังคม[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี " มีหน้าที่ดูแลความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างประเทศสมาชิกอา เซียนและกับประเทศคู่เจรจาและองค์กรอื่น ๆ ประชุมปีละ 2 ครั้ง โดยแยกเป็นอนุกรรมการ 9 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (2) ด้านอุตุนิยมวิทยาและธรณีฟิสิกส์ (3) ด้านไมโครอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) ด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี (5) ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (6) ด้านการวิจัยพลังงานนอกแบบ (7) ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล (8) ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (9) ด้านเทคโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ "[การทูต]
คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำอาเซียน ประกอบด้วยผู้แทนถาวร (ระดับเอกอัครราชทูต) ประจำอาเซียนของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับสำนัก เลขาธิการอาเซียนสนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนรวมทั้งองค์กร ระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาต่าง ๆ[การทูต]
คณะอนุกรรมการเจ้าหน้าที่อาวุโสเอเปคว่าด้วยความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและ วิชาการ[การทูต]
คณะกรรมการชายแดนทั่วไป เป็นกลไกความร่วมมือด้านความมั่นคง ชายแดน ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นประธานร่วม กัน ทำหน้าที่กกำหนดแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมความร่วมมือ รักษาความสงบเรียบร้อยและเสถียรภาพในพื้นที่บริเวณชายแดน ซึ่งกลไกนี้ไทยมีกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดต่อกันทั้ง 4 ประเทศ[การทูต]
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นกลไกติดตามผลการอนุวัติกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR)[การทูต]
คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ[การทูต]
คณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับ พื้นที่ ชายแดนไทย-มาเลเซีย[การทูต]
คณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2546 ให้จัดตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (อพบ.) ซึ่งคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้มีคำสั่งที่ 4 / 2547 เมื่อ 6 พฤษภาคม 2547 จัดตั้ง อพบ. แล้ว โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาครัฐและเอกชนเป็นอนุกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับกรมเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ กระทรวงการต่างประเทศเป็นอนุกรรมการและฝ่ายเลขานุการ อพบ. มีหน้าที่พิจารณากลั่นกรองเสนอแนะนโยบาย แผนงานและโครงการตามแผนงานการจัดระบบเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและการพัฒนาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งครอบคลุมการดำเนินงาน ACMECS ด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของ ACMECS มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทำหน้าที่เป็นหน่วย งานหลักในการประสานกับหน่วยงานภายในของไทยให้ดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติ การ และกระทรวงการต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการประสานกับประเทศ สมาชิก ACMECS[การทูต]
คณะกรรมการทำงานเฉพาะเรื่อง[การแพทย์]
คณะกรรมการสากลฝ่ายไวรัสอนุกรมวิธาน[การแพทย์]
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานนานาชาติ[การแพทย์]
คณะกรรมการตั้งชื่อ[การแพทย์]
คณะกรรมการร่วมพิจารณาเกี่ยวกับการบัญญติศัพท์สุข[การแพทย์]