816 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*umber*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: umber, -umber-
ค้นหาอัตโนมัติโดยใช้number
Longdo Approved EN-TH
(n, jargon)ค่าที่เป็นส่วนกลับของความยาวคลื่นSee Also:Related: wavelength
(n)รหัสสินค้าที่มักแสดงเป็นบาร์โค้ด ซึ่งสามารถถูกอ่านเป็นตัวเลขและข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
(n)หนังสือกันดารวิถี หนังสือเล่มที่ 4 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า)See Also:The Old Testament
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ดินสีน้ำตาลแดงที่เป็นออกไซด์ของเหล็กและแมงกานีส
(adj)ที่มีสีน้ำตาลแดง
(vt)ทาด้วยสีน้ำตาลแดง
(vt)ขัดขวางSee Also:กีดขวางSyn.hamper, hinder
(vt)กองไว้ระเกะระกะSee Also:กองเรี่ยราด
(n)ไม้ที่เลื่อยออกเป็นท่อนๆ (เพื่อนำมาใช้ประโยชน์)
(vt)เลื่อยไม้ออกเป็นท่อนๆ (เพื่อนำมาใช้ประโยชน์)See Also:ตัดไม้
(n)เศษของที่ไม่มีประโยชน์See Also:ของสัพเพเหระSyn.useless articles
(vi)เคลื่อนที่อย่างอุ้ยอ้ายSee Also:ขยับอย่างอุ้ยอ้ายหรืองุ่มง่ามSyn.truge, plod, shamble
(n)จำนวนSee Also:ปริมาณSyn.amount, whole, estimate
(vt)ใส่ตัวเลขSee Also:ใส่ลำดับเลขSyn.list, itemize, index, numerate
(vt)นับจำนวนSyn.count, consider
(n)ช่างประปา
(vi)อยู่ในภาวะสงบSee Also:อยู่ในสภาพพัก, อยู่เฉยๆ
(vt)ปล่อยให้เวลาผ่านไปโดยการนอนหลับSee Also:ฆ่าเวลาโดยการนอนหลับ
(n)ช่วงเวลาที่งีบหลับ
(n)ต้นแตงกวา
(n)แตงกวา
(vt)กีดขวางSee Also:ขัดขวางSyn.hamper, hinder, impede
(adv)อย่างงุ่มง่ามSee Also:อย่างอุ้ยอ้ายSyn.clumsily
(adj)ซึ่งมีจำนวนจำกัดSee Also:ซึ่งมีหมายเลข
(n)การทำป่าไม้See Also:ธุรกิจตัดไม้
(n)คนตัดไม้Syn.lumberjack
(n)จำนวนมากกว่า
(vt)มีจำนวนมากกว่า
(adj)ยุ่งยากSee Also:ซึ่งทำให้ลำบาก
(adj)อุ้ยอ้ายSee Also:เทอะทะSyn.burdensome, unwieldy, heavy
(n)ลานเก็บไม้ไว้สำหรับขาย
(sl)ดีที่สุดSee Also:ยอดเยี่ยม
(n)มากจนนับไม่ถ้วนSee Also:ประมาณไม่ได้Syn.innumerable
(adj)ซึ่งงีบหลับ
(adj)ที่ไม่มีเลขหมายSee Also:ที่ไม่ติดเลขหมายไว้Ant.numbered
(n)หนังสือพิมพ์/นิตยสารที่เคยตีพิมพแล้วแต่ยังมีค่าอยู่See Also:สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารฉบับที่ออกไปแล้วSyn.back issue
(n)จำนวนคู่See Also:เลขคู่
(phrv)ระเกะระกะไปด้วยSee Also:รกไปด้วย
(phrv)บังคับให้ยอมรับ (สิ่งที่ไม่อยากทำหรือไม่ต้องการ)Syn.land with
(n)อัตราความเร็วของวัตถุต่อความเร็วของเสียงSyn.Mach
(n)เลขบอกมวล
(phrv)นับรวมอยู่ใน (กลุ่ม)See Also:ติดกลุ่ม
(n)หมายเลขหน้าSee Also:เลขหน้าSyn.folio, pagination
(n)จำนวนโปรตอนหรือนิวตรอน
(phrv)นับรวมอยู่ใน (กลุ่ม)
Hope Dictionary
จำนวนประจุบวกหรือโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม หรือเท่ากับจำนวนอีเล็กตรอนที่ล้อมรอบอะตอมอย่างปกติ
ค่าคงที่ 6.02 X 1023 ซึ่งเป็นจำนวนอะตอมในกรัม-อะตอม หรือจำนวนโมเลกุลในกรัม-โมเลกุลSyn.Avogadro's constant Avogadro number
เลขฐานหมายถึง จำนวนสัญลักษณ์ที่ ใช้บอกว่าเลขในระบบนั้น ๆ ว่ามีสัญลักษณ์โดด ๆ กี่ตัว เช่น ระบบฐานสิบมีสัญลักษณ์ 10 ตัว ระบบฐานสิบหกมีสัญลักษณ์ 16 ตัว เป็นต้น ในการเขียน มักจะต้องบอกฐานกำกับไว้ด้วยเสมอ
ระบบเลขฐานสอง <คำแปล>ระบบเลขฐานสอง หมายถึง ตัวเลขบอกจำนวนที่มีฐานเป็น"สอง" (ไม่ใช่ "สิบ" อย่างที่นิยมใช้ในปัจจุบัน) คือมีเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 คอมพิวเตอร์ได้นำระบบเลขฐานสองนี้มาใช้เป็นรหัส เพื่อสะดวกในการแสดงสภาวะ 2 ประการคือ (สวิตซ์) เปิด และ ปิด
n. ร่ม
n. หมายเลขหิ้งหนังสือ
n. ตัวเลขแสดงจำนวนเช่น1, 2, 3Syn.cardinal numeral -Conf. ordinal number
ตัวเลขที่เกี่ยวกับวัตถุหรือสิ่งของเฉพาะอย่าง
(คิว'คัมเบอะ) n. แตงกวา, แตงเหลือง, แตงร้าน, ต้นแตงกวา, ต้นแตงเหลือง, ต้นแตงร้าน
(คัม'เบอเซิม) adj. ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก, เป็นภาระ, อุ้ยอ้าย, หนัก, ไม่สะดวกSyn.clumsy
เลขฐานสิบหมายถึง ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ในระบบเลขฐาน 10 ที่ใช้กันอยู่
(เอนคัม'เบอะ) vt. กีดขวาง, ขีดขวาง, เกะกะ, ทำให้ช้าลง, ถ่วง, ทำให้หนักใจ.
เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี)
จำนวนเต็มหมายถึง เลขที่มีจุดทศนิยม (สมมติ) ตายตัว หรือที่เรียกว่า เลขจำนวนเต็ม (integer) ตรงข้ามกับ floating point number ซึ่งหมายถึงเลขทศนิยมที่จะกำหนดให้มีเลขตามหลังจุด ทศนิยมกี่หลักก็ได้ตามที่ต้องการ
เลขทศนิยมหมายถึง เลขที่มีจุดทศนิยม จะมีเลขตามหลังจุดทศนิยมนี้กี่ หลักก็ได้ ตรงข้ามกับ fixed point number ซึ่งหมายถึง เลขจำนวนเต็ม (integer)
(ลัม'เบอะ) { lumbered, lumbering, lumbers } n. เศษไม้, ไม้ที่เลื่อยออกเป็นท่อน ๆ , ของระเกะระกะที่ไม่มีประโยชน์และเก็บกองไว้, ของสัพเพเหระ. vt. เลื่อยไม้ออกเป็นท่อน ๆ , กองระเกะระกะ, กองเรี่ยราด. vi. เคลื่อนที่อย่างอุ้ยอ้ายหรืองุ่มง่าม, ขยับอย่างอุ้ยอ้าย.
(ลัม'เบอะแจ๊ค) n. ช่างตัดไม้, ผู้โค่นต้นไม้, คนเลื่อยไม้ขาย, ช่างเลื่อยไม้
n. จำนวนnucleonsในนิวเคลียสของอะตอมมีค่าใกล้เคียงกับน้ำหนักอะตอม
(นัม'เบอะ) n. ตัวเลข, จำนวน vt. หาจำนวน vi. เป็นจำนวน, เป็นทั้งหมด
คิดเลขเร็วหมายถึง การคำนวณที่ซับซ้อน หรือที่มีตัวเลขที่มีค่ามาก ๆ (เช่น ตัวเลขทางธุรกิจ หรืองบประมาณ) ได้อย่างรวดเร็ว
ระบบจำนวนหมายถึงจำนวนตัวเลขในแต่ละระบบ เช่น ระบบฐานสิบ จะมีเลขที่ใช้ในระบบ 10 ตัว (นิยมใช้กันอยู่ทั่วไป) คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ฐานสอง จะมีเลขที่ใช้ในระบบ 2 ตัว คือ 0 กับ 1 นอกจากนี้ ยังมีระบบฐานแปด ฐานสิบหก ฯ เลขระบบฐานอื่นไม่สู้เป็นที่นิยมนัก
n. ค่าแสดงคุณสมบัติของตัวของการเผาไหม้
เลขแสดงลำดับ, จำนวนที่แสดงลำดับ.
(เอาทฺนัน'เบอะ) vt. มีจำหน่ายมากกว่า
(พลัม'เบอะ) n. ช่างต่อประปา, ช่างท่อน้ำ, ช่างตะกั่ว
(เรียล-) n. ตัวเลขที่แท้จริง (ไม่ใช่เศษส่วนและไม่ใช่เลขผสม)Syn.real
n. ปลิงทะเล
n. เลขอนุกรม, เลขลำดับ, หมายเลขอนุกรม, หมายเลขลำดับ,
(สลัม'เบอะ) vi., vt. นอนหลับ (โดยเฉพาะหลับไปงีบหนึ่ง) , อยู่ในภาวะสงบ, ปล่อยเวลาให้ผ่านไปโดยการนอนหลับ, ฆ่าเวลาโดยการนอนหลับ.See Also:slumberer n. slumberless adj.Syn.sleep, doze
(สลัม'เบอรัส, สลัม'บรัส) adj. ง่วงนอน, ง่วงหลับ, ชวนให้หลับ, เกี่ยวกับการงีบหลับ, เงียบสงัด, ขี้เกียจ, เงื่องหงอย.Syn.slumbery, sleepy
(อัม'เบอะ) n. ดินสีน้ำตาลอมแดง, สีน้ำตาลอมแดง, เงา, เงามืด. adj. สีน้ำตาลอมแดง.
(อัน'เอนคัม'เบิด) adj. ไม่มีภาระผูกพัน, ไม่มีภาระ, ไม่มีหนี้สิน, ไม่มีบุตร
n. เลขเต็ม (ไม่มีเศษส่วน) , จำนวนเต็ม
Nontri Dictionary
(n)แตงกวา, แตงร้าน
(vt)กีดกั้น, หนัก, อุ้ยอ้าย, ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก
(adj)เป็นภาระ, ยุ่งยาก
(vt)เป็นภาระ, กีดขวาง, ทำให้หนักใจ, ทำให้กังวล
(vt)เป็นภาระ, ทำให้เต็มแน่น, ทำให้หนักใจ, ถ่วง
(n)ไม้แผ่น, เศษไม้, ของสัพเพเหระ
(vi)อุ้ยอ้าย, โซเซ, งุ่มง่าม
(vt)ตัดไม้, เลื่อยไม้
(n)การทำป่าไม้
(n)คนตัดไม้, คนเลื่อยไม้, คนโค่นต้นไม้
(n)จำนวน, ตัวเลข, สัญลักษณ์, เครื่องหมาย, เลขที่, เลขประจำตัว
(vt)นับ, หาจำนวน, แบ่ง, คิดเลข
(adj)นับไม่ถ้วน
(vt)มีจำนวนเหนือกว่า, มีจำนวนมากกว่า
(n)ช่างประปา, ช่างบัดกรี, ช่างตะกั่ว
(n)การนอนหลับ, การงีบหลับ
(vi)นอนหลับ, งีบหลับ
(adj)ง่วง, ง่วงเหงาหาวนอน, ขี้เซา
(n)สีน้ำตาลไหม้, ดินสีน้ำตาลไหม้
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
เลขสุ่มเทียม[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขพรันด์เทิล[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
หมายเลขช่องทาง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
พิน (รหัสประจำตัว)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
จำนวนเฉพาะ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เฟสจำนวนเชิงซ้อน [ มีความหมายเหมือนกับ amplitude of a complex number และ argument of a complex number ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
รหัสประจำตัว (พิน)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
จำนวนเฉพาะ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
จำนวนสมบูรณ์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
จำนวนจินตภาพแท้[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
กฎว่าด้วยจำนวนมาก[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
จำนวนปัดเศษ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
จำนวนตรรกยะ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
จำนวนเต็ม, จำนวนถ้วน[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
จำนวนเศษตกค้าง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เลขเรย์ลี[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
เลขเรย์โนลดส์[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
อาร์โอเอ็น (เลขออกเทนวิจัย)[ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ตัวสร้างเลขสุ่ม[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ลำดับเลขสุ่ม[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
จำนวนจริง[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เส้นจำนวนจริง [ มีความหมายเหมือนกับ number line ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เส้นจำนวนจริง [ มีความหมายเหมือนกับ number line ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เลขออกเทนวิจัย (อาร์โอเอ็น)[ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
จำนวนเกิน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
หมายเลขข้อความสั่ง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
จำนวนเชิงอันดับที่[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ระบบจำนวนฐานแปด[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เลขออกเทน[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
เลขออกเทน (โอเอ็น)[ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
จำนวนคี่ [ มีความหมายเหมือนกับ odd integer ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ภาวะจำนวนคี่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
อาร์กิวเมนต์จำนวนเชิงซ้อน [ มีความหมายเหมือนกับ amplitude of a complex number และ phase of a complex number ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
แอมพลิจูดจำนวนเชิงซ้อน [ มีความหมายเหมือนกับ argument of a complex number และ hase of a complex number ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
จำนวนสัมบูรณ์[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
จำนวนเชิงมิตร[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
จำนวนเกิน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เลขฐาน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. เลขฐานสอง๒. จำนวนฐานสอง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. เลขฐานสอง๒. จำนวนฐานสอง[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
จำนวนฐานสอง[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ระบบจำนวนฐานสอง [ มีความหมายเหมือนกับ binary system ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
จำนวนเฉลี่ยของบุตรต่อการสมรส[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
จำนวนเฉลี่ยของบุตรเกิดรอดต่อสตรีหนึ่งคน[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
จำนวนเฉลี่ยวันป่วย[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
จำนวนเฉลี่ยของเหตุการณ์[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
จำนวนการย้ายถิ่นโดยเฉลี่ย[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
เอ็มโอเอ็น (เลขออกเทนเครื่องยนต์)[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
เอ็มโอเอ็น (เลขออกเทนเครื่องยนต์)[ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เลขมาตรฐานหนังสือสากลExample:<p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/isbn_0.jpg" alt="ISBN">[เทคโนโลยีการศึกษา]
เลขทะเบียน[เทคโนโลยีการศึกษา]
เลขเรียกหนังสือ[เทคโนโลยีการศึกษา]
เลขทะเบียน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เลขผู้แต่งExample:<p>เลขผู้แต่ง หรือ เลขหนังสือ (Book number) หมายถึง สัญลักษณ์ประจำตัวทรัพยากรสารสนเทศ ใช้เลขประตัวผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละชื่อเรื่องนั้น เลขผู้แต่ง ประกอบด้วย อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง ซึ่งเลขประจำตัวชื่อผู้แต่งนั้น ได้มีการกำหนดเป็นตารางเลขสำเร็จรูปไว้แล้ว <p>กรณีที่ทรัพยากรสารสนเทศไม่มีชื่อผู้รับผิดชอบ จะลงรายการหลักด้วยชื่อเรื่อง ซึ่งประกอบด้วยอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องและเลขประจำอักษรตัวถัดของชื่อเรื่อง นอกจากนี้ อาจจะมีสัญลักษณ์ที่ระบุถึงเล่มที่ ฉบับที่ ตอนที่ ปีพิมพ์ เพิ่มขึ้นมาอีกด้วย <p>ส่วนตารางเลขผู้แต่งภาษาต่างประเทศนั้น ใช้ตารางเลขผู้แต่งคัตเตอร์-แซนบอร์น (Cutter-Sanborn Table) ซึ่งเป็นคัตเตอร์ของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ส่วนสำหรับเลขผู้แต่งชาวไทย จะมีตารางเลขผู้แต่งชาวไทยของหอสมุดแห่งชาติ <p>ตัวอย่าง ตารางเลขผู้แต่งคัตเตอร์-แซนบอร์น <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110228-Cutter.JPG" width="640" height="200" alt="Cutter">[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เลขเรียกหนังสือ, เลขเรียกหนังสือExample:หมายถึง รหัส หรือ สัญลักษณ์ที่บรรณารักษ์กำหนดขึ้นสำหรับระบุถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่อง หรือวัสดุห้องสมุดแต่ละชิ้น เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดใช้เป็นจุดเข้าถึงวัสดุของห้องสมุด ซึ่งทำหน้าที่เป็นเหมือนบ้านเลขที่ หรือตำแหน่งของหนังสือแต่ละชื่อเรื่องที่มีอยู่ในห้องสมุดนั่นเอง เมื่อต้องการหาหนังสือชื่อเรื่องนั้น โดยสืบค้นจากบัตรรายการ หรือสืบค้นจากฐานข้อมูลห้องสมุด ได้ทราบถึงเลขเรียกหนังสือ จึงใช้เลขเรียกหนังสือนั้น หาหนังสือที่ต้องการว่าอยู่ที่ชั้นหนังสือใดของห้องสมุด นอกจากนี้ ใช้ในการสื่อสารกับบรรณารักษ์ในงานบริการจ่ายรับหนังสือ บริการตอบคำถาม ฯลฯ และให้บรรณารักษ์ใช้ประโยชน์ในการจัดหา การให้บริการ การจัดเก็บ และการสำรวจวัสดุห้องสมุด เนื่องจากใช้เลขเรียกหนังสือเป็นการอ้างถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่องนั่นเอง <p>เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วน คือ เลขหมู่ และเลขผู้แต่ง <p>1. เลขหมู่ (Classification number) เป็นรหัสหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ ได้มาจากระบบการจัดหมวดหมู่ เช่น ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้ หรือระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือเป็นระบบการจัดหมวดหมู่ที่ห้องสมุดกำหนดขึ้นใช้เอง <p> ตัวอย่าง H (ระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน) หมายถึง เนื้อหาในสาขาสังคมศาสตร์ <p> 025.433 (ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้) หมายถึง เลขที่ใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> วพ หมายถึง รหัสเพื่อใช้แทนประเภทของหนังสือที่เป็นวิทยานิพนธ์ <p> สวทช. สก. 8 หมายถึง รหัสและเลขที่ใช้หนังสือที่ออกโดยสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเภทหนังสือทั่วไป <p> 2. เลขผู้แต่ง (Author number) หรือเลขหนังสือ (Book number) เป็นสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้น แทนชื่อเต็มของผู้แต่งหรือรายการหลักในการลงรายการหนังสือ มักใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรผสมกับตัวเลข โดยใช้อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง หรือชื่อสกุลของผู้แต่ง (กรณีที่เป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศ) ที่เป็นรายการหลัก ผสมกับตัวเลขที่กำหนดให้สำหรับผู้แต่งแต่ละคนตามคู่มือสำหรับกำหนดเลขประจำผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง 025.433 อ555ค <p> เลขเรียกหนังสือนี้ มาจากหนังสือชื่อ "คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน" เขียนโดย อัมพร ทีขะระ จึงได้เลขหมู่เป็น 025.433 ส่วน อ555 คือ หมายเลขผู้แต่งสำหรับ อัมพร ส่วน ค หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง คือ คู่มือ <p> การกำหนดเลขผู้แต่ง ช่วยให้หนังสือแต่ละเล่มมีเลขเรียกหนังสือที่ไม่ซ้ำกัน กรณีที่หนังสือมีเนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายกัน และมีการกำหนดเลขหมู่ออกมาเหมือนกัน จากตัวอย่าง ข้างต้น ถ้าห้องสมุดมีการจัดซื้อหนังสือเกี่ยวกับการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เข้ามาโดยผู้แต่งที่เขียนหลายๆ คน เลขผู้แต่งจะเป็นตัวแสดงให้เห็นความแตกต่างของผู้เขียนแต่ละคน <p> ตัวอย่าง ห้องสมุดมีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยมีการกำหนดชื่อเรื่องที่เหมือนกัน หรือคล้ายกัน ได้แก่ <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย กมลา รุ่งอุทัย จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ก138 <p> การจัดหมู่หนังสือระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย บุญถาวร หงสกุล จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 บ455 <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย ระเบียบ สุภวิรี จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ร235 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย วิลัย อัคคอิชยา จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ว716 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย อัมพร ทีขะระ จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 อ555 <p> ดังนั้น เมื่อเรียงเลขเรียกหนังสือ จะเห็นความแตกต่างของเลขผู้แต่ง ภายใต้เลขหมู่หนังสือเดียวกัน <p> 025.433 ก138 <p> 025.433 บ455 <p> 025.433 ร235 <p> 025.433 ว716 <p> 025.433 อ555 <p> 3. สัญลักษณ์อื่นๆ ที่ประกอบอยู่ในเลขเรียกหนังสือ <p> 3.1 อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง กรณีที่ผู้แต่งคนเดียวกันแต่งหนังสือที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน แต่ใช้ชื่อเรื่องต่างกัน กรณี จะมีเลขหมู่ เหมือนกัน เลขผู้แต่ง เหมือนกัน จะทำให้เกิดความซ้ำของเลขเรียกหนังสือได้ จึงได้มีการกำหนดให้ใช้อักษรตัวแรกของชื่อเรื่องใส่ไว้หลังเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> โฆษณาไทยสมัยแรก โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> โฆษณาคลาสลิค โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ 893 <p> โฆษณาไทย โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> 659.1 ในระบบการจัดหมู่ทศนิยมดิวอี้ หมายถึง การโฆษณา แต่เผอิญ เอนก นาวิกมูล แต่งหนังสือโดยใช้ชื่อว่า โฆษณา ขึ้นต้นอยู่หลายเรื่อง ถ้าจะให้เลขเรียกหนังสือ เป็น 659.1 อ893ฆ ก็จะซ้ำกันทั้งหมด ทั้งๆ ที่เป็นคนละชื่อเรื่องกัน จึงใส่ตัวอักษรอีกตัวหนึ่งเพื่อให้เกิดความแตกต่าง เช่น <p> 659.1 อ893ฆ โฆษณาไทยสมัยแรก <p> 659.1 อ893ฆค โฆษณาคลาสลิค <p> 659.1 อ893ฆษ โฆษณาไทย <p> 3.2 กำหนดสัญลักษณ์แทนประเภทของหนังสือ ส่วนมากใส่ไว้เหนือเลขหมู่ เช่น หมวดหนังสืออ้างอิง ใช้ตัว อ (คือ อ้างอิง สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาไทย) และ R หรือ Ref (คือ Reference สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ) <p> อ 495.913 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> อ PL4185 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> 3.3 สัญลักษณ์ระบุแทนปีที่พิมพ์ของหนังสือ ในกรณีที่หนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน และผู้แต่งคนเดียวกัน จัดพิมพ์ออกจำหน่ายมากกว่า 1 ครั้ง มักจะใส่ปีที่พิมพ์เพื่อให้ความแตกต่างและให้ทราบว่าเล่มใดมีความทันสมัยมากกว่ากัน โดยใส่ถัดจากเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2498 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2498 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2502 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2502 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2512 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2512 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2523 <p> 3.4 การกำหนดสัญลักษณ์บอกจำนวนซ้ำ กรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียว ปีพิมพ์เดียวกัน มากกว่า ๑ ฉบับ จะมีการกำหนดลำดับของจำนวนหนังสือแต่ละเล่มไว้ด้วย เป็น ฉ หมายถึง ฉบับ (สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ C หมายถึง Copy (สำหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) เช่น <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีจำนวน ๕ ฉบับ มีเลขหมู่ เป็น <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.1 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.2 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.3 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.4 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.5 <p> 3.5 สัญลักษณ์บอกลำดับเล่มที่ของหนังสือ กรณีที่เป็นหนังสือชุด หรือมีหลายเล่มจบ ใช้อักษร ล. (หมายถึง เล่มที่ สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ ใช้ v. (หมายถึง volume สำหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) และกำหนดตัวเลขบอกลำดับที่เล่มของหนังสือไว้ถัดจากเลขผู้แต่ง หรือเลขปีที่พิมพ์ <p> สารานุกรมไทย ของ อุทัย สินธุสาร <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 1 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 2 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 3 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 4 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 5 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 6 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110313-CallNumber.JPG" width="640" higth="200" alt="Call number"> <p> ตัวอย่าง เลขเรียกหนังสือที่มีทั้งเลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน สัญลักษณ์อื่นๆ ที่กำหนดขึ้นเป็นเลขเรียกหนังสือเฉพาะคอลเลคชั่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เลขหนังสือExample:<p> Book number หมายถึง เลขหนังสือ หรือเลขผู้แต่งหนังสือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเลขเรียกหนังสือ (Call number) ประกอบด้วยเลขหมู่หนังสือ (Class number) และเลขหนังสือ โดยเลขหนังสือจะเป็นส่วนท้ายของเลขเรียกหนังสือ เลขหนังสือนี้ประกอบด้วยตัวอักษรจากชื่อผู้แต่งกับตัวเลขจำนวนหนึ่ง และบางครั้งรวมทั้งตัวอักษรซึ่งได้มาจากชื่อหนังสือด้วย เลขหนังสือมีประโยชน์ คือ ทำให้เลขเรียกหนังสือของหนังสือแต่ละเล่มมีความแตกต่างกัน และสามารถจัดเรียงตามลำดับบนชั้นได้ไม่ซ้ำกัน <p> ในต่างประเทศได้จัดทำเลขผู้แต่งหนังสือมานานแล้ว โดยเริ่มจาก ชาร์ล เอ คัตเตอร์ (Charle A Cutter) ได้จัดทำ Cutter’s Two Figure Author Table ขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 ต่อมาเคท อี. แซนบอร์น (Kate E. Sanborn) ได้จัดทำ Three Figure Table ขึ้นจากคำแนะนำของคัตเตอร์ โดยใช้ชื่อว่า Cutter-Sanborn Three Figure Author Table ดังนั้น จึงนิยมเรียกตารางเลขผู้แต่งที่แซนบอร์น คิดขึ้นนี้ว่า Cutter-Sanborn Table และใช้เป็นพื้นฐานสำหรับเลขผู้แต่งสมัยปัจจุบัน <p> ในประเทศไทยหอสมุดแห่งชาติได้นำแนวคิดจากตารางเลขผู้แต่ง Cutter-Sanborn Three Figure Author Table มาพัฒนาตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูปของหอสมุดแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และเผยแพร่ไปยังห้องสมุดต่างๆ อย่างแพร่หลาย จนในปี พ.ศ. 2528 หอสมุดแห่งชาติ จึงได้จัดพิมพ์เผยแพร่อย่างเป็นทางการใช้ชื่อว่า ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูป (Thai Author Table) จากนั้นได้จัดพิมพ์เผยแพร่อีก 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2531, 2538 และ 2547 ตารางเลขผู้แต่งของหอสมุดแห่งชาติ ได้รับความนิยมแพร่หลาย เนื่องจากเป็นคู่มือที่มีการกำหนดเลขไว้แน่นอน เรียงชื่อผู้แต่งตามพจนานุกรม โดยกำหนดเลข 3 หลักควบคู่กับชื่อผู้แต่ง นับเป็นคู่มือที่ให้ความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงานมาก เมื่อเทียบกับการกำหนดเลขผู้แต่งโดยการบวกตัวเลขระหว่างตัวอักษรและสระประจำตัวผู้แต่ง <p> นอกจากนี้ยังมีเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยอื่น ๆ ที่ห้องสมุดหลายแห่งได้พัฒนาขึ้นใช้เอง ได้แก่ <p> 1) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของหอสมุดกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p> 2) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของ หอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p> 3) เลขผู้แต่งภาษาไทยของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม <p> เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยที่ห้องสมุดต่างๆ ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันคือ เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยของหอสมุดแห่งชาติ ซึ่งปัจจุบันจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 5 แล้ว <p> โดยทั่วไปเลขหนังสือประกอบด้วย เลขผู้แต่ง In general, book number = author number + title (or work) mark + edition mark + date of publication + volume number + copy number + anything else library policy dictates ตัวอย่างการให้เลขหนังสือ <p> หนังสือเล่มหนึ่ง เมื่อจัดหมวดหมู่ในระบบ LC (ระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน) ได้เลขเรียกหนังสือ ดังนี้ <p> BF 408 เลขหมู่หนังสือ (Class Number) <p> ว716 เลขหนังสือ (Book number) <p> เมื่อหนังสือมีเลขหมู่หนังสือซ้ำกัน เลขหนังสือจะช่วยจัดลำดับหนังสือที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันบนชั้นได้โดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น มีหนังสือที่มีเลขหมู่เดียวกันบนชั้น 5 เล่ม แต่มีผู้แต่งต่างกัน เมื่อจัดวางหนังสือบนชั้น จะนำมาจัดเรียงได้ ดังนี้ <p> BF 408 BF 408 BF 408 BF 408 BF <p> ว 716 ว 447 ส 282 อ 113 อ 459 <p>ในกรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือของผู้แต่งคนเดียวกันที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันและมีอยู่บนชั้นหลายเล่ม เกิดปัญหาในการจัดวางหนังสือบนชั้น จะใช้วิธีเพิ่มตัวอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องต่อท้ายเลขหนังสือ เช่น <p> BF 408 BF 408 ดังนั้น จึงทำให้หนังสือสองเล่มนี้มีตำแหน่งที่วางโดยเฉพาะบนชั้นหนังสือ <p> อ 968 ค อ 968 จ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือExample:<p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/isbn.jpg" alt="International Standard Book Number"> <p>เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หรือ International Standard Book Number หรือ ISBN <p>ประวัติความเป็นมา : บริษัท W.H. Smith (http://www.whsmith.co.uk) ซึ่งเป็นผู้จำหน่ายหนังสือรายใหญ่ของอังกฤษ ได้ร่วมกับสภาสมาคมสำนักพิมพ์ และ Prof. F.G. Foster แห่ง The London School of Economic จัดทำตัวเลขกำกับหนังสือเพื่อให้เป็นมาตรฐาน (Standard Book Number: SBN) ในปี ค.ศ. 1967 ต่อมา ISO (International Standard Organization: องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ) ร่วมกับสมาคมสำนักพิมพ์ และห้องสมุดต่างๆ ของยุโรป และอเมริกา เห็นความสำคัญของตัวเลขดังกล่าว จึงปรับปรุงให้เป็นระบบสากล ในปี ค.ศ. 1970 เรียกว่า ISBN (International Standard Book Number) <p>สำหรับประเทศไทยได้มีการนำ ISBN มาใช้โดยปี พ.ศ. 2519 หอสมุดแห่งชาติ ร่วมกับศูนย์ประมวลผลด้วยเครื่องจักรแห่งประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สร้าง ISBN ภายในประเทศ และเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา <p>โครงสร้างของเลข ISBN : เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค ส่วนที่ 1 รหัสบาร์โค้ด แสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ส่วนที่ 2 รหัสกลุ่มประเทศ (Group identifier) แบ่งตามประเทศหรือกลุ่มประเทศตามภูมิศาสตร์หรือกลุ่มประเทศตามภาษา มี 1-5 หลัก เช่น 974 รหัสประเทศไทย ส่วนที่ 3 รหัสสำนักพิมพ์ (Publisher prefix) มี 2-7 หลัก ขึ้นกับว่าสำนักพิมพ์นั้นพิมพ์หนังสือมากน้อยเพียงใดถ้าพิมพ์มากจะได้รหัสน้อยหลัก สำหรับ สวทช. คือ 229 ส่วนที่ 4 รหัสลำดับชื่อเรื่อง (Title number) มีกี่หลักขึ้นกับจำนวนรหัสกลุ่มและรหัสสำนักพิมพ์ ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ (Check digit) ใช้ตรวจสอบว่าเลขที่ถูกป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์นั้นถูกต้องหรือไม่ มี 1 หลัก (0-9) หรือ X <p>ISBN เป็นประโยชน์ต่อหลายวงการ เช่น ห้องสมุด นำ ISBN มาประยุกต์ใช้ในการยืมคืน การยืมระหว่างห้องสมุด การสืบค้น เข้าถึง และแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือ ร้านหนังสือ คลังสินค้าต่างๆ ISBN ช่วยในการบริหารสินค้าและคลังสินค้า ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว <p>การขอรับเลข ISBN จากหอสมุดแห่งชาติ : สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรือหน่วยงานราชการ ต้องกรอกรายละเอียดของหนังสือในแบบฟอร์มการขอเลข ISBN ได้ 4 วิธี 1. ทางจดหมาย ถึง ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดแห่งชาติ 2. ทางโทรสาร ที่หมายเลข 0-2281-5450, 0-2628-5175 3. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail : isbn@nlt.go.th 4. ติดต่อขอรับด้วยตนเอง ที่กลุ่มงานคัดเลือกและประเมินคุณภาพทรัพยากรห้องสมุด <p>สิ่งพิมพ์ที่ไม่สามารถขอ ISBN ได้ 1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ 2. สิ่งพิมพ์อายุการใช้งานสั้น เช่น แผ่นพับ แผ่นโฆษณา 3. ปฏิทิน สมุดบันทึก เกมส์ต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา 5. สมุดภาพระบายสี สมุดแบบฝึกหัด 6. บัตรอวยพร บัตรคำ 7. ผลงานทางวิชาการที่ขอปรับระดับในสถานศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ 8. รายงานการวิจัยของหน่วยงาน 9. สิ่งพิมพ์ฉบับสำเนาที่ไม่ได้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะการพิมพ์แบบดิจิตอล (ถ่ายเอกสาร, อัดสำเนา, โรเนียว, copyprint) 10. สิ่งพิมพ์ขนาด A5 ที่มีเนื้อหาไม่เกิน 50 หน้า ซึ่งจัดเป็นจุลสาร 11.ISBN ไม่สามารถกำหนดย้อนหลังได้ <p>ตัวอย่างบาร์โค้ด ISBN ที่พิมพ์ลงบนปกหนังสือ : <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-2.jpg" alt="International Standard Book Number">&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-4.jpg" alt="International Standard Book Number"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เลขมาตรฐานสากลประจำวารสารExample:<p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ตัวแบบฟัสซี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ค่าออกเทน, ค่าออกเทนที่มีประสิทธิภาพต่อด้านการน๊อคในเครื่องยนต์หลายสูบในขณะทำงานที่รอบสูงExample:ใช้เครื่องยนต์ทดสอบมาตรฐานภายใต้สภาวะมาตรฐาน 900 รอบต่อนาที[ปิโตรเลี่ยม]
ค่าออกเทน, ค่าออกเทน หมายถึงหน่วยการวัดความสามารถในการต้านทานการน๊อคของเครื่องยนต์[ปิโตรเลี่ยม]
ค่าออกเทนที่มีประสิทธิภาพต่อต้านการน๊อคในเครื่องยนต์หลายสูบที่ทำงานอยู่ในรอบของช่วงหมุนต่ำExample:ใช้เครื่องยนต์ทดสอบมาตรฐานภายใต้สภาวะมาตรฐาน 600 รอบต่อนาที[ปิโตรเลี่ยม]
การแปรรูปไม้[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เลขเชิงอะตอม, จำนวนโปรตอนภายในนิวเคลียสของอะตอมใดๆ และเป็นสิ่งชี้บอกตำแหน่งของธาตุในตารางพีริออดิก[นิวเคลียร์]
เลขฐานแปด[เศรษฐศาสตร์]
คำนวณเลข[คอมพิวเตอร์]
ฉบับที่Example:ตัวเลขที่อยู่ทางขวาของเครื่องหมายจุดทศนิยมในหมายเลขโปรแกรม เมื่อบริษัทซอฟต์แวร์แก้ไขปรับปรุงซอฟแวร์ชุดหนึ่งอย่างขนาดใหญ่แล้ว ก็จะนำซอฟต์แวร์นั้นออกจำหน่ายเป็นรุ่นใหม่ (new version) หมายเลขรุ่นนี้จะอยู่ทางซ้ายมือของเครื่องหมายจุดทศนิยม ต่อมาเมื่อบริษัทซอฟต์แวร์ไปบ้างเล็กน้อย หรือแก้ไขซอฟต์แวร์ให้ถูกต้องมากขึ้น บริษัทอาจจะยังคงเรียกซอฟต์แวร์ใหม่เป็นรุ่นเดิมอยู่ แต่จะเปลี่ยนหมายเลขแสดงฉบับที่ไป[คอมพิวเตอร์]
จำนวนเชิงซ้อน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
จำนวนสุ่ม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
หมายเลขที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร[ทรัพย์สินทางปัญญา]
เลขที่คำขอรับสิทธิบัตรที่ถูกอ้างการมีสิทธิก่อน[ทรัพย์สินทางปัญญา]
ตัวกำเนิดจำนวนสุ่ม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ทฤษฎีจำนวนเลข[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เลขมวล, ผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งๆ ซึ่งเป็นเลขจำนวนเต็มที่ใกล้เคียงที่สุดกับน้ำหนักเชิงอะตอมของแต่ละไอโซโทป เช่น ยูเรเนียม-235 มีโปรตอน 92 อนุภาค และนิวตรอน 143 อนุภาค ดังนั้นเลขมวลคือ 235 <br>(ดู atomic mass และ atomic number ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
หมายเลขรุ่นExample:หมายเลขที่กำหนดให้กับโปรแกรมเพื่อแสดงว่าได้ปรับปรุงซอฟต์แวร์นั้นอย่างขนานใหญ่มากี่ครั้งแล้ว[คอมพิวเตอร์]
เลขฐานสิบหก[คอมพิวเตอร์]
ศูนย์ (จำนวน)[TU Subject Heading]
เลขรหัส[TU Subject Heading]
การสื่อสารทางการแปรรูปไม้[TU Subject Heading]
แตงกวา[TU Subject Heading]
เลขฟีบอนนาชี[TU Subject Heading]
การทำนายโชคชะตาจากตัวเลข[TU Subject Heading]
เลขดัชนี[TU Subject Heading]
เลขมาตรฐานหนังสือสากล[TU Subject Heading]
ไม้แปรรูป[TU Subject Heading]
อุตสาหกรรมไม้แปรรูป[TU Subject Heading]
การแปรรูปไม้[TU Subject Heading]
มโนทัศน์เชิงจำนวนเลข[TU Subject Heading]
ทฤษฎีจำนวน[TU Subject Heading]
เลขสุ่ม[TU Subject Heading]
จำนวนจริง[TU Subject Heading]
ตัวสร้างเลขสุ่ม[TU Subject Heading]
ตัวเลขน่าจะเป็นที่สุดExample:จำนวนจุลินทรีย์ต่อหน่วยปริมาตรวัดในเชิงสถิติ [สิ่งแวดล้อม]
หมายเลขการอนุญาตให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งของประเทศหนึ่ง ๆ ผ่านเข้าไปในอาณาเขตของอีกประเทศหนึ่งได้โดยเหตุผลทางการทูต อาทิ อากาศยานเฉพาะกิจ เรือที่ใช้ในการสงคราม ฯลฯ[การทูต]
การวัดค่าพลาสติซิตี้ขึ้นกับความสูงของตัวอย่างทดสอบหลังเกิดการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างภายใต้สภาวะที่กำหนด เช่น แรงกด เวลา และอุณหภูมิ ค่าพลาสติซิตี้ของยางจะบอกถึงความนิ่มหรือแข็งของยางยางที่มีค่าพลาสติซิตี้ สูงคือยางแข็ง ยางที่มีค่าพลาสติซิตี้ต่ำคือยางนิ่ม ซึ่งค่าพลาสติซิตี้ของยางมีความสำคัญต่อการแปรรูปยาง เช่น บ่งถึงพลังงานที่ต้องใช้ในการแปรรูปยาง ยางนิ่มจะใช้พลังงานน้อยและจะรับสารเคมีเข้าไปในยางได้รวดเร็ว เป็นต้น[เทคโนโลยียาง]
จำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ หมายถึง จำนวนกรัมของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่สมมูลย์พอดีกับอนุมูลของกรดทั้งหมดที่ รวมกับแอมโมเนียในน้ำยาง ที่มีปริมาณของแข็งทั้งหมด 100 กรัม นั่นคือ จำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวระบุปริมาณของสบู่แอมโมเนียมที่เกิดขึ้น ระหว่างการเปลี่ยนแปลงในน้ำยาง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดจากการกระทำของแบคทีเรียต่อสารที่ไม่ใช่เนื้อยาง ในขณะก่อนการใส่แอมโมเนียลงในน้ำยาง และเกิดขึ้นจากการไฮโดรไลซิสของโปรตีนในระหว่างการเก็บน้ำยาง ค่า KOH ที่สูงแสดงถึง ความเปลี่ยนแปลงมากและอาจบ่งชี้ว่าน้ำยางข้นมีอายุหลังการผลิตนานอีกด้วย[เทคโนโลยียาง]
จำนวนกรดไขมันระเหย หมายถึง ปริมาณของกรดไขมันระเหยที่เกิดขึ้นโดยการไฮโดรไลซิสของคาร์โบไฮเดรตในเซรุ่ม ของน้ำยาง กรดเหล่านี้ประกอบด้วยกรดแอซิติก กรดฟอร์มิก และกรดพรอพิโอนิก เป็นส่วนใหญ่ หรือหมายถึง จำนวนกรัมของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ทำให้กรดไขมันระเหยทั้งหมดในน้ำยางที่ มีปริมาณของแข็งทั้งหมด 100 กรัม เป็นกลาง ค่า VFA No. เป็นค่าที่บ่งชี้ถึงสถานะการเสียสภาพ ถ้าค่า VFA No. สูง แสดงว่าน้ำยางถูกเชื้อจุลินทรีย์เข้าทำลายมาก เกิดกรดไขมันระเหยมาก ทำให้สูญเสียสภาพการเป็นคอลลอยด์ เกิดการบูดเน่าและจับเป็นก้อนได้[เทคโนโลยียาง]
เลขอะตอม, อะตอมิกนัมเบอร์, อะตอมมิคนัมเบอร์[การแพทย์]
เลขอาโวกาโด[การแพทย์]
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ทำตามแผน ทำตามกฎ ทำตามระเบียบ ทำตามขั้นตอน
(n)เลขประจำตัวประชาชนSyn.people identity number
(n)อาจาด
[คัม-บา-ลัน](name)คัมบาลันด์ เป็นชื่ออดีตเขตชนบทในนอร์ทเวสต์อิงแลนด์ของประเทศอังกฤษ
เอกสารถูกยกเลิก
(n, phrase)หมายเลขอ้างอิง
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Ich hoffe, ihr habt eure Partyschuhe an denn Treasure Doll bringt euch Casti-Power-Pop von der heißen neuen Band Strength in Numbers, nur bei Tarr Traxx.If You Could See Her Through My Eyes (2014)
~ TV4User präsentiert: ~ ~ Anger Management - Staffel 2 Folge 61 ~ "Charlie, Lacey and the Dangerous Plumber"Charlie, Lacey & the Dangerous Plumber (2014)
Ich bin sehr enttäuscht wegen deiner fehlenden Kooperation, aber falls du deine Meinung änderst, da ist meine number.Run, Ali, Run (2014)
- Staffel 4 Folge 6 ~ "Door Number Three" Übersetzt von Evidence, Karteileiche Godmode Korrektur von Godmode Anpassung von MovieDoor Number Three (2014)
- In Northumberland? - Ja!Episode #5.8 (2014)
Wir fahnden nach zwei Flüchtigen, die letzte Nacht aus Cumberland abgehauen sind.The Decembrist (No. 12) (2014)
Thomas und Lucille Sharp, ja, in Cumberland, England, Sir.Crimson Peak (2015)
Die Titelseite des Cumberland Ledger.Crimson Peak (2015)
Jean-Paul Sartre für Die Hochmütigen und Cesare Zavattini für Umberto D.Trumbo (2015)
Im Norden bis zum Mount Pleasant, im Süden bis zum Cumberland Sund.XVI. (2015)
Ich weiß nicht, wie alt wir waren. Ich war 18 und Violette 14, da hatte sie einen Traumberuf:Une famille à louer (2015)
Nicht mal dieser Lumberbutch hier drüben.Here Comes the Night (2015)
Corn Huskers. Lumberjacks.The Sex (2015)
Hurrikan Humberto nahm dieselbe Richtung wie Faith.Chapter 34 (2015)
Hinsetzen! - Das ist mein Lumberjack-Whisky, das dürfen Sie nicht.Game, Set & Murder (2015)
Ich brauche deine Hilfe. Ich bin an einer Tankstelle an der 68 in Cumberland.Mentally Divergent (2015)
- Sie erzählte ihm, das FBI würde nach zwei Flüchtigen fahnden, die eine nach zuvor aus Cumberland entkommen wären.Ruslan Denisov (No. 67) (2015)
Richtig. Ich glaube, Sie haben etwas über die Suche des FBI nach Flüchtigen gesagt, die aus Cumberland ausgebrochen sind.Ruslan Denisov (No. 67) (2015)
Ich war auf dem Rückweg aus Cumberland County mit der mobilen Einheit.Help Wanted (2015)
Die Leihgabe aus dem Cumberland County.Four Arrows (2015)
- Ach, natürlich nicht, weil dir das Cumberland County, ja deinen kleinen Gutgebauten geliehen hat.Four Arrows (2015)
In Cumberland, wenn wir da feststecken, tun wir, was immer nötig, um unser Opfer zu identifizieren.Four Arrows (2015)
Sie haben den Mann mit einer Waffe bedroht und ihm eine Geschichte aufgetischt, Sie würden nach flüchtigen Verbrechern aus dem Cumberland Gefängnis fahnden.The Major (No. 75) (2015)
Wir suchen nach zwei Flüchtigen, die letzte Nacht aus Cumberland entkommen sind.The Major (No. 75) (2015)
Respekt für meinen Cumberbatch.Hot Ticket (2015)
Alter. Ich könnte Benedict Cumberbatch bei allem zusehen. Ja.Hot Ticket (2015)
Es ist Benedict Cumberbatch und Sie.The Boss (2016)
Ich hätte Sie nicht für eine Cumberbitch gehalten.The Boss (2016)
Das bin ich, 'ne Cumberbitch.The Boss (2016)
Sind Sie. Sie wirken wie 'ne richtige Cumberbitch.The Boss (2016)
Zwei waren Sureños, und der Weiße mit dem "Pen One", das steht für "Public Enemy Number One", der ist ein Schläger der Brotherhood, sind aber keine Rassisten.Blood Father (2016)
ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)die en massSee Also:die in massive numbersExample:โรคระบาดที่แพร่ไปอย่างรวดเร็วทำให้ประชาชนบาดเจ็บและตายหมู่เป็นจำนวนมากThai Definition:เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก
(n)woodSee Also:lumber, timberSyn.ท่อนไม้, ขอนไม้Unit:ท่อน, อัน, แผ่น
(v)increase the number of branchesExample:บริษัทข้ามชาติของญี่ปุ่นขยายสาขาเข้าสู่ตลาดของเกาหลีใต้อย่างรวดเร็วThai Definition:กระจายส่วนย่อยของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้แผ่ออกไปในบริเวณต่างๆ มากขึ้น
(v)sleepSee Also:be asleep, slumber, go to bed, snoozeSyn.หลับ, นอนหลับ, นอนExample:เมื่อกลับไปถึงบ้าน ทั้งคู่ต่างหลับไหลลงด้วยความเหนื่อยอ่อน
(n)numberSyn.หมายเลข, เลขหมาย, นัมเบอร์Example:เบอร์สุดท้ายของทีมคือเบอร์ 4Unit:เบอร์Thai Definition:ตัวเลขประจำสิ่งใดสิ่งหนึ่งNotes:(อังกฤษ), (ปาก)
(adv)in thousandsSee Also:plentifully, in large numbers, abundantlySyn.มากมาย, เกลื่อนกลาดAnt.น้อยExample:การรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีสามารถฆ่าชีวิตผู้คนได้เป็นเบือ
(n)lucky numberSee Also:cool numberExample:นางได้เลขเด็ดมาจากเจดีย์ในวัดUnit:ตัวThai Definition:เลขที่เก็งด้วยความมั่นใจว่าจะถูกรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล หรือหวยใต้ดิน
(adv)in a cloudSee Also:in great herds or flocks, in great numbersSyn.มากExample:ฉันเดินไปที่ต้นไม้เห็นตัวแมลงเล็กๆ บินว่อนเป็นกลุ่มใหญ่Thai Definition:ลอยเกลื่อนอยู่บนอากาศเป็นฝูงหรือเป็นจำนวนมาก, เคลื่อนไปในอากาศเป็นฝูงหรือเป็นจำนวนมาก
(adj)a fewSee Also:small number ofSyn.ฝ่ายข้างน้อยAnt.ส่วนมาก, ส่วนใหญ่Example:ตามปกติอาหารจะมีแป้งเป็นส่วนใหญ่ ส่วนน้อยจะเป็นน้ำตาล
(n)illegal lotterySee Also:numbers gameExample:แม้แผ่นดินอีสานจะแห้งแล้งเพียงใด แต่หวยเถื่อนกลับเบ่งบานเจริญเติบโต จนเรียกได้ว่าอีสานเป็นอาณาจักรเจ้ามือสลากกินรวบ
(n)numberSee Also:numeral, digit, figure, integerSyn.ตัวเลขExample:ชาวตะวันตกไม่ชอบเลข 13 เพราะเป็นเลขที่นำความโชคร้ายมาให้Thai Definition:สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง
(adv)many times (e.g. the number of)Example:ในจำนวนผู้ที่แสดงความจำนงอยากจะเป็นนักการเมือง มีผู้ชายมากกว่าผู้หญิงหลายเท่าThai Definition:เพิ่มขึ้นจากจำนวนที่มีอยู่เดิมเป็นจำนวนมาก
(n)logSee Also:lumber, timber, plankSyn.ท่อนไม้, แผ่นไม้Example:โต๊ะที่ทำจากไม้ไม่ขึ้นสนิมก็จริงแต่มันก็ผุไปตามเวลาUnit:ท่อน, อัน, แผ่นThai Definition:เนื้อของต้นไม้ที่ใช้ทำสิ่งของต่างๆ มีลักษณะเป็นท่อน แผ่น หรือดุ้น เป็นต้น
(v)hinderSee Also:impede, block, bar, encumber, trammelSyn.ขวางกั้น, กั้น, กีดขวาง, กัน, ขัดขวางExample:ความสุจริตนั้นย่อมกีดกั้นบุคคลออกจากความชั่วและความเสื่อมเสียทั้งหมดได้Thai Definition:ขัดขวางไว้
(v)hinderSee Also:annoy by obstructing, encumber, trammelSyn.ขวาง, ขัดขวางExample:ไม่ว่าดิฉันจะทำอะไรก็กีดหน้าขวางตาเขาไปทั้งนั้นThai Definition:ขัดขวางทำให้ไม่สะดวกใจ
(v)sleepSee Also:doze, nap, drowse, snooze, slumberSyn.นอน, หลับ, นอนหลับAnt.ตื่นExample:คุณยายบอกหลานชายว่า รีบเคล้งได้แล้ว พรุ่งนี้จะได้ตื่นแต่เช้าThai Definition:เป็นคำบอกเด็กให้นอน
(n)quotaSee Also:amount, number, quantitySyn.ส่วนแบ่ง, จำนวน, ปริมาณExample:มหาวิทยาลัยรามคำแหงสามารถรับนักศึกษาใหม่ได้โดยไม่จำกัดโควตาUnit:โควตาThai Definition:การจำกัดจำนวนโดยวางกฎเกณฑ์ไว้
(v)napSee Also:slumber, doze, sleep, drowseSyn.หลับ, นอนAnt.ตื่นExample:ทั้งครูและนักเรียนต่างก็งีบไปหลังอาหารกลางวัน มาตื่นเอาอีกทีก็เมื่อดวงตะวันจะลับขอบฟ้าไปแล้วThai Definition:หลับไปชั่วขณะหนึ่ง
(n)silverSee Also:Ag, atomic number 47Example:บางคนชอบเครื่องประดับที่ทำจากเงิน
(n)sea cucumberSee Also:sea leech, sea slug, trepangExample:คนจีนนิยมเอาปลิงทะเลมาทำอาหาร เพราะเชื่อว่าทำให้ร่างกายแข็งแรงUnit:ตัวThai Definition:ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Holothuroidea ตัวคล้ายทากแต่ใหญ่กว่า บางชนิดใช้รับประทานได้
(n)year of the reignSee Also:number of coronation year and the eraThai Definition:เลขปีรัชกาลที่เขียนบนหลังศก
(n)plural numberSee Also:pluralSyn.พหูพจน์, จำนวนพหูพจน์Ant.เอกพจน์Example:โดยปกติการทำคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ในภาษาอังกฤษให้เติม s ข้างท้ายThai Definition:คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่งNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(n)plural numberSee Also:plural numberSyn.พหุพจน์Ant.เอกพจน์Example:คำว่า class เป็นคำที่มีลักษณะพหูพจน์ หมายถึงกลุ่มคนThai Definition:คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่งNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(adv)crowd in huge number of peopleSee Also:gather in great number, over-abundantlySyn.มากมายAnt.น้อยExample:ผู้คนมาชมงานกันมืดฟ้ามัวดินThai Definition:มากมายจนนับไม่ถ้วน
(adv)in rowsSee Also:in large numbersSyn.เป็นแถวExample:กำแพงของวัดนี้ยาวเป็นแนวต่อกันไปถึงสุดหัวถนนThai Definition:อย่างที่มีลักษณะเป็นแถวหรือเป็นเส้นเป็นทางยาวไป
(adv)in rowsSee Also:in large numbersSyn.เป็นแนวExample:ถ้ามองออกไปนอกหน้าต่าง จะเห็นต้นมะพร้าวเรียงกันเป็นแถวดูสวยงามThai Definition:อย่างมีลักษณะที่เรียงกันเป็นเส้นเป็นแนว
(adv)in rowsSee Also: in large numbersSyn.เป็นแถว, เป็นแนวExample:เป็ดมีเท้าติดกันเป็นพืด
(adv)manySee Also:very much, in great quantity, in great numbersSyn.มากมาย, เยอะแยะAnt.น้อยExample:ตอนน้ำท่วมถนนใหม่ๆ จะมีตัวเงินตัวทองออกมาว่ายบนถนนเป็นร้อยเป็นพัน
(n)magic number
(n)odd numberAnt.เลขคู่Example:ในวันจันทร์รถที่มีทะเบียนเป็นเลขคี่เท่านั้นที่ออกวิ่งบนถนนได้Thai Definition:จำนวนที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว
(n)even numberAnt.เลขคี่Example:ในงานบุญจะนิยมนิมนต์พระสงฆ์เป็นเลขคู่มากกว่าเลขคี่Thai Definition:จำนวนที่หารด้วย 2 ลงตัว
(n)numberSyn.ตัวเลข, เลขUnit:ตัวThai Definition:จำนวนเลขต่างๆ
(n)identification numberSee Also:numberExample:เขาเรียงข้อมูลเกี่ยวกับการจ่ายเงินค่าแรงของพนักงานโดยเรียงตามเลขประจำตัวของพนักงานThai Definition:เลขลำดับของคนสำหรับตรวจหาได้สะดวก
(n)occult numberSee Also:figures used in cabalistic signsExample:ผ้าที่หัวเสานี้ลงเลขยันต์ไว้เพื่อเป็นเครื่องกันเสนียดจัญไรThai Definition:ตัวเลขที่ประกอบในแผ่นยันต์
(n)ordinal numberExample:หน้าปัดนาฬิกาโดยมากมีเลขลำดับบอกชั่วโมงจาก 1 ถึง 12Thai Definition:จำนวนนับที่บอกรหัสหรือตำแหน่งที่ของสิ่งที่จัดเรียงกันอย่างมีระบบ
(n)page numberExample:ตามระเบียบของการพิมพ์จะต้องพิมพ์เลขหน้าไว้ข้างบนด้านขวาThai Definition:ตัวเลขที่เขียนลำดับตามหน้าสมุดและหนังสือ
(n)high numeralSee Also:a number followed by 42 ciphersSyn.อักโขเภณี, อักเษาหิณีThai Definition:จำนวนนับอย่างสูง คือ 1 มีศูนย์ตาม 42 ตัว
(n)Islamic dish made of cucumber slices and onions in vinegarExample:สะเต๊ะของเมืองซีอานไม่มีน้ำจิ้ม และอาจาด มีแค่เนื้อย่างเฉยๆThai Definition:ของกินแก้เลี่ยนปรุงด้วยแตงกวา หัวหอม แช่น้ำส้ม หรือน้ำกระเทียมดอง
(n)singularSee Also:singular numberAnt.พหูพจน์Example:นักวิจารณ์ตั้งข้อสังเกตวิธีเขียนของเขาว่า ตัวละครมักจะเป็นเอกพจน์ บุรุษที่ 1 ที่ไม่มีชนชั้น ภูมิหลัง หรือพื้นเพThai Definition:คำที่กล่าวถึงสิ่งสิ่งเดียว
(v)lumberSee Also:be clumsyThai Definition:ไม่คล่องแคล่ว, เคลื่อนตัวยากอย่างคนอ้วน
(n)month of odd numberAnt.เดือนคู่Example:คนไทยไม่จัดงานมงคลสมรสในเดือนคี่Thai Definition:เดือนที่มีจำนวนคี่ คือ เดือนอ้าย เดือน 3 เดือน 5 เดือน 7 เดือน 9 เดือน 11, คู่กับ เดือนคู่
(n)month of even numberExample:คนไทยนิยมจัดงานวิวาห์ในเดือนคู่Thai Definition:เดือนที่มีจำนวนคู่ คือ เดือนยี่ เดือน 4 เดือน 6 เดือน 8 เดือน 12 เดือน 12, คู่กับ เดือนคี่
(n)number standing on the top lineSee Also:top line, summand, minuend, dividend, multiplicand, responsible oneExample:เอาเลข 9 เป็นตัวตั้งแล้วเอาเลข 3 มาหารUnit:ตัวThai Definition:จำนวนเลขที่ตั้งไว้ก่อนสำหรับบวกลบคูณหาร
(n)timberSee Also:wood lumberSyn.ไม้Example:เขาแต่งตัวไม้พวกนี้เพื่อคุมเข้าเป็นเรือนไทยUnit:ตัว, แผ่นThai Definition:ไม้ที่แต่งไว้เพื่อคุมกันเข้าเป็นเรือนเป็นต้น
(n)principle personSee Also:responsible person, core number, mainstay, central figureSyn.ตัวดำเนินการ, ผู้ดำเนินการExample:ท่านรองอธิการบดีตอบตกลงเป็นตัวตั้งตัวตีในการหารายได้สมทบทุนมูลนิธิเด็กปัญญาอ่อนUnit:คนThai Definition:ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการทำกิจกรรมต่างๆ, ผู้ที่ตั้งตัวเป็นหัวหน้าในการทำงานอย่างออกหน้าออกตา
(n)numberSee Also:figure, digitSyn.จำนวนExample:ตัวเลขคนว่างงานมีจำนวนสูงมากขึ้น ประมาณว่าขณะนี้เลย 3 ล้านคนไปแล้วUnit:ตัวThai Definition:สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง เช่น 12 53 VIII
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[Ai.Ēs.Bī.En.] (x) EN: ISBN (International Standard Book Number)  FR: ISBN [ m ]
[ājāt] (n) EN: cucumber slices and onions in vinegar ; pickles  FR: achards [ mpl ] ; concombre et oignon macérés dans du vinaigre
[anukrom ekkasān] (n, exp) EN: reference number of a document ; serial number of a document  FR: référence de document [ f ]
[boē] (n) EN: number  FR: numéro [ m ]
[boē bān] (n, exp) EN: home number
[boē faēk] (n, exp) EN: fax number
[boē thōrasap] (n, exp) EN: telephone number  FR: numéro de téléphone [ m ]
[boē thōrasap thī thamngān] (n, exp) EN: work number
[chabap thī ...] (x) EN: number ... ; issue ... (+ number)  FR: numéro ... (+ nb) ; édition ... (+ nb)
[chang prapā] (n) EN: plumber  FR: plombier [ m ]
[chang thø] (n, exp) EN: plumber  FR: plombier [ m ]
[chang wāng thø] (n, exp) EN: plumber  FR: plombier [ m ]
[deūoen khī] (n, exp) EN: month of odd number  FR: mois impair [ m ]
[deūoen khū] (n, exp) EN: month of even number  FR: mois pair [ m ]
[ēkka-] (pref, (adj)) EN: first ; number one ; principal ; top ; leading ; primary ; major ; high ; great ; special ; particular ; single ; solitary
[fak khāo] (n, exp) EN: Spring Bitter Cucumber
[hak banchī] (v, exp) EN: debit (one's account); deduct from one's account ; put one's account ; make a partial payment ; make an auto payment through account number ; pay by withdrawing the amount of money in the bank  FR: solder un compte
[hūay theūoen] (n, exp) EN: illegal lottery ; umbers game  FR: pari illégal [ m ] ; loterie illégale [ f ]
[jamkat jamnūan] (v, exp) EN: limit the number of  FR: limiter le nombre de
[jamkat jamnūan phūdōisān] (xp) EN: limit the number of passengers  FR: limiter le nombre de passagers
[jamnūan] (n) EN: total ; amount ; quantity ; number ; sum ; circulation  FR: nombre [ m ] ; total [ m ] ; somme [ f ] ; quantité [ f ] ; tirage [ m ]
[jamnūan atakkaya] (n, exp) EN: irrational number  FR: nombre irrationnel [ m ]
[jamnūan būak] (n, exp) EN: positive number  FR: nombre positif [ m ]
[jamnūan chalīa] (n, exp) EN: average number ; average amount
[jamnūan chaphǿ] (n, exp) EN: prime number  FR: nombre premier [ m ]
[jamnūan choēngsøn] (n, exp) EN: complex number  FR: nombre complexe [ m ]
[jamnūan hā lak] (n, exp) EN: five-digit number  FR: nombre de cinq chiffres [ m ]
[jamnūan jing] (n, exp) EN: real number ; rational number  FR: nombre réel [ m ]
[jamnūan jing būak] (n, exp) EN: positive real number  FR: nombre réel positif [ m ]
[jamnūan jing lop] (n, exp) EN: negative real number  FR: nombre réel négatif [ m ]
[jamnūan jintaphāp] (n, exp) EN: imaginary number  FR: nombre imaginaire [ m ]
[jamnūan jintaphāp thaē] (n, exp) EN: real imaginary number
[jamnūan kamlang sām] (n, exp) EN: cube number  FR: nombre cubique [ m ]
[jamnūan kamlang søng] (n, exp) EN: square number  FR: nombre carré [ m ]
[jamnūan khī] (n, exp) EN: odd number  FR: nombre impair [ m ]
[jamnūan khla] (n, exp) EN: mixed number
[jamnūan khū] (n, exp) EN: even number  FR: nombre pair [ m ]
[jamnūan lēkkhanit] (n, exp) EN: arithmetic number   FR: nombre arithmétique [ m ]
[jamnūan lop] (n, exp) EN: negative number  FR: nombre négatif [ m ]
[... jamnūan māk] (n, exp) EN: a great number of ; a lot of ; a large number of ; fthe majority ; most ; many ; numerous  FR: la majorité de ; la plupart de ; un grand nombre de ; beaucoup de
[jamnūan nap] (n, exp) EN: counting number ; natural number ; digit  FR: nombre cardinal [ m ] ; nombres cardinaux [ mpl ] ; cardinaux [ mpl ] ; nombre entier naturel [ m ]
[jamnūan phaēndigitan] (n, exp) EN: pandigital number
[jamnūan phūdōisān] (n, exp) EN: number of passengers  FR: nombre de passagers [ m ] ; nombre de voyageurs [ m ]
[jamnūan prakøp] (n, exp) EN: composite number
[jamnūan rabu thit thāng] (n, exp) EN: directed numbers
[jamnūan sāmlīem] (n, exp) EN: triangular number
[jamnūan sombūn] (n, exp) EN: perfect number  FR: nombre parfait [ m ]
[jamnūan takkaya] (n, exp) EN: rational number  FR: nombre rationnel [ m ]
[jamnūan tem] (n, exp) EN: integer ; whole number ; fixed point number  FR: entier [ m ] ; nombre entier [ m ]
[jamnūan tem būak] (n, exp) EN: positive integer ; natural number ; counting number   FR: entier positif [ m ] ; nombre entier positif [ m ]
CMU Pronouncing Dictionary
Oxford Advanced Learners Dictionary
WordNet (3.0)
(n)root of an algebraic equation with rational coefficients
(n)the order of an element in Mendeleyev's table of the elements; equal to the number of protons in the nucleus or electrons in the neutral state of an atom of an element
(n)the number of molecules in a mole of a substance (approximately 602, 250, 000, 000, 000, 000, 000, 000)Syn.Avogadro number
(n)an identification number consisting of a two-part code assigned to banks and savings associations; the first part shows the location and the second identifies the bank itselfSyn.BIN, ABA transit number
(n)a number equal to the difference between the number of baryons and the number of antibaryons in any subatomic structure; it is conserved in all types of particle interactions
(n)a mailing address to which answers to a newspaper ad can be sent
(n)measure of the hardness of a material
(n)dark brown pigment obtained by heating umber
(n)the number of elements in a mathematical set; denotes a quantity but not the orderSyn.cardinal
(n)a thickset spaniel with longish silky hairSyn.clumber spaniel
(n)(mathematics) a number of the form a+bi where a and b are real numbers and i is the square root of -1Syn.imaginary number, complex quantity, imaginary
(n)an integer that is divisible without remainder by at least one positive integer other than itself and one
(n)a quantity expressed in two different units
(n)a melon vine of the genus Cucumis; cultivated from earliest times for its cylindrical green fruitSyn.cucumber vine, Cucumis sativus
(n)cylindrical green fruit with thin green rind and white flesh eaten as a vegetable; related to melonsSyn.cuke
(adj)shaped like a cucumber
(n)American deciduous magnolia having large leaves and fruit like a small cucumberSyn.Magnolia acuminata
(n)English general; son of George II; fought unsuccessfully in the battle of Fontenoy (1721-1765)Syn.Butcher Cumberland, Duke of Cumberland, William Augustus
(n)a river that rises in southeastern Kentucky and flows westward through northern Tennessee to become a tributary of the Ohio River in southwestern KentuckySyn.Cumberland River
(n)a pass through the Cumberland Mountains between Virginia and Kentucky that early settlers used in order to move west
(n)the southwestern part of the AppalachiansSyn.Cumberland Plateau
(adj)difficult to handle or use especially because of size or weightSyn.cumbrous
(n)a positional system of numeration that uses duodecimal digits and a radix of twelveSyn.duodecimal system
(n)a number in the Fibonacci sequence
(n)a number represented in fixed-point notation
(n)a number represented in floating-point notation
(n)a positional system of numeration that uses hexadecimal digits and a radix of sixteenSyn.hexadecimal system, sexadecimal number system
(n)an estuary in central northeastern England formed by the Ouse River and the Trent River
(n)a suspension bridge at Hull, England; 4, 626 feet long
(n)a real number that cannot be expressed as a rational numberSyn.irrational
(n)the number on the license plate that identifies the car that bears itSyn.registration number
(n)the wood of trees cut and prepared for use as building materialSyn.timber
(v)move heavily or clumsilySyn.pound
(n)the trade of cutting or preparing or selling timber
(n)a short warm outer jacketSyn.lumber jacket
(n)a person who fells treesSyn.faller, feller, lumberjack, logger
(n)a mill for dressing logs and lumberSyn.sawmill
(n)a storeroom in a house where odds and ends can be stored (especially furniture)
(n)a workplace where lumber is stocked for sale
(n)the ratio of the speed of a moving body to the speed of sound
(n)the atomic number of an extra stable strongly bound atomic nucleus: 2, 8, 20, 28, 50, 82 or 126
(n)the sum of the number of neutrons and protons in an atomic nucleusSyn.nucleon number
(n)the number 1 and any other number obtained by adding 1 to it repeatedly
(n)the northernmost county of England; has many Roman remains (including Hadrian's Wall)
(n)the property possessed by a sum or total or indefinite quantity of units or individualsSyn.figure
(n)a concept of quantity involving zero and units
(n)a select company of people
(n)a numeral or string of numerals that is used for identificationSyn.identification number
(n)a clothing measurement
(n)the grammatical category for the forms of nouns and pronouns and verbs that are used depending on the number of entities involved (singular or dual or plural)
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

v. t. To encumber. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ]

n. A number that precedes another. [ R. ] Bacon. [ 1913 Webster ]

{ } v. t. [ Pref. be- + scumber, scummer. ] To discharge ordure or dung upon. [ Obs. ] B. Jonson. [ 1913 Webster ]

n. the mailing address to which answers to a newspaper ad can be sent. [ WordNet 1.5 ]

n. [ Named from the estate of the Duke of Newcastle. ] (Zool.) A kind of field spaniel, with short legs and stout body, which, unlike other spaniels, hunts silently. [ 1913 Webster ]

n. [ OE. cucumer, cocumber, cucumber, fr. L. cucmis, gen.cucumeris; cf. OF. cocombre, F. concombre. ] (Bot.) A creeping plant, and its fruit, of several species of the genus Cucumis, esp. Cucumis sativus, the unripe fruit of which is eaten either fresh or picked. Also, similar plants or fruits of several other genera. See below. [ 1913 Webster ]


Bitter cucumber (Bot.), the Citrullus Colocynthis syn. Cucumis Colocynthis. See Colocynth. --
Cucumber beetle. (Zool.) (a) A small, black flea-beetle (Crepidodera cucumeris), which destroys the leaves of cucumber, squash, and melon vines. (b) The squash beetle. --
Cucumber tree. (a) A large ornamental or shade tree of the genus Magnolia (Magnolia acuminata), so called from a slight resemblance of its young fruit to a small cucumber. (b) An East Indian plant (Averrhoa Bilimbi) which produces the fruit known as bilimbi. --
Jamaica cucumber,
Jerusalem cucumber
, the prickly-fruited gherkin (Cucumis Anguria). --
Snake cucumber, a species (Cucumis flexuosus) remarkable for its long, curiously-shaped fruit. --
Squirting cucumber, a plant (Ecbalium Elaterium) whose small oval fruit separates from the footstalk when ripe and expels its seeds and juice with considerable force through the opening thus made. See Elaterium. --
Star cucumber, a climbing weed (Sicyos angulatus) with prickly fruit.
[ 1913 Webster ]

v. t. [ imp. & p. p. Cumbered p. pr. & vb. n. Cumbering. ] [ OE. combren, cumbren, OF. combrer to hinder, from LL. cumbrus a heap, fr. L. cumulus; cf. Skr. &unr_;&unr_; to increase, grow strong. Cf. Cumulate. ] To rest upon as a troublesome or useless weight or load; to be burdensome or oppressive to; to hinder or embarrass in attaining an object, to obstruct or occupy uselessly; to embarrass; to trouble. [ 1913 Webster ]

Why asks he what avails him not in fight,
And would but cumber and retard his flight? Dryden. [ 1913 Webster ]

Martha was cumbered about much serving. Luke x. 40. [ 1913 Webster ]

Cut it down; why cumbereth it the ground? Luke xiii. 7. [ 1913 Webster ]

The multiplying variety of arguments, especially frivolous ones, . . . but cumbers the memory. Locke. [ 1913 Webster ]

n. [ Cf. encombre hindrance, impediment. See Cuber, v. ] Trouble; embarrassment; distress. [ Obs. ] [ Written also comber. ] [ 1913 Webster ]

A place of much distraction and cumber. Sir H. Wotton. [ 1913 Webster ]

Sage counsel in cumber. Sir W. Scott. [ 1913 Webster ]

prop. n. a tributary of the Ohio River.
Syn. -- . [ WordNet 1.5 ]

a. 1. Burdensome or hindering, as a weight or drag; embarrassing; vexatious; cumbrous. [ 1913 Webster ]

To perform a cumbersome obedience. Sir. P. Sidney. [ 1913 Webster ]

2. Not easily managed; as, a cumbersome contrivance or machine. [ 1913 Webster ]

He holds them in utter contempt, as lumbering, cumbersome, circuitous. I. Taylor.

-- Cum"ber*some*ly, adv. -- Cum"ber*some*ness, n. [ 1913 Webster ]

v. t. [ Pref. dis- + cumber: cf. OF. descombrer. ] To free from that which cumbers or impedes; to disencumber. [ Archaic ] Pope. [ 1913 Webster ]

v. t. [ imp. & p. p. Disencumbered p. pr. & vb. n. Disencumbering. ] [ Pref. dis- + encumber: cf. F. désencombrer. ] To free from encumbrance, or from anything which clogs, impedes, or obstructs; to disburden. Owen. [ 1913 Webster ]

I have disencumbered myself from rhyme. Dryden. [ 1913 Webster ]

v. t. [ imp. & p. p. Encumbered p. pr. & vb. n. Encumbering. ] [ F. encombrer; pref. en- (L. in) + OF. combrer to hinder. See Cumber, and cf. Incumber. ] [ Written also incumber. ] 1. To impede the motion or action of, as with a burden; to retard with something superfluous; to weigh down; to obstruct or embarrass; as, his movements were encumbered by his mantle; his mind is encumbered with useless learning. [ 1913 Webster ]

Not encumbered with any notable inconvenience. Hooker. [ 1913 Webster ]

2. To load with debts, or other legal claims; as, to encumber an estate with mortgages.

Syn. -- To load; clog; oppress; overload; embarrass; perplex; hinder; retard; obstruct; check; block. [ 1913 Webster ]

n. [ Cf. F. encombrement. ] Encumbrance. [ R. ] [ 1913 Webster ]

v. t. [ imp. & p. p. Incumbered p. pr. & vb. n. Incumbering. ] See Encumber. [ 1913 Webster ]

v. i. 1. To move heavily, as if burdened. [ 1913 Webster ]

2. [ Cf. dial. Sw. lomra to resound. ] To make a sound as if moving heavily or clumsily; to rumble. Cowper. [ 1913 Webster ]

3. To cut logs in the forest, or prepare timber for market. [ U.S. ] [ 1913 Webster ]

n. [ Prob. fr. Lombard, the Lombards being the money lenders and pawnbrokers of the Middle Ages. A lumber room was, according to Trench, originally a Lombard room, or room where the Lombard pawnbroker stored his pledges. See Lombard. ] 1. A pawnbroker's shop, or room for storing articles put in pawn; hence, a pledge, or pawn. [ Obs. ] [ 1913 Webster ]

They put all the little plate they had in the lumber, which is pawning it, till the ships came. Lady Murray. [ 1913 Webster ]

2. Old or refuse household stuff; things cumbrous, or bulky and useless, or of small value. [ 1913 Webster ]

3. Timber sawed or split into the form of beams, joists, boards, planks, staves, hoops, etc.; esp., that which is smaller than heavy timber. [ U.S. ] [ 1913 Webster ]


Lumber kiln, a room in which timber or lumber is dried by artificial heat. [ U.S. ] --
Lumber room, a room in which unused furniture or other lumber is kept. [ U.S. ] --
Lumber wagon, a heavy rough wagon, without springs, used for general farmwork, etc. --
dimensional lumber, lumber, usually of pine, which is sold as beams or planks having a specified nominal cross-section, usually in inches, such a two-by-four, two-by-six, four-by-four, etc.
[ 1913 Webster +PJC ]

v. t. [ imp. & p. p. Lumbered p. pr. & vb. n. Lumbering. ] 1. To heap together in disorder. “ Stuff lumbered together.” Rymer. [ 1913 Webster ]

2. To fill or encumber with lumber; as, to lumber up a room. [ 1913 Webster ]

n. One employed in lumbering, cutting, and getting logs from the forest for lumber; a lumberman. [ U.S. ] [ 1913 Webster ]

Lumberers have a notion that he (the woodpecker) is harmful to timber. Lowell. [ 1913 Webster ]

n. The business of cutting or getting timber or logs from the forest for lumber. [ U.S. ] [ 1913 Webster ]

n. 1. a person who works at lumbering; a lumberman.
Syn. -- lumberman, timberman. [ WordNet 1.5 ]

2. (Zool.) The grey jay. [ Canadian ] [ PJC ]

n.; pl. Lumbermen One who is engaged in lumbering as a business or employment. [ U.S. ] [ 1913 Webster ]

. Maine; -- a nickname. [ Webster 1913 Suppl. ]

n. (aeronautics) The ratio of the speed of a moving body to the speed of sound. [ WordNet 1.5 ]

v. t. To number wrongly. [ 1913 Webster ]

n. The sum of the number of neutrons and protons in an atomic nucleus. Syn. -- mass number. [ WordNet 1.5 +PJC ]

n. [ OE. nombre, F. nombre, L. numerus; akin to Gr. no`mos that which is dealt out, fr. ne`mein to deal out, distribute. See Numb, Nomad, and cf. Numerate, Numero, Numerous. ] 1. That which admits of being counted or reckoned; a unit, or an aggregate of units; a numerable aggregate or collection of individuals; an assemblage made up of distinct things expressible by figures. [ 1913 Webster ]

2. A collection of many individuals; a numerous assemblage; a multitude; many. [ 1913 Webster ]

Ladies are always of great use to the party they espouse, and never fail to win over numbers. Addison. [ 1913 Webster ]

3. A numeral; a word or character denoting a number; as, to put a number on a door. [ 1913 Webster ]

4. Numerousness; multitude. [ 1913 Webster ]

Number itself importeth not much in armies where the people are of weak courage. Bacon. [ 1913 Webster ]

5. The state or quality of being numerable or countable. [ 1913 Webster ]

Of whom came nations, tribes, people, and kindreds out of number. 2 Esdras iii. 7. [ 1913 Webster ]

6. Quantity, regarded as made up of an aggregate of separate things. [ 1913 Webster ]

7. That which is regulated by count; poetic measure, as divisions of time or number of syllables; hence, poetry, verse; -- chiefly used in the plural. [ 1913 Webster ]

I lisped in numbers, for the numbers came. Pope. [ 1913 Webster ]

8. (Gram.) The distinction of objects, as one, or more than one (in some languages, as one, or two, or more than two), expressed (usually) by a difference in the form of a word; thus, the singular number and the plural number are the names of the forms of a word indicating the objects denoted or referred to by the word as one, or as more than one. [ 1913 Webster ]

9. (Math.) The measure of the relation between quantities or things of the same kind; that abstract species of quantity which is capable of being expressed by figures; numerical value. [ 1913 Webster ]


Abstract number,
Abundant number,
Cardinal number
, etc. See under Abstract, Abundant, etc. --
In numbers, in numbered parts; as, a book published in numbers.
[ 1913 Webster ]

v. t. [ imp. & p. p. Numbered p. pr & vb. n. Numbering. ] [ OE. nombren, noumbren, F. nombrer, fr. L. numerare, numeratum. See Number, n. ] [ 1913 Webster ]

1. To count; to reckon; to ascertain the units of; to enumerate. [ 1913 Webster ]

If a man can number the dust of the earth, then shall thy seed also be numbered. Gen. xiii. 16. [ 1913 Webster ]

2. To reckon as one of a collection or multitude. [ 1913 Webster ]

He was numbered with the transgressors. Is. liii. 12. [ 1913 Webster ]

3. To give or apply a number or numbers to; to assign the place of in a series by order of number; to designate the place of by a number or numeral; as, to number the houses in a street, or the apartments in a building. [ 1913 Webster ]

4. To amount; to equal in number; to contain; to consist of; as, the army numbers fifty thousand. [ 1913 Webster ]

Thy tears can not number the dead. Campbell. [ 1913 Webster ]


Numbering machine, a machine for printing consecutive numbers, as on railway tickets, bank bills, etc.
[ 1913 Webster ]

Syn. -- To count; enumerate; calculate; tell. [ 1913 Webster ]

n. One who numbers. [ 1913 Webster ]

a. Numerous. [ Obs. ] [ 1913 Webster ]

a. Innumerable; countless. [ 1913 Webster ]

a. Numerous. [ Obs. ] Drant. [ 1913 Webster ]

prop. n. pl. of Number. The fourth book of the Pentateuch, containing the census of the Hebrews. [ 1913 Webster ]

v. t. To exceed in number; as, the garrison was badly outnumbered by the attacking forces. [ 1913 Webster ]

n. [ F. plombier. See Plumb. ] One who works in lead; esp., one who furnishes, fits, and repairs lead pipes. [ 1913 Webster ]

2. Hence: Any worker who installs or repairs piping and related equipment for conveyance of water, gas, or drainage into or out of buildings, or within buildings to fixtures or equipment using water. The type of material used for the conduits varies with the application, and may be may be of lead, iron, copper, glass, palstic, or other material. [ PJC ]

A pillow block. [ 1913 Webster ]

n. [ F. plomberie. ] 1. The business of a plumber. [ Obs. ] [ 1913 Webster ]

2. A place where plumbing is carried on; lead works. [ 1913 Webster ]

v. i. [ Cf. Discumber. ] To void excrement. [ Obs. or Prov. Eng. ] Massinger. [ 1913 Webster ]

n. Dung. [ Obs. or Prov. Eng. ] [ 1913 Webster ]

(Zool.) Any large holothurian, especially one of those belonging to the genus Pentacta, or Cucumaria, as the common American and European species. (Pentacta frondosa). [ 1913 Webster ]

v. i. [ imp. & p. p. Slumbered p. pr. & vb. n. Slumbering. ] [ OE. slombren, slumberen, slumeren, AS. slumerian, fr. sluma slumber; akin to D. sluimeren to slumber, MHG. slummern, slumen, G. schlummern, Dan. slumre, Sw. slumra, Goth. slawan to be silent. ] 1. To sleep; especially, to sleep lightly; to doze. Piers Plowman. [ 1913 Webster ]

He that keepeth Israel shall neither slumber nor sleep. Ps. cxxi. 4. [ 1913 Webster ]

2. To be in a state of negligence, sloth, supineness, or inactivity. “Why slumbers Pope?” Young. [ 1913 Webster ]

v. t. 1. To lay to sleep. [ R. ] Wotton. [ 1913 Webster ]

2. To stun; to stupefy. [ Obs. ] Spenser. [ 1913 Webster ]

n. Sleep; especially, light sleep; sleep that is not deep or sound; repose. [ 1913 Webster ]

He at last fell into a slumber, and thence into a fast sleep, which detained him in that place until it was almost night. Bunyan. [ 1913 Webster ]

Fast asleep? It is no matter;
Enjoy the honey-heavy dew of slumber. Shak. [ 1913 Webster ]

Rest to my soul, and slumber to my eyes. Dryden. [ 1913 Webster ]

n. One who slumbers; a sleeper. [ 1913 Webster ]

adv. In a slumbering manner. [ 1913 Webster ]

a. Without slumber; sleepless. [ 1913 Webster ]

a. 1. Inviting slumber; soporiferous. “Pensive in the slumberous shade.” Pope. [ 1913 Webster ]

2. Being in the repose of slumber; sleepy; drowsy. [ 1913 Webster ]

His quiet and almost slumberous countenance. Hawthorne. [ 1913 Webster ]

a. Sleepy. [ Obs. ] Chaucer. [ 1913 Webster ]

n. [ F. ombre ocherous ore of iron, terre d'ombre, It. terra d'ombra, literally, earth of shadow or shade, L. umbra shadow, shade. Cf. Umber, 3 & 4, Umbrage. ] 1. (Paint.) A brown or reddish pigment used in both oil and water colors, obtained from certain natural clays variously colored by the oxides of iron and manganese. It is commonly heated or burned before being used, and is then called burnt umber; when not heated, it is called raw umber. See Burnt umber, below. [ 1913 Webster ]

2. An umbrere. [ Obs. ] [ 1913 Webster ]

3. [ F. ombre, umbre, L. umbra. ] (Zool.) See Grayling, 1. [ 1913 Webster ]

4. [ Cf. NL. scopus umbretta, F. ombrette; probably fr. L. umbra shade, in allusion to its dark brown color. See Umber a pigment. ] (Zool.) An African wading bird (Scopus umbretta) allied to the storks and herons. It is dull dusky brown, and has a large occipital crest. Called also umbrette, umbre, and umber bird. [ 1913 Webster ]


Burnt umber (Paint.), a pigment made by burning raw umber, which is changed by this process from an olive brown to a bright reddish brown. --
Cologne umber, or
German umber
, a brown pigment obtained from lignite. See Cologne earth.
[ 1913 Webster ]

a. Of or pertaining to umber; resembling umber; olive-brown; dark brown; dark; dusky. [ 1913 Webster ]

Their harps are of the umber shade
That hides the blush of waking day. J. R. Drake. [ 1913 Webster ]

CC-CEDICT CN-EN Dictionary
[, , ㄉㄧˋ](prefix indicating ordinal number, e.g. first, number two etc)#1[Add to Longdo]
[ / , cháng, ㄔㄤˊ]threshing floor; classifier for events and happenings; classifier for number of some languages and actions (cannot be followed by a noun)#247[Add to Longdo]
[ / , chǎng, ㄔㄤˇ]a place; an open space; a field; a courtyard; classifier for events such as sports matches, concerts, or cultural events; classifier for number of exams#247[Add to Longdo]
[ / , hào, ㄏㄠˋ]day of a month; (suffix used after) name of a ship; (ordinal) number#260[Add to Longdo]
[, jīn, ㄐㄧㄣ]gold Au, transition metal, atomic number 79; metal; money; the Jurchen Jin dynasty (1115-1234); surname Jin or Kim#473[Add to Longdo]
[ / , shù, ㄕㄨˋ]number; figure; to count; to calculate; several#607[Add to Longdo]
[ , duō shǎo, ㄉㄨㄛ ㄕㄠˇ]number; amount; somewhat#694[Add to Longdo]
[ , duō shao, ㄉㄨㄛ ㄕㄠ˙]how much; how many; which (number); as much as#694[Add to Longdo]
[  /  , shù jù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ]data; numbers; digital; also written 數據|数据#804[Add to Longdo]
[  /  , shù jù, ㄕㄨˋ ㄐㄩˋ]data; numbers; digital#804[Add to Longdo]
[ / , men, ㄇㄣ˙]plural marker for pronouns and a small number of animate nouns#806[Add to Longdo]
[, bàn, ㄅㄢˋ]half; semi-; incomplete; (after a number) and a half#844[Add to Longdo]
[  , dì yī cì, ㄉㄧˋ ㄧ ㄘˋ]the first time; first; number one#965[Add to Longdo]
[ / , léi, ㄌㄟˊ]cumbersome#1175[Add to Longdo]
[ / , yín, ㄧㄣˊ]silver Ag, transition metal, atomic number 47#1371[Add to Longdo]
[  /  , shù zì, ㄕㄨˋ ㄗˋ]numeral; digit; number; figure; amount; digital (electronics etc)#1510[Add to Longdo]
[ / , qīng, ㄑㄧㄥ]light; easy; gentle; soft; reckless; unimportant; frivolous; small in number; unstressed; neutral#1593[Add to Longdo]
[ / , tiě, ㄊㄧㄝˇ]iron Fe, transition metal, atomic number 26#1866[Add to Longdo]
[, , ㄐㄧ]odd (number)#1876[Add to Longdo]
[  /  , rén shù, ㄖㄣˊ ㄕㄨˋ]number of people#1918[Add to Longdo]
[ / , tóng, ㄊㄨㄥˊ]copper Cu, transition metal, atomic number 29#2027[Add to Longdo]
[ , zuì duō, ㄗㄨㄟˋ ㄉㄨㄛ]at most; maximum; largest (number of sth); the most#2090[Add to Longdo]
[, dòng, ㄉㄨㄥˋ]cave; hole; zero (unambiguous spoken form when spelling out numbers)#2752[Add to Longdo]
[  /  , wú shù, ㄨˊ ㄕㄨˋ]countless; numberless; innumerable#3013[Add to Longdo]
[  /  , shù mǎ, ㄕㄨˋ ㄇㄚˇ]number; numerals; figures; digital; amount; numerical code#3169[Add to Longdo]
[  /  , hào mǎ, ㄏㄠˋ ㄇㄚˇ]number#3252[Add to Longdo]
[  , dì èr cì, ㄉㄧˋ ㄦˋ ㄘˋ]the second time; second; number two#3296[Add to Longdo]
[ / , , ㄇㄚˇ]a weight; number; yard (unit of length equal to 0.914 m.); pile; stack#3378[Add to Longdo]
[ / , , ㄌㄩˇ]aluminum Al, metal, atomic number 13#3564[Add to Longdo]
[  /  , shǎo shù, ㄕㄠˇ ㄕㄨˋ]small number; few; minority#3786[Add to Longdo]
[, zhāng, ㄓㄤ]chapter; seal; section; movement (of symphony); camphor laurel tree; lumber; surname Zhang#3805[Add to Longdo]
[ , zēng duō, ㄗㄥ ㄉㄨㄛ]to increase; to grow in number#4134[Add to Longdo]
[ , ruò gān, ㄖㄨㄛˋ ㄍㄢ]a certain number or amount of#4251[Add to Longdo]
[ / , gài, ㄍㄞˋ]calcium Ca, alkaline earth, atomic number 20#4390[Add to Longdo]
[ , shuì mián, ㄕㄨㄟˋ ㄇㄧㄢˊ]sleeping; slumber#4439[Add to Longdo]
[  /  , mì mǎ, ㄇㄧˋ ㄇㄚˇ]code; secret code; password; pin number#4491[Add to Longdo]
[, yǎng, ㄧㄤˇ]oxygen O, atomic number 8#4509[Add to Longdo]
[ , dài tì, ㄉㄞˋ ㄊㄧˋ]instead; to replace; to substitute (X for Y, or a number in an algebraic expression)#4780[Add to Longdo]
[ , háng bān, ㄏㄤˊ ㄅㄢ]scheduled flight; flight number; plane; scheduled sailing; sailing number; passenger ship#4809[Add to Longdo]
[  /  , cì shù, ㄘˋ ㄕㄨˋ]frequency; number of times; ordinal number#5689[Add to Longdo]
[  /  , dān yuán, ㄉㄢ ㄩㄢˊ]unit; entrance number; staircase (for residential buildings)#5980[Add to Longdo]
[ / , xīn, ㄒㄧㄣ]zinc Zn, transition metal, atomic number 30#6119[Add to Longdo]
[ , wǔ gōng, ㄨˇ ㄍㄨㄥ]Martial art; military achievement (e.g. number of enemy heads cut off)#6157[Add to Longdo]
[  /  , hù kǒu, ㄏㄨˋ ㄎㄡˇ]population (counted as number of households for census or taxation); registered residence#6502[Add to Longdo]
[ / , , ㄋㄚˋ]sodium Na, alkali metal 鹼性金屬|碱性金属 with atomic number 11#6688[Add to Longdo]
[  /  , xíng hào, ㄒㄧㄥˊ ㄏㄠˋ]model number#6763[Add to Longdo]
[  /  , shù é, ㄕㄨˋ ㄜˊ]amount; sum of money; fixed number#7023[Add to Longdo]
[ / , qiān, ㄑㄧㄢ]lead Pb, metal, atomic number 82#7204[Add to Longdo]
[, lín, ㄌㄧㄣˊ]phosphorus P, nonmetal, atomic number 15; water in rocks#7431[Add to Longdo]
[  /  , biān hào, ㄅㄧㄢ ㄏㄠˋ]number; serial number#7622[Add to Longdo]
Saikam JP-TH-EN Dictionary
[すう, suu] TH: จำนวน
[すう, suu] EN: number
番号
[ばんごう, bangou] TH: หมายเลข
番号
[ばんごう, bangou] EN: number
減る
[へる, heru] TH: ลดลง
減る
[へる, heru] EN: to decrease (in size or number)
[ごう, gou] TH: หมายเลข
[ごう, gou] EN: number
足す
[たす, tasu] TH: บวก(เลข)
足す
[たす, tasu] EN: to add (numbers)
DING DE-EN Dictionary
Abnahmezahl { f }
acceptance number[Add to Longdo]
Abstellkammer { f }; Abstellraum { m }
storeroom; lumber room[Add to Longdo]
Adressennummer { f }; Adressatennummer { f }
address number[Add to Longdo]
Aggregatnummer { f }
aggregate number[Add to Longdo]
Aktenzeichen { n }
file number; serial number[Add to Longdo]
Aktenzeichen { n }
reference number[Add to Longdo]
Aktivierungsnummer { f }
activation number[Add to Longdo]
Anlagennummer { f }
asset number[Add to Longdo]
Anlagennummerierung { f }
system numbering[Add to Longdo]
Anzahl { f }; Reihe { f } (von) | eine ganze Anzahl Leute | eine große Auswahl von
number (of) | quite a number of people | a wide range of[Add to Longdo]
Archivnummer { f }
archive number[Add to Longdo]
Archivnummernvergleich { m }
archive number comparison[Add to Longdo]
Artenzahl { f }
number of species[Add to Longdo]
Artikelkontonummer { f }
article account number[Add to Longdo]
Artikelnummerkriterium { n }
article number criterion[Add to Longdo]
Auftragsnummer { f }
order number[Add to Longdo]
seine Auserwählte
his number one girl[Add to Longdo]
ihr Auserwählter
her number one man[Add to Longdo]
Auskunftsrufnummer { f }
phone info number[Add to Longdo]
Ausweisnummer { f }
Autokennzeichen { n }; Kfz-Kennzeichen { n }; Nummernschild { n }
number plate; registration plate [ Br. ]; license plate [ Am. ][Add to Longdo]
Bankleitzahl { f }
bank code number; bank identification code; bank sorting code; bank routing number[Add to Longdo]
Bauholz { n } | Bauhölzer { pl }
timber; construction timber [ Am. ]; lumber | timbers; lumbers[Add to Longdo]
Benutzernummer { f }; Nutzernummer { f }
user number[Add to Longdo]
Bestellnummer { f }
order number[Add to Longdo]
Betriebsnummer { f }
road number[Add to Longdo]
Bildzahl { f }
number of exposures[Add to Longdo]
Bruchzahl { f }
fraction number[Add to Longdo]
Bruchzahlen { pl }
fraction numbers[Add to Longdo]
Buchnummer { f }
book number[Add to Longdo]
Buslinie { f } | Buslinie 42
bus route | bus number 42; the number 42 bus[Add to Longdo]
Bytenummer { f }
byte number[Add to Longdo]
Cetanzahl { f }
cetane number[Add to Longdo]
Chiffre { f }; Chiffrenummer { f } (in Anzeigen) | Chiffrenummern { pl } | Zuschriften unter Chiffre
box number | box numbers | reply quoting box number[Add to Longdo]
Debitorennummer { f }
accounts receivable number[Add to Longdo]
Dokumentennummer { f }; Dokumentenbezeichnungsnummer { f }
document number[Add to Longdo]
Doppelkreuz-Zeichen { n }
number sign; sharp; hash[Add to Longdo]
Drehzahl { f }
number of revolutions; number of revs[Add to Longdo]
Eigentum { n }; Besitz { m }; Grundbesitz { m }; Grundstück { n } | Eigentum { n }; Grundbesitze { pl } | geistiges Eigentum | gewerbliches Eigentum | Besitz erwerben; Eigentum erwerben | bewegliches Eigentum | unbewegliches Eigentum | unbelasteter Grundbesitz
property | properties | intellectual property | industrial property | to acquire property | moveables; movable property | immoveables; real property | unencumbered property[Add to Longdo]
Einwohnerzahl { f }
number of inhabitants; (total) population[Add to Longdo]
Fabrikationsnummer { f }; Fabrik-Nummer { f }
serial number[Add to Longdo]
Fehlernummer { f }
error number[Add to Longdo]
Fehlertextnummer { f }
error text number[Add to Longdo]
Festkommazahl { f }
fixed-point number[Add to Longdo]
Gemarkung { f }
cadastral number[Add to Longdo]
Gerümpel { n }; Kram { m }
Gesamtauflage { f } eines Buches
total number of copies published[Add to Longdo]
Gesetz der großen Zahlen [ math. ]
law of large numbers[Add to Longdo]
Gewinnzahl { f }
winning number[Add to Longdo]
Gleitkommazahl { f }
floating-point number[Add to Longdo]
EDICT JP-EN Dictionary
[とせ, tose](ctr) (arch) counter for years (following a number in the hito-futa-mi counting system)#5[Add to Longdo]
[つき, tsuki](n-suf) month (of the year); used after number or question word (e.g. nan or nani)#12[Add to Longdo]
[ごう, gou](n, n-suf) (1) number; edition; make; model; issue; part of that group; (2) sobriquet; pen-name; (P)#74[Add to Longdo]
[すう, suu](n) number; amount; (P)#162[Add to Longdo]
[すう, suu](pref) (1) several; a number of; (n) (2) number; numeral; figure; (3) destiny; fate; (4) law; (P)#162[Add to Longdo]
[め, me](n) (1) eye; eyeball; (2) (See 目が見える) eyesight; sight; vision; (3) look; stare; glance; (4) an experience; (5) viewpoint; (6) (See 編み目) stitch; texture; weave; (suf) (7) ordinal number suffix; (8) (See 大きめ) somewhat; -ish; (P)#185[Add to Longdo]
[ま, ma](n) (1) 1.818 m (6 shaku); (ctr) (2) counter used to number the gaps between pillars#202[Add to Longdo]
[たか(P);だか, taka (P); daka](n, n-suf) (usu. だか when n-suf) quantity; amount; volume; number; amount of money; (P)#331[Add to Longdo]
[だい, dai](n, n-suf) (1) charge; cost; price; (2) (See 台・だい・6) generation; age; reign; (3) (geological) era; (4) (after someone's name or title) a representative of; on behalf of; for (someone); (5) (See 代表電話番号) used after a phone number to indicate that it is a switchboard number; (ctr) (6) (See 台・だい・6) counter for decades of ages, eras, etc.; (7) counter for generations (of inheritors to a throne, etc.); (8) (abbr) (See 代理申請会社) proxy application company#376[Add to Longdo]
[ばんごう, bangou](n) number; series of digits; (P)#447[Add to Longdo]
[ばん, ban](n) (1) number (in a series); (2) (one's) turn; (3) watch; guard; lookout; (4) bout, match (sumo)#456[Add to Longdo]
[まさ, masa](n, n-pref) (1) (See 従・じゅ) greater (of equal court ranks); upper; senior; (2) (しょう only) (See 長官・かみ) director (highest of the four administrative positions of the ritsuryo period); chief; (pref) (3) (しょう only) (before a number) exactly; precisely#784[Add to Longdo]
[ていど, teido](n, n-adv, n-suf) degree; amount; grade; standard; of the order of (following a number); (P)#1176[Add to Longdo]
[たすう, tasuu](n-adv, n) (1) great number; (adj-no) (2) countless; majority; (P)#1187[Add to Longdo]
[せばんごう, sebangou](n) number on player's back; (P)#1281[Add to Longdo]
[あたい(値;価;價)(P);ね(値;直), atai ( atai ; atai ; atai )(P); ne ( atai ; choku )](n, adj-no) (1) price; cost; (2) value; worth; merit; (3) (あたい only) { math } value; count; number; (4) (あたい only) { comp } variable (computer programming, programing); (P)#1346[Add to Longdo]
[かいすう, kaisuu](n) number of times; frequency; count; (P)#1384[Add to Longdo]
[はん, han](n, n-pref) (1) half; semi-; (n, n-suf) (2) half-past; (n) (3) (See 丁・ちょう・4) odd number; (4) (arch) unit of land area (595.8 m^2); (P)#1495[Add to Longdo]
[じんいん, jin'in](n) number of persons; personnel; (P)#1496[Add to Longdo]
[の, no](n, n-suf, ctr) (after a number in the hito-, futa-, mi- counting system) unit of measurement for cloth breadth (30-38 cm)#1598[Add to Longdo]
[だいじ, daiji](n) (1) large character; (2) alternative kanji used for numbers#1779[Add to Longdo]
[ひとつがい, hitotsugai](n-adv) (1) best; first; number one; (2) game; round; bout; fall; event (in a meet); (P)#2107[Add to Longdo]
[ばんち, banchi](n) house number; address; (P)#2127[Add to Longdo]
[てい;ひのと, tei ; hinoto](ctr) (1) counter for sheets, pages, leaves, etc.; (2) counter for blocks of tofu; counter for servings in a restaurant; (3) (See 挺) counter for long and narrow things such as guns, scissors, spades, hoes, inksticks, palanquins, candles, jinrikishas, shamisen, oars, etc.; (n) (4) (See 半・はん・3) even number; (5) (See 町・3) 109.09 m#2197[Add to Longdo]
[なかび, nakabi](n) the middle day (esp. of a sumo tournament or play running for a set number of days)#2268[Add to Longdo]
[ばんめ, banme](n) cardinal number suffix; (P)#2345[Add to Longdo]
[nanba-](n) number; (P)#2459[Add to Longdo]
[とくひょう, tokuhyou](n, vs) number of votes polled; poll votes; (P)#2470[Add to Longdo]
[どめ, dome](suf) (after a number N) the Nth time#2564[Add to Longdo]
[だて, date](suf) (1) particularly; especially; (2) indicates the number of horses or oxen drawing a carriage; indicates the number of oars on a boat; (3) indicates the number of movies, plays, etc. comprising a single program; indicates the number of items or methods used#2980[Add to Longdo]
[にんずう(P);ひとかず, ninzuu (P); hitokazu](n) the number of people; (P)#3530[Add to Longdo]
[しゅう(P);しゅ, shuu (P); shu](n, n-suf) masses; great number; the people; (P)#3742[Add to Longdo]
[りょ, ryo](n) (1) (abbr) (See 甲・かん) bass range (in Japanese music); (2) (See 十二律, 律) six even-numbered notes of the ancient chromatic scale; (3) (See 呂旋) Japanese seven-tone gagaku scaleimilar to Mixolydian mode (corresponding to#4294[Add to Longdo]
[ていいん, teiin](n) fixed number of regular personnel; capacity (of boat, hall, aeroplane, airplane, etc.); (P)#4435[Add to Longdo]
[がけ, gake](suf, adj-no) (1) (after an article of clothing) -clad; (2) (uk) (after a -masu stem) in the midst of; (3) (after a number in the ichi, ni counting system) tenths; (4) (after a number in the hitotsu, futatsu counting system) times (i.e. multiplied by); (5) (after a number of people) able-to-seat (of a chair, etc.)#4502[Add to Longdo]
[みたす, mitasu](v5s, vt) (1) to satisfy; to fulfill; to appease; (2) to fill (e.g. a cup); to pack; (3) to reach (a certain number); (P)#4597[Add to Longdo]
[いんずう(P);いんず;いんじゅ(ok), inzuu (P); inzu ; inju (ok)](n) numbers of members (things, people); (P)#4679[Add to Longdo]
[そうすう, sousuu](n) total (number); count; (P)#4853[Add to Longdo]
[ひんばん, hinban](n) item's stock number#4998[Add to Longdo]
[ざい, zai](n, suf) (1) (See 材木) wood; lumber; timber; (2) (See 有為の材) man of talent; (3) (See 材料) (raw) material; ingredients#5028[Add to Longdo]
[じゃっかん(若干)(P);そこばく;そくばく;そこば(若干)(ok), jakkan ( jakkan )(P); sokobaku ; sokubaku ; sokoba ( jakkan )(ok)](n, adj-no) (1) some; few; a number of; a little (bit); (n-adv) (2) somewhat; to a certain extent; (adj-no, n-adv, n) (3) (そこばく, そくばく, そこば only) (arch) many; a lot; (P)#5080[Add to Longdo]
[てい, tei](n) (1) base (logarithmic, exponential, number system); radix; (2) base (triangle, cone, cylinder, etc.); (3) (arch) type; kind; extent; degree#5288[Add to Longdo]
[ばんせん, bansen](n) track number#5564[Add to Longdo]
[かずおおく, kazuooku](exp, adv) in great numbers; (P)#5684[Add to Longdo]
[きょくばん, kyokuban](n) telephone exchange number; (P)#5721[Add to Longdo]
[しすう, shisuu](n) index; index number; exponent (e.g. in floating-point representation); characteristic; (P)#6019[Add to Longdo]
[にほんいち(P);にっぽんいち, nihon'ichi (P); nippon'ichi](n, adj-no) Japan's best; number one in Japan; (P)#6120[Add to Longdo]
[かずかず, kazukazu](n-adv, adj-no) (See 数々・しばしば) many; numerous; various; large number of; (P)#6182[Add to Longdo]
[un](int) (1) yeah; uh huh; (n-pref) (2) (also ん) some (at the start of a number in place of a digit); (P)#6785[Add to Longdo]
[りつ, ritsu](n) (1) law (esp. ancient East Asian criminal code); regulation; (2) { Buddh } vinaya (rules for the monastic community); (3) (abbr) (See 律宗) Ritsu (school of Buddhism); (4) (abbr) (See 律詩) lushi (style of Chinese poem); (5) (also りち) (musical) pitch; (6) (See 十二律, 呂) six odd-numbered notes of the ancient chromatic scale; (7) (abbr) (See 律旋) Japanese seven-tone gagaku scale, similar to Dorian mode (corresponding to#6911[Add to Longdo]
COMPDICT JP-EN Dictionary
[10しんすう, 10 shinsuu]decimal, decimal digit, decimal number[Add to Longdo]
[シーケンスばんごう, shi-kensu bangou]sequence number[Add to Longdo]
[しりあるなんばー, shiriarunanba-]serial number[Add to Longdo]
[シリアルばんごう, shiriaru bangou]serial number[Add to Longdo]
[ジョブばんごう, jobu bangou]job number[Add to Longdo]
[ステートメントばんごう, sute-tomento bangou]statement number[Add to Longdo]
[バージョンばんごう, ba-jon bangou]version number[Add to Longdo]
[パスばんごう, pasu bangou]path number[Add to Longdo]
[びっとばんごう, bittobangou]bit number[Add to Longdo]
[ファイルとおしばんごう, fairu tooshibangou]file serial number[Add to Longdo]
[ふりーだいやる, furi-daiyaru]toll free number[Add to Longdo]
[プロセスばんごう, purosesu bangou]process number[Add to Longdo]
[ページばんごう, pe-ji bangou]page number[Add to Longdo]
[ポートばんごう, po-to bangou]port number[Add to Longdo]
[ラベルばんごう, raberu bangou]label number[Add to Longdo]
[リリースばんごう, riri-su bangou]release number[Add to Longdo]
[リンクばんごう, rinku bangou]link number[Add to Longdo]
[レコードばんごう, reko-do bangou]record number[Add to Longdo]
[レベルばんごう, reberu bangou]level-number[Add to Longdo]
[あんしょうばんごう, anshoubangou]PIN, password number[Add to Longdo]
[いちようらんすう, ichiyouransuu]uniform random number, uniformly distributed random number[Add to Longdo]
[かにゅうしゃばんごう, kanyuushabangou]subscriber number[Add to Longdo]
[かいすう, kaisuu]count, number of times, frequency[Add to Longdo]
[かいひばんごう, kaihibangou]shunned number[Add to Longdo]
[がいじばんごう, gaijibangou]external character number[Add to Longdo]
[かくちょうせいどふどうしょうすうてんすう, kakuchouseidofudoushousuutensuu]extended precision floating point number[Add to Longdo]
[むるつきすうじ, murutsukisuuji]number enclosed within a circle (symbol)[Add to Longdo]
[きすう, kisuu]base, radix, cardinal number[Add to Longdo]
[きすうほう, kisuuhou]numeration system, number representation system[Add to Longdo]
[ぎじらんすうれつ, gijiransuuretsu]pseudo-random number sequence[Add to Longdo]
[ぎじらんすう, gijiransuu]pseudo random number[Add to Longdo]
[くぶんばんごう, kubunbangou]segment-number[Add to Longdo]
[ぐうすう, guusuu]even number[Add to Longdo]
[げんざいぎょうばんごう, genzaigyoubangou]current line number[Add to Longdo]
[ぎょういち, gyouichi]line number[Add to Longdo]
[ぎょうばんごう, gyoubangou]line number[Add to Longdo]
[こじゅんじょばんごう, kojunjobangou]child-sequence-number[Add to Longdo]
[しがいきょくばん, shigaikyokuban]toll number, long-distance number[Add to Longdo]
[しないきょくばん, shinaikyokuban]local office number[Add to Longdo]
[しぜんすう, shizensuu]natural number, nonnegative integer[Add to Longdo]
[しきべつばんごう, shikibetsubangou]identification number[Add to Longdo]
[じっすう, jissuu]real number[Add to Longdo]
[じゅうきょひょうじばんごう, juukyohyoujibangou]displayed address number[Add to Longdo]
[しゅつげんかいすう, shutsugenkaisuu]number of occurances[Add to Longdo]
[じゅんじょばんごう, junjobangou]sequence-number[Add to Longdo]
[しょうめいしょうとうしばんごう, shoumeishoutoushibangou]certificate serial number[Add to Longdo]
[おやじゅんじょばんごう, oyajunjobangou]parent-sequence-number[Add to Longdo]
[すう, suu]number[Add to Longdo]
[かずにいれる, kazuniireru]to count, to include in the number[Add to Longdo]
[すうじく, suujiku]number token[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ