wordgame
269 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ประเด*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ประเด, -ประเด-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)overwhelmSee Also:heap, pile, load, crowd, give someone the whole amountSyn.ทุ่มเท, ทุ่มโถม, ประดัง, มอบให้หมดExample:ข้าราชการที่ทำงานแข็งขันมักจะถูกประเดงานให้ทำ
(v)beginSee Also:start, initiate, inaugurate, commence, lead, be a shop's first customer of the daySyn.เริ่มต้น, เริ่มแรกExample:สถานที่นี้ได้เริ่มประเดิมด้วยการแสดงผลงานศิลปะของบรรดาศิลปินที่พำนักอยู่ในล้านนาThai Definition:เริ่มต้นหรือเริ่มแรกในการซื้อหรือขายเป็นต้น (มักใช้ในลักษณะที่เกี่ยวกับพิธีการหรือโชคลาง)
(n)pointSee Also:issue, keystone, gist, aspectSyn.เรื่อง, ข้อความสำคัญ, ใจความสำคัญ, หลักสำคัญ, หลักใหญ่, หัวข้อExample:อาจารย์สรุปประเด็นสำคัญๆ ในบทเรียนเพื่อทบทวนให้นักเรียนก่อนสอบUnit:ข้อThai Definition:ข้อความสำคัญของเรื่องที่แยกหยิบยกขึ้นพิจารณา
(n)some issuesSee Also:some main points/ideasAnt.ทุกประเด็นExample:ผู้เข้าร่วมการประชุมจากฝ่ายต่างๆ ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในบางประเด็น
(v)fix an issueSyn.กำหนดประเด็นExample:ฝ่ายค้านตั้งประเด็นซักถามรัฐบาล 5-6 ประเด็น
(v)get to the pointSee Also:be to the pointSyn.ยิงประเด็น, มุ่งประเด็นExample:คดีฆาตกรรมรายนี้ ตำรวจพุ่งประเด็นไปที่เรื่องชู้สาวThai Definition:มุ่งความสนใจกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากเป็นพิเศษ
(adv)immediatelySee Also:instantly, forthwith, at onceSyn.เดี๋ยวนี้, ตอนนี้, ทันที, เวลานี้, ในเวลานี้Example:ท่านเพิ่งขึ้นรถไปกรุงเทพฯประเดี๋ยวนี้เอง
(n)main issueSee Also:main pointSyn.ประเด็นหลักExample:ฝ่ายค้านได้หยิบยกเอาข้อกล่าวหาทุจริตในกระทรวงคมนาคมมาเป็นประเด็นสำคัญในการอภิปรายรัฐบาลThai Definition:ข้อความสำคัญของเรื่องที่แยกหยิบยกขึ้นพิจารณา
(n)momentSee Also:a short time, one momentSyn.ประเดี๋ยว, ครู่เดียว, เดี๋ยว, ครู่หนึ่งAnt.นาน, ยาวนานExample:ผมนั่งฟังเขาเล่าประวัติศาสตร์ในชีวิต สักประเดี๋ยวเรือหางยาวก็มารับ
(adv)awkwardlySee Also:disconcertingly, inconvenientlySyn.รีๆ รอๆ, ยุ่งยากใจ, สับสน, เก้อเขินExample:กริยาท่าทางของเธอเป็นไปอย่างประดักประเดิดThai Definition:ที่ทำให้รู้สึกลำบากยุ่งยากกายหรือใจ
(adv)for a momentSee Also:just a moment, just a minute, wait a minuteSyn.เดี๋ยวก่อน, ช้าก่อน, หยุดก่อน, คอยก่อน, เดี๋ยวเดียว, รอก่อนExample:เธอรอประเดี๋ยวก่อนThai Definition:คำขอผัดไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง
(v)change the issueSee Also:avoid, evade, dodgeSyn.เลี่ยง, เบี่ยงบ่าย, บ่ายเบี่ยงExample:รัฐมนตรีตอบคำถามโดยพยายามเบี่ยงประเด็นนักข่าวที่สัมภาษณ์ถึงเรื่องส่วนตัว
(adv)for a momentSee Also:for a short time, for a little while, for a minute, for a whileSyn.ไม่นาน, ไม่ช้า, เดี๋ยวเดียว, ครู่หนึ่งExample:ประเดี๋ยวเดียวรถก็ซ่อมเสร็จThai Definition:ชั่วระยะเวลานิดเดียว
(adv)for a short periodSee Also:for a short term, shortly, presently, momentarilySyn.ช่วงสั้นๆ, ชั่วขณะ, ชั่วครู่ชั่วยามExample:เขาบอกว่าจะแวะไปเพื่อเอาเงินประเดี๋ยวประด๋าวเท่านั้นเอง
(adv)a short timeSee Also:a little while, a moment, a minute, awhileExample:ความรู้สึกสำนึกผิดชอบชั่วดีแวบเข้ามาในความคิดชั่วประเดี๋ยวประด๋าวแล้วก็จางหายไปThai Definition:มีระยะเวลาเพียงครู่เดียวไม่นาน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. ตัดข้อความสำคัญบางเรื่องที่หยิบยกขึ้นพิจารณาออก เช่น คดีนี้ตำรวจตัดประเด็นชู้สาวออก.
ว. รี ๆ รอ ๆ, ที่ทำให้รู้สึกลำบากยุ่งยากกายหรือใจ.
ก. มอบให้หมด เช่น ประเดงานเข้ามาจนทำไม่ไหว, ทุ่มเทให้ เช่น ประเดให้จนเกินต้องการ.
น. ข้อความสำคัญของเรื่องที่แยกหยิบยกขึ้นพิจารณา
ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่มีการยกขึ้นเป็นข้ออ้างในคดี.
(ปฺระดะเหฺยก) ว. ปัจเจก เช่น เพราะกูเป็นประเดยก (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ก. เริ่มต้นหรือเริ่มแรกในการซื้อหรือขายเป็นต้น เช่น ประเดิมซื้อ ประเดิมขาย ประเดิมฝาก (มักใช้ในลักษณะที่เกี่ยวกับพิธีการหรือโชคลาง).
ก. เผดียง.
น. ชั่วระยะเวลาหนึ่ง, ชั่วขณะหนึ่ง, ชั่วครู่หนึ่ง, เช่น รอประเดี๋ยวนะ, ชั่วเวลาหนึ่งที่อาจจะมีเหตุการณ์ตามมา เช่น ประเดี๋ยวตกน้ำนะ, เดี๋ยว ก็ว่า.
คำขอผัดไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง, เดี๋ยวก่อน ก็ว่า.
น. ชั่วเวลานิดเดียว, เดี๋ยวเดียว ก็ว่า.
น. เวลานี้, ในเวลานี้, ทันที, เดี๋ยวนี้ ก็ว่า.
น. ชั่วครู่ชั่วยาม.
น. ส่วนสำคัญในสำนวนความที่เป็นประเด็นและที่เกี่ยวกับประเด็นอันพึงเสนอวินิจฉัย.
ว. ประเดี๋ยว, บัดใจ, ทันใด, เช่น อาวุธกับศรก็ตกกระบัดเหอรหาย (สมุทรโฆษ), ตระบัด ก็ใช้.
ก. ขลุกขลัก เช่น กรุกกรักประดักประเดิดเปิดฝาลุ้ง (คาวี).
ว. ประเดี๋ยว.
สิ่ง, ประเด็น, เช่น ข้อตกลง ข้อสำคัญ ข้อกล่าวหา
น. เรื่องหรือประเด็นที่เกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ความหมายของบทบัญญัติของกฎหมาย ผลบังคับของกฎหมาย หรือการปรับใช้ข้อเท็จจริงที่ยุติแล้วเข้ากับบทบัญญัติของกฎหมาย.
น. ประเด็นที่เสนอให้คิด, ประเด็นที่ชวนคิด.
เรื่องหรือประเด็นที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ พฤติกรรม หรือสิ่งใด ๆ ที่เกิดขึ้น ที่มีอยู่ หรือที่เป็นไป.
ว. ตรงประเด็นของเรื่อง
น. บรรดาคำฟ้อง คำให้การหรือคำร้องทั้งหลายที่ยื่นต่อศาล เพื่อตั้งประเด็นระหว่างคู่ความ.
น. คำวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล.
ประเด็นสำคัญของเรื่องที่พูดหรือถกเถียงกันเป็นต้น เช่น พูดไม่ถูกจุด ตอบไม่ตรงจุด.
น. ระยะเวลาสั้น ๆ เช่น เขาหายไปชั่วครู่ ประเดี๋ยวก็กลับมา.
ก. กระบวนการที่ศาลกำหนดประเด็นข้อพิพาทในคดี และระบุให้คู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนำพยานมาสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลัง.
น. ชั่วระยะเวลาหนึ่ง, ชั่วขณะหนึ่ง, ชั่วครู่หนึ่ง, เช่น คอยเดี๋ยว เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย, ชั่วเวลาหนึ่งที่อาจจะมีเหตุการณ์ตามมา เช่น เดี๋ยวไม่ให้เลย เดี๋ยวตกนํ้านะ, ประเดี๋ยว ก็ว่า.
คำขอผัดไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง, ประเดี๋ยวก่อน ก็ว่า.
น. ชั่วเวลานิดเดียว, ประเดี๋ยวเดียว ก็ว่า.
น. เวลานี้, ในเวลานี้, ทันที, ประเดี๋ยวนี้ ก็ว่า.
(ตฺระซวง) น. กระทรวง เช่น ให้ตราพระราชบันหญัตคำนับประเดียงโฆษนาแก่หมื่นขุนมุนนายทุกตระทรวงทบวงการ (สามดวง).
(ตฺระ-) ว. ประเดี๋ยว, บัดใจ, ทันใด, เช่น พลิกไปมาฟื้นตื่นองค์ ในรถมาศผจง ก็ตื่นตรบัดบัดใจ (อนิรุทธ์), กระบัด ก็ใช้.
ว. ลักษณะการพูดหว่านล้อมหรือรวบรัดให้เข้าสู่จุดหมายหรือเข้าประเด็น เช่น พูดตะล่อม.
แสดงกิริยาท่าทางด้วยความรู้สึกรุนแรง เช่น เมื่อนั้น โฉมนางตะเภาทองผ่องใส ทั้งนางตะเภาแก้วแววไว ครั้นได้ข่าวผัวตัวเป็นเกลียว จึงว่าดูเอาหรือเจ้าไกร ว่าจะไปหาครูสักประเดี๋ยว มิรู้ช่างโป้ปดลดเลี้ยว ไปเที่ยวเกี้ยวชู้แล้วพามา (ไกรทอง).
น. ตุ๊กตาไม่มีขา ฐานโค้ง มีโลหะถ่วงอยู่ข้างในฐานเมื่อผลักให้ล้มแล้วจะกลับตั้งขึ้นมาได้เอง, โดยปริยายหมายถึงคนเจ็บไข้ที่ไม่ค่อยมีกำลังวังชา ประเดี๋ยวล้มนอน ประเดี๋ยวลุกนั่ง.
ก. ตั้งปัญหาหรือประเด็นเพื่อให้ได้คำตอบ.
ก. การที่โจทย์และจำเลยแถลงด้วยปากหรือหนังสือ หรือทั้ง ๒ อย่างเมื่อสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว เพื่อสรุปประเด็นข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายต่อศาลก่อนมีคำพิพากษา.
ข้อความที่อธิบายนำไว้เป็นตัวอย่าง, ประเด็นหลัก.
ว. ประเดี๋ยว, ทันใด.
ว. ประเดี๋ยว.
ว. ไม่ตรงเป้า เช่น ชกเปะปะ, ไม่ตรงประเด็น เช่น พูดเปะปะ ให้การเปะปะ, ไม่ตรงทาง เช่น เมาเหล้าเดินเปะปะ, ไม่เป็นระเบียบ เช่น นอนมือเท้าเปะปะ, บางทีใช้ว่า สะเปะสะปะ.
ทำพิธีเป็นประเดิมเพื่อดำเนินกิจการงานหรือให้ใช้ได้เป็นต้น เช่น เปิดร้านใหม่ เปิดถนน เปิดสมาคม
(ผะเดิม) ก. ประเดิม, เริ่มแรก, ตั้งต้น, ลงมือก่อน.
(ผะเดียง) ก. บอกให้รู้, บอกนิมนต์, ใช้ว่า ประเดียง ก็มี.
น. พยานหลักฐานทางอ้อมที่อนุมานมาจากพฤติการณ์ต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงอันเป็นประเด็นโดยตรง.
ก. ทำอาการประเดี๋ยวชำเลืองประเดี๋ยวเมิน.
ก. หยิบยกเฉพาะประเด็นสำคัญของข่าวมากล่าว.
ก. กระจายออกให้เห็นชัดเจน เช่น แยกแยะปัญหาให้เห็นเป็นประเด็น ๆ ไป.
น. เวลาชั่วงอนิ้วมือแล้วดีดออก, โดยปริยายหมายความว่า เร็วฉับพลัน, ชั่วประเดี๋ยวเดียว, เช่น ชั่วลัดนิ้วมือเดียวก็ถึง.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
พยานหลักฐานในประเด็น (ที่ใช้พิสูจน์ได้)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงในประเด็น (ที่ใช้พิสูจน์ได้)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. จุด, ข้อ๒. ประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นข้อพิพาท[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นข้อกฎหมาย [ ดู issue of law ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ) [ ดู rogatory letter ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. เรื่องนอกประเด็น (ก. วิ.)๒. การให้ออกเพราะยุบตำแหน่ง (ก. แรงงาน)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ยกประเด็น, ตั้งประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เกี่ยวกับประเด็น, เกี่ยวเนื่อง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พยานหลักฐานเกี่ยวกับประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [ ดู evidential fact ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พยานหลักฐานไกลจากประเด็น, พยานหลักฐานไม่เกี่ยวแก่ประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ)[ ดู letter of request ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลที่ส่งประเด็นไปขอให้สืบพยาน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู dictum ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การรวมประเด็นฟ้อง [ ดู joinder of claims ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การรวมข้อเรียกร้อง, การรวมประเด็นฟ้อง [ ดู joinder of causes of action ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกำหนดประเด็นข้อโต้เถียง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นหลัก, ประเด็นสำคัญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นข้อพิพาท[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นสำคัญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลฟ้อง, ประเด็นฟ้อง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ศาลที่รับประเด็นไปสืบพยาน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นที่ใกล้เคียง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การยกประเด็นขึ้นใหม่ (ที่แตกต่างกับประเด็นเดิม)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อสังเกตของผู้พิพากษา (ที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น) [ ดู obitor dictum ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงในประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [ ดู relevant fact ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นข้อเท็จจริง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นข้อกฎหมาย [ ดู legal issue ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การออกเสียงตามประเด็น[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
นอกประเด็น [ ดู relevant ประกอบ ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำพิพากษาในบางประเด็นก่อน (ก. แองโกล-แซกซอน)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ออก, ตราขึ้น (ก. ทั่วไป)๒. ประเด็น (ก. ทั่วไป)๓. ผลประโยชน์ (ก. แพ่ง)๔. ผู้สืบสายโลหิต (ก. แพ่ง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ไม่มีประเด็นที่จะต้องให้การแก้ฟ้อง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประเด็นสำคัญที่สุด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
การบริหารประเด็นเชิงยุทธ์[TU Subject Heading]
การประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ กับรัฐมนตรีต่างประเทศของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ จัดขึ้นทุก 18-24 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน[การทูต]
บันทึกช่วยจำ " 1. เป็นเอกสารที่สร้างข้อผูกพัน ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของสัญญา 2. ในทางการเมืองระหว่างประเทศ เป็นเอกสารที่ช่วยย้ำประเด็นที่ได้มาพบและพูดไว้ "[การทูต]
แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire[การทูต]
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-สหภาพยุโรป เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียนกับ ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป จัดขึ้นทุก 12-18 เดือน เพื่อหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ[การทูต]
การประชุมอาเซียน-สหรัฐอเมริกา " เป็นการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (ปลัดกระทรวงต่างประเทศ) จัดขึ้นทุก 18 เดือน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ "[การทูต]
การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์[การทูต]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น[การทูต]
ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ[การทูต]
เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น[การทูต]
ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่น " ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่นเป็นข้อเสนอของ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยที่เสนอในการประชุมรัฐมนตรีต่าง ประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting : AMM) ครั้งที่ 31 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 ณ กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการหารือและแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างสร้างสรรค์ เปิดกว้างและเป็นกันเองในเรื่องหรือประเด็นต่าง ๆ ที่เห็นว่าเป็นผลประโยชน์ร่วมกันหรือที่จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์และความ มั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของนานาประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันสืบเนื่องจากการที่อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ และอยู่ในภาวะที่เผชิญปัญหาท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวพันกัน "[การทูต]
กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน "[การทูต]
การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ "[การทูต]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น[การทูต]
ประเด็นความมั่นคงในรูปแบบใหม่[การทูต]
การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศของคู่เจรจาเป็น รายประเทศ เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศ ของคู่เจรจา (PMC) ในลักษณะของการแยกหารือในประเด็นของความสัมพันธ์ระหว่างสิบประเทศสมาชิกอา เซียนกับแต่ละคู่เจรจา[การทูต]
การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศของคู่เจรจาทั้ง หมด เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศ ของคู่เจรจา (PMC) ในลักษณะของการหารือร่วมกันทั้งหมดระหว่างสิบประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศ คู่เจรจาในประเด็นที่มีความกังวลร่วมกันหรือปรารถนาที่จะมีความร่วมมือ ระหว่างกัน[การทูต]
การประชุมหารืออย่างเป็นกันเอง ปัจจุบันมีทั้งในระดับหัวหน้ารัฐบาล ระดับรัฐมนตรี และระดับปลัดกระทรวง โดยส่วนใหญ่จะเป็นการหารือเป็นการเฉพาะระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน โดยไม่มีเจ้าหน้าที่ติดตามและไม่มีระเบียบวาระที่แน่นอน แต่จะเปิดกว้างให้มีการหารือได้ในทุก ๆ ประเด็น[การทูต]
ความร่วมมือใต้-ใต้ หรือ ความร่วมมือระหว่างประเทศกำลังพัฒนา " เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการที่ประเทศกำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายหลังจากที่ความ ช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและวิชาการที่ประเทศที่พัฒนาแล้วได้ให้แก่ประเทศกำลัง พัฒนา/ด้อยพัฒนามีแนวโน้มลดลงและมีการนำเงื่อนไขอื่น ๆ มาผูกกับการให้ความช่วยเหลือมากขึ้น อาทิ ประเด็นสิ่งแวดล้อม โดยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา/ด้อยพัฒนานี้ จะเป็นทั้งในลักษณะของการให้ (อาทิ ทุนการศึกษา/ทุนฝึกอบรม/ทุนดูงาน/ผู้เชี่ยวชาญ/วัสดุอุปกรณ์) ของประเทศใดประเทศหนึ่งแต่ฝ่ายเดียว อาทิ การให้ความร่วมมือด้านทุนฝึกอบรมระยะสั้นในสาขาการเกษตรของไทยแก่ประเทศใน แอฟริกา และในลักษณะของการแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน "[การทูต]
ประเด็นความมั่นคงในลักษณะเดิม[การทูต]
การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม "[การทูต]
การประชุม "เวทีเศรษฐกิจโลก" นาย Klaus Schwab ได้ริเริ่มให้มีการประชุมครั้งแรกขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 ที่เมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งในปี พ.ศ. 2514 นาย Schwab ได้จัดตั้งเป็น European Management Forum ในลักษณะขององค์กรที่ไม่หวังผลกำไร และเปิดให้นักธุรกิจชั้นนำ รวมทั้งนักการเมืองระดับสูงเป็นสมาชิก ต่อมาในปี พ.ศ. 2530 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น World Economic Forum และเปิดรับสมาชิกจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก มีสำนักงานตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กิจกรรมสำคัญประจำปี ได้แก่ การประชุมประจำปีที่เมืองดาวอส (มกราคม หรือ กุมภาพันธ์) การจัดพิมพ์ World Competitiveness Report และการจัดประชุมเพื่อหารือประเด็นเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในประเทศต่าง ๆ[การทูต]
การวิเคราะห์, การวิเคราะห์ตามประเด็น[การแพทย์]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[bīeng praden] (v, exp) EN: change the issue
[chūa pradīo] (adv) EN: for a moment ; for a time ; for a while ; temporarily ; for a space
[khao praden] (v, exp) EN: get to the point
[nøk praden] (adj) EN: irrelevant ; beside the point ; not pertinent ; not germane ; inapposite ; immaterial  FR: pas pertinent
[øk nøk praden] (v, exp) EN: digress
[plīen praden] (v, exp) EN: change the issue
[praden] (n) EN: point ; issue ; question ; keystone ; subject ; gist ; aspect ; problem ; bone ; agenda  FR: point [ m ] ; aspect [ m ] ; question [ f ] ; sujet [ m ]
[praden føng] (n, exp) EN: cause of action
[praden lak-lak] (n, exp) EN: main points  FR: points principaux [ mpl ]
[praden røn] (n, exp) EN: hot issue  FR: point chaud [ m ]
[praden samkhan] (n, exp) EN: main issue ; main point ; important point ; hot topic  FR: point important [ m ]
[praden thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political issue
[pradīo] (adv) EN: for a while ; for a moment ; in a moment ; soon ; just a moment ; shortly ; for a time ; presently  FR: bientôt ; dans un moment
[pradoēm] (v) EN: lead ; initiate ; begin ; inaugurate ; have a first taste of ; be a shop's first costomer of the day  FR: initier ; commencer ; inaugurer
[trong praden] (v, exp) EN: be relevant ; be pertinent
Longdo Approved EN-TH
(n)การเปิดประเด็นเพื่อการถกเถียงและโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
(verb, phrase)เน้นที่, มุ่งประเด็นไปที่ เช่น Scientists zero in on pancreatic cancer genes.Syn.focus on
(adj, slang)ตื่นตัวกับเรื่องข้อมูลหรือประเด็นปัญหาทางสังคม เช่น การเหยียดผิว, ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม โดยอาจจะมีหรือไม่มีข้อมูลหลักฐานที่ชัดเจน
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ประเด็นสำคัญ
(idm)ประเด็นหลัก
(phrv)ออกนอกเรื่องSee Also:ออกนอกประเด็น
(adj)ซึ่งอ้อมค้อมSee Also:ซึ่งไกลประเด็นSyn.disconnected, cursory
(adj)ซึ่งตอบไม่ตรงประเด็นSee Also:ซึ่งตอบไม่ตรงคำถามSyn.deceptive, equivocal, misleading
(idm)ไม่เข้าใจประเด็น
(adj)ซึ่งอยู่นอกประเด็น (คำทางการ)See Also:ซึ่งไม่เกี่ยวข้อง, ซึ่งไม่เหมาะสมSyn.irrelevant, unsuitableAnt.apposite, relevant, suitable
(phrv)พยายามควบคุมหรือจำกัดให้อยู่ในประเด็นSee Also:พูดตรงประเด็น ไม่ออกนอกเรื่องSyn.stick to
(n)ชั่วเวลาประเดี๋ยวSee Also:อึดใจเดียว, ชั่วครู่เดียวSyn.a moment, instant
(adj)สั้นๆ (ช่วงเวลา)See Also:สักครู่, สักประเดี๋ยวSyn.short, brief
(adj)ซึ่งมุ่งไปที่จุดเดียวSee Also:ซึ่งมุ่งไปที่ประเด็นเดียว
(adj)ตรงประเด็นSee Also:ตรงจุดSyn.apt, exactly, perfectly
(n)ประเด็นSyn.point
(n)ประเด็นSee Also:ข้อ, แง่, หัวข้อ, เรื่องSyn.idea, matter
(n)ประเด็นSyn.aspect, characteristic, point
(vt)ทำให้ออกนอกประเด็นSee Also:หันเห, เปลี่ยนหัวข้อ, เปลี่ยนประเด็นSyn.push aside
(pron)ประเด็นนั้น
(adj)ชั่วประเดี๋ยว
(phrv)ออกนอกประเด็นSee Also:ออกนอกทิศทางSyn.stray from, wander off
(phrv)ออกนอกประเด็นSee Also:ออกนอกทิศทาง
Hope Dictionary
(อะบรอด') adj., adv. ข้างนอก, ต่างประเทศ, แพร่หลาย, ไปทั่ว, พิศวง, ไม่หนักแน่น, ไม่ตรงประเด็นSyn.circulating, outdoors
(อะไวลฺ') adv. สักประเดี๋ยว, ชั่วครู่
(แคท'ชี) adj. ดึงดูดใจ, จำได้ง่าย, มีเล่ห์, ประเดี๋ยวเดียว, ไม่ปะติดปะต่อSee Also:catchiness n. ดูcatchySyn.interestingAnt.dull
(โค'เจินทฺ) adj. ซึ่งโน้มน้าวจิตใจ, น่าเชื่อ, ถูกจุด, ตรงประเด็น
(ครัคซฺ) n. จุดสำคัญ, ประเด็นสำคัญ, กากบาท, กางเขน, จุดยุ่งยาก, ปัญหายุ่งยาก, ความลำบากของปัญหาSyn.body, heart, essence, root, key -pl. cruxes, cruces
vi. วกวนนอกเรื่อง, พูดหรือเขียนนอกประเด็น, หันไปทางข้างSee Also:digresser n.
n. การวกวนนอกประเด็น, คำพูด (คำเขียน) ที่ออกนอกประเด็น, ข้อปลีกย่อย
adj. ซึ่งวกวนนอกประเด็น
(ดิสเคอร์'ซิฟว) adj. อ้อมค้อม, ไกลประเด็น, สับสน.Syn.digressive, diffuseAnt.organized
(ไดเวอ'เจินซฺ) n. ความแตกต่าง, การแยกออก, การเบนออก, การห่างประเด็น, ความหลากหลาย, ความผันแปรSyn.digression
(ไดเวอ'เจินทฺ) adj. แตกต่างกัน, ผันแปร, ซึ่งเบนออก, ซึ่งห่างประเด็น, หลากหลาย
(เอคซฺเคอ'ซิฟว) adj. นอกลู่นอกทาง, ห่างประเด็น, นอกเรื่อง.See Also:excursiveeness n. ดูexcursiveSyn.outgoing
(อิคซฺเทร'เนียส) adj. ภายนอก, นอกประเทศ, นอกประเด็น, ไม่เกี่ยวข้อง.See Also:extraneousness n.
(แฟลช'ชี) adj. เป็นแสงวาบ, โด่งดังชั่วประเดี๋ยว, หรูหรา, โอ้อวด.See Also:flashily adv. flashiness n.Syn.showy
(ฟลีท'ทิง) adj. ซึ่งหายวับไป, ซึ่งผ่านไปอย่างรวดเร็ว, ชั่วคราว, ประเดี๋ยวเดียว.See Also:fleetingness n.Syn.transient
(ไฟล'อิง) adj. ซึ่งบิน, เกี่ยวกับการบิน, ล่องลอย, เหมือนบิน, แกว่งไปมา, ปลิว, สะบัด, เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว, แพร่กระจาย, เร่งรีบ, สั้น, ชั่วประเดี๋ยว. n. การบิน. adv. ซึ่งทำได้รวดเร็ว, ไม่เฉไม่เฉียงSyn.speedily, swiftly
(ฟูเก'เชิส) adj. ร่วงลงก่อน, หายไปก่อน, ชั่วคราว, ชั่วประเดี๋ยว
(จิสทฺ) n. ส่วนสำคัญ, แก่นสาร, ประเด็นSyn.pith, substance
(กอ'เดียน) adj. เกี่ยวกับเรื่องแก้ยาก, เป็นประเด็นสำคัญ
(กระเว'มัน) n.ข้อกล่าวหาที่หนัก, ประเด็นสำคัญในการฟ้อง, เรื่องคับแค้นใจ -pl. gravamina
(เฮียร์ทู') adv. ถึงตอนนี้, เกี่ยวกับประเด็นนี้.Syn.hereunto
(อิน'สเทินทฺ) adj., adv. รีบด่วน, เร่งด่วน, ชั่วประเดี๋ยว, ทันทีทันใด, ของเดือนนี้.Syn.immediate
(อิเรล'ละเวินท.) adj. ไม่เกี่ยวข้อง, ไม่ถูกจุด, ไม่ตรงประเด็น.
(คี'โนท) n. เสียงหลักของทำนองเพลงประเด็นสำคัญของคำปราศรัย ความคิด การกระทำหรืออื่น ๆ vt. กล่าวคำปราศรัยที่สำคัญSyn.theme, essence, gist, core
(โมเมินแท'ริลี, โม'เมินแทริลี) adv. ชั่วขณะ, ชั่วประเดี๋ยว, ในเวลาที่สั้นมาก, เป็นครั้งเป็นคราว
(โม'เมินเทอรี) adj. ชั่วประเดี๋ยว, ชั่วขณะ, ประเดี๋ยวเดียว, สั้นมาก, ทุกขณะ, ซึ่งใกล้จะมาถึง, ซึ่งจวนจะเกิดอยู่แล้ว.See Also:momentariness n.
(โม'เมินทฺลี) adv. เป็นครั้งเป็นคราวชั่วขณะ, ชั่วประเดี๋ยว, ทุกขณะ, ทุกขณะจิต
(นิท'ทิ กริฟ'ที) n. ประเด็นหรือจุดสำคัญของปัญหา
(เอาทฺ'ไลอิง) adj. ห่างไกล, นอกทาง, ห่างไกลจากศูนย์กลาง, รอบนอก, ชายแดน, นอกเรื่อง, นอกประเด็นSyn.remote
(แพท) vt., n. ตบเบา ๆ ก้อนเล็ก ๆ adj., adv. ตรงประเด็น, ตรงจุด, พร้อมแล้ว, หนักแน่น, ไม่เปลี่ยนแปลง
(พิธ) n. ไส้ในของไม้, เนื้อเยื่อส่วนใน (ที่เป็นparenchyma) ของต้น, ส่วนในของขุน, ส่วนสำคัญ, แก่นสาร, สาระสำคัญ, ประเด็นสำคัญ, น้ำหนัก, ความแข็ง, ไขสันหลัง, ไขกระดูก, กำลัง, พลัง, แรง
(พอยทฺ) n. จุด, จุดประสงค์, จุดเครื่องหมาย, จุดทศนิยม, สิ่งที่มีปลายแหลม, สถานที่, ตำแหน่ง, ทิศทาง, ขั้น, ตอน, สิ่งที่สำคัญที่เข้าใจ, ประเด็น, จุดสำคัญ, เอกลักษณ์, ข้อแนะ, ข้อคำขำ, หน่วย, หน่วยวัด, ขีด, คะแนน, การชี้, vt., vi. ชี้, เล็ง, แจ้ง, ทำให้แหลม, เสริม, ใส่จุดทศนิยม -Phr. (inpoint เข้าประเด็น ทำได้, เกี่ยวข้อง)
(เพรส'เซินทฺลี) adv. ไม่ช้า, ประเดี๋ยว, อีกสักครู่, ปัจจุบันSyn.soon
(เรล'ลิเวินซฺ) , relevancy (เรล'ลิเวินซี) n. ความสัมพันธ์กัน, การเข้าประเด็น, ความเข้าเรื่องกันSyn.pertinence
(เรล'ลิเวินทฺ) adj. เข้าประเด็น, ตรงประเด็น, สัมพันธ์กัน, เข้าเรื่องกันSee Also:relevantly adv.Syn.pertinent, apt, related
(รีสเพคทฺ') n. ความนับถือ, ความเคารพ, ความยำเกรง, ความคารวะ, ความเอาใจใส่, ความสัมพันธ์, ความเกี่ยวข้อง, ประเด็น, ข้อ, ประการ vt. นับถือ, เคารพ, สัมพันธ์กับ, เกี่ยวกับ, คำนึง, พิจารณาSee Also:respecter n.Syn.regard, esteem
(สคอร์) n. รอยบาก, รอยขีด, รอยแผล, รอย, บาก, เส้นขีด, หมาย, รายการบัญชี, บัญชีหนี้สิน, ประเด็น, คะแนน, ยี่สิบ, เหตุผล, มูลเหตุ, การนับแต้ม, จำนวนมากมาย, กระทง, โน๊ตเพลง vt., vi. ทำคะแนน, ทำแต้ม, ประเมินผล, ทำรอยบาก, ขีด, จดคะแนน, นับแต้ม, ลงบัญชีหนี้สิน, มีชัย, ตำหนิ.
(เซค'เคินดฺ) adj. ที่สอง, ชั้นสอง, อันดับสอง, ตัวรอง, วินาที, 1/60นาที, วิลิปดา, ฟิลิปดา, 1/60ลิปดา, ชั่วขณะ, ชั่วประเดี๋ยวด้อยคุณภาพ, ไม่สำคัญ, อื่น, เสียงระดับสอง, ลอกเลียน, (รถ) เกียร์สอง n. ส่วนที่สอง, ครึ่งที่สอง, ที่สอง, ชั้นสอง, อันดับสอง, ตัวรอง, ตัวสำรอง, ผู้ช่วย
(ซับ'จิคทฺ) n. เรื่อง, กรณี, ประเด็น, บัญหา, ข้อ, หัวข้อ, สาขาวิชา, สาเหตุ, มูลเหตุ, ประชากร, ข้า, ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน, ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา, ผู้รับการทดสอบ, (ไวยากรณ์) ประธานประโยค, (ปรัชญา) ตัวหลัก, ตัวของตัวเอง. adj. ภายใต้การควบคุม, เปิดเผย, อยู่ในสังกัด, อยู่ในความควบคุม,
(แธร์) adv. ที่นั่น, ตรงนั้น, ด้านนั้น, ในข้อนั้น. -pron. ที่นั่น, ตรงนั้น, ประเด็นนั้น. n. ภาวะนั้น, สภาพนั้น, เงื่อนไขนั้น, สถานที่นั้น
(แทรน'ซิทอรี) adj. ไม่ถาวร, ไม่ยั่งยืน, ชั่วคราว, ชั่วประเดี๋ยว.See Also:transitorily adv. transitoriness n.
(ไทรซฺ) n. ระยะเวลาที่สั้นมาก, ชั่วขณะ, ชั่วประเดี๋ยวSyn.instant
(อันธิง'คะเบิล) adj. คิดไม่ถึง, นึกไม่ถึง, นอกประเด็น, ไม่พิจารณา.
(วอน'เดอะ) vi. vt. ท่องเที่ยว, เดินเตร่, เตร็ดเตร่, ไปโดยไม่มีจุดหมายแน่นอน, ทิ้งความสนใจ, สาบสูญ, หลงทาง, หันเหจากเดิม, ห่างประเด็นSee Also:wanderer n.Syn.stray, roam
(ไวล์) n. ชั่วขณะ, ชั่วประเดี๋ยว, พักหนึ่ง, ช่วงเวลาเฉพาะ conj. ระหว่างเวลา, ตลอดเวลา, ในขณะที่, แม้ว่า, ถึงแม้ว่า, ในเวลาเดียวกัน, prep. จนกว่า vt. ทำให้เวลาผ่านไป (โดยเฉพาะอย่างสบาย) worth one's while คุ้มค่าเวลา,
Nontri Dictionary
(adv)ชั่วขณะ, ประเดี๋ยว, สักครู่, ชั่วครู่
(adj)น่าเชื่อ, ตรงประเด็น, ตรงจุด, ถูกจุด
(n)ปมปัญหา, ประเด็นสำคัญ, กางเขน, กากบาท
(vi)เฉไป, วกวน, ออกนอกเรื่อง, ออกนอกประเด็น
(n)ความวกวน, ข้อปลีกย่อย, การพูดนอกประเด็น
(adj)ซึ่งท่องเที่ยวไป, ซึ่งออกนอกลู่นอกทาง, นอกเรื่อง, นอกประเด็น
(adj)ของผู้อื่น, ของนอก, นอกประเด็น, ภายนอก
(adj)มีแสงแวบ, เหมือนฟ้าแลบ, ชั่วแวบ, ชั่วประเดี๋ยว
(adj)ซึ่งหายวับไป, ประเดี๋ยวเดียว
(n)อันก่อน, กรณีแรก, ประเด็นแรก, ประการแรก, ข้อแรก
(n)ใจความ, หัวใจ, หัวข้อ, เนื้อหาสำคัญ, แก่นสาร, ประเด็น
(adj)ทะลึ่ง, เสือก, สะเออะ, อ้อมค้อม, ไม่ตรงประเด็น
(adj)ไม่สมเหตุผล, นอกประเด็น, ไม่ต่อเนื่องกัน
(adj)นอกเรื่อง, ไม่ถูกจุด, ไม่ตรงประเด็น
(n)ระดับเสียง, ใจความสำคัญ, จุดสำคัญ, ประเด็นสำคัญ
(adj)ชั่วขณะ, ชั่วแล่น, ชั่วครู่, ชั่วประเดี๋ยว, ชั่วอึดใจ
(adv)เดี๋ยวนี้, ขณะนี้, ปัจจุบันนี้, บัดนี้, ประเดี๋ยว
(adj)เข้าเรื่อง, ตรงประเด็น, ตรงปัญหา
(n)ไส้, แก่น, ไขสันหลัง, แก่นสาร, ประเด็นสำคัญ
(n)จุด, ทิศทาง, ข้อ, จุดทศนิยม, ตำแหน่ง, ประเด็น, ใจความสำคัญ
(adv)ในเวลานี้, เดี๋ยวนี้, ในไม่ช้า, อีกสักครู่, ประเดี๋ยว, ปัจจุบัน
(n)ความสัมพันธ์กัน, การเข้าเรื่อง, การเข้าประเด็น
(adj)สัมพันธ์กัน, เข้าเรื่อง, ตรงประเด็น
(n)ประเด็น, เนื้อเรื่อง, หัวข้อ
(adj)ชั่วคราว, ชั่วประเดี๋ยว, ไม่ยืนยง
(adj)คิดไม่ถึง, นอกประเด็น
(con)ขณะที่, ระหว่าง, ตราบ, ประเดี๋ยว, ถึงแม้ว่า, แต่
(n)ชั่วครู่, ชั่วขณะ, ชั่วประเดี๋ยว
(con)ขณะที่, ระหว่าง, ตราบ, ประเดี๋ยว, ถึงแม้ว่า, แต่
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(phrase)ในบางลักษณะ, ในบางประเด็น
Longdo Approved JP-TH
[じゅうよう, juuyou](adj)ประเด็นหลัก, ความสำคัญ
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
筆降ろし;筆おろし
[ふでおろし, fudeoroshi](exp)ประเดิม
Saikam JP-TH-EN Dictionary
的中
[てきちゅう, tekichuu] TH: ตรงประเด็น
的中
[てきちゅう, tekichuu] EN: hit the mark
要旨
[ようし, youshi] TH: ประเด็นสำคัญ
要旨
[ようし, youshi] EN: essentials
Longdo Approved DE-TH
(n)|die, pl. Diskussionen| การหารือ, ถกประเด็น
(adj)ซึ่งหายวับไป, ที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว, ประเดี๋ยวเดียว เช่น Sie kannte ihn flüchtig. หล่อนรู้จักเขาแค่ประเดี๋ยวเดียว
(vi)|diskutierte, hat diskutiert, mit jmdm. über etw.(A)| ถกเถียงเกี่ยวกับประเด็นหรือปัญหาใดๆ เช่น Der Chef diskutiert gern über die Politik. เจ้านายชอบถกเถียงเรื่องการเมือง
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ