เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น[เทคโนโลยีการศึกษา]
ดัชนีผู้แต่ง[เทคโนโลยีการศึกษา]
ดรรชนีวารสาร[เทคโนโลยีการศึกษา]
ดรรชนีชื่อเรื่อง[เทคโนโลยีการศึกษา]
ดรรชนีหัวแม่มือ[เทคโนโลยีการศึกษา]
บริการสาระสังเขปและดัชนี, Example:<p>บริการสาระสังเขปและดัชนี เป็นบริการสารสนเทศประเภทหนึ่ง ที่ห้องสมุดหรือสถาบันบริการสารสนเทศจัดให้มีขึ้นเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ <p>สาระสังเขปและดัชนี หมายถึง การย่อเนื้อหาหรือสาระสำคัญของเอกสารในรูปแบบที่สั้นและมีความถูกต้อง ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจ และได้เนื้อหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ สามารถวิเคราะห์เนื้อหาของเอกสารฉบับนั้นว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ และมีความจำเป็นหรือไม่ที่ต้องไปอ่านเอกสารต้นฉบับนั้นอย่างละเอียดอีกครั้ง <p>ดัชนี (Index) หมายถึง คำ วลี ข้อความ หรือคำศัพท์ที่กำหนดขึ้น เพื่อใช้เป็นตัวแทนของสารสนเทศ เป็นเครื่องมือชี้นำผู้ใช้ไปยังข้อมูลหรือแหล่งข้อมูลตามที่ผู้ใช้ต้องการ <p>สาระสังเขปหรือบทคัดย่อ (Abstract) คือ เนื้อเรื่องย่อหรือสาระสำคัญที่เป็นตัวแทนของเอกสาร โดยมีรูปแบบที่สั้น กะทัดรัด และมีความถูกต้อง แม่นยำ สาระสังเขปจะมุ่งเน้นถึงสาระสำคัญตามลำดับเนื้อหาของเอกสารต้นฉบับ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นบทความจากเอกสารวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายงานการศึกษาวิจัย รายงานการประชุมสัมมนา สิทธิบัตร ตลอดจนสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ที่มีความสำคัญและเข้าถึงได้ยาก สาระสังเขปจะต้องมีความครบถ้วนสมบูรณ์ในตัวเอง และให้รายละเอียดทางบรรณานุกรม เพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าจากเอกสารต้นฉบับได้ <p>ลักษณะของสาระสังเขปที่ดี คือ มีความสั้น กะทัดรัด กระชับ มีความถูกต้องแม่นยำ มีความชัดเจนและสมบูรณ์ในตัวเอง และมีการยึดถือข้อเท็จจริง โดยไม่เสนอความคิดเห็นส่วนตัวหรือประเมินคุณค่าในการทำสาระสังเขป ผู้เขียนต้องคัดเลือกหรือเรียบเรียงเนื้อหาสาระตามเอกสารต้นฉบับ <p>สาระสังเขปที่สมบูรณ์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนอ้างอิง ส่วนเนื้อหา และส่วนชื่อผู้เขียนสาระสังเขป <p>ความสำคัญของสาระสังเขป คือ การช่วยเสริมให้ดัชนีและบรรณานุกรมมีคุณค่ามากขึ้น โดยการจัดทำสาระสังเขปไว้ที่ท้ายรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมในแต่ละรายการ เป็นการเพิ่มเนื้อเรื่องย่อให้ผู้ใช้สามารถอ่านเพื่อพิจารณาตัดสินใจได้รวดเร็วขึ้น <p>สมาคมวิชาชีพที่จัดทำสาระสังเขปและดัชนี เช่น National Federation of Abstracting and Information Services (NFAIS), USA เป็นองค์กรรวมหน่วยงานที่ให้บริการจัดทำสาระสังเขปและดัชนี <P>ตัวอย่างสารสนเทศ ที่จัดอยู่ในบริการสาระสังเขปและดัชนี เช่น <p>1. วารสารสาระสังเขปทางเคมี : Chemical Abstract (CA) จัดทำโดย American Chemical Society (ACS), USA <p>2. ดัชนีทางด้านสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ : EI : Compendex (Engineering Index) จัดทำโดย American Society of Mechanical Engineers (ASME), USA <p>3. ดัชนีทางด้านสาขาวิชาแพทยศาสตร์ : Index Medicus จัดทำโดย National Library of Medicine (NLM), USA <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชาการวิเคราะห์สารสนเทศ : Information analysis หน่วยที่ 12-15. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดัชนีผู้แต่ง, Example:<p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Author-Index1.jpg" alt="Author Index"> <p>เป็นการนำชื่อผู้แต่ง ซึ่งอาจเป็นชื่อบุคคล นิติบุคคล หรือ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน ลงเป็นรายการหลัก จะปรากฏในดัชนีซึ่งแบ่งตามลักษณะของสิ่งพิมพ์ที่นำมาจัดทำดัชนี ได้แก่ ดัชนีวารสาร ดัชนีหนังสือพิมพ์ และดัชนีหนังสือท้ายเล่ม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดรรชนี หรือ ดัชนี, Example:ดรรชนี หรือ บัญชีค้นคำ (index) เป็นการนำหัวข้อย่อยๆ และคำบางคำ ที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง มาจัดเรียงตามลำดับอักษร แล้วกำกับด้วยเลขหน้าที่หัวข้อย่อย และคำบางคำนั้นปรากฏอยู่ เพื่อช่วยให้ผู้อ่าน ได้ค้นหาเรื่องราวไปยังข้อมูลและแหล่งข้อมูลได้ตามต้องการและรวดเร็วขึ้น และเป็นการควบคุมทางบรรณานุกรมสำหรับสารสนเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทำดรรชนี <p>โครงสร้างของดรรชนี ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ดังนี้คือ <p>1. คำ กลุ่มคำ วลี ข้อความ ที่ใช้แทนเนื้อหา อาจเป็นคำที่ปรากฏอยู่ในเอกสาร เป็นคำที่ปรากฏใช้บ่อบในเอกสาร หรือเป็นคำศัพท์มาตรฐานที่นำมาจากคู่มือหัวเรื่อง หรือศัพท์สัมพันธ์ <p>2. ข้อมูลชี้แหล่งหรือตำแหน่งของสารสนเทศ เช่น ข้อมูลทางบรรณานุกรมของดรรชนีวารสาร ได้แ่ก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ วันเดือนปี และเลขหน้า เล่มที่ และหน้าที่ปรากฏเนื้อหา เป็นต้น <p>ประเภทของดรรชนี จำแนกได้ ดังนี้ <p>1. จำแนกตามทรัพยากรสารสนเทศที่นำมาจัดทำ 3 ประเภท คือ <p>1.1 ดรรชนีวารสาร (Periodical index) <p>1.2 ดรรชนีหนังสือพิมพ์ (Newsapers index) <p>1.3. ดรรชนีหนังสือเล่ม (Book index) <p>2. จำแนกตามวิธีการจัดทำ แบ่งเป็น <p>2.1 ดรรชนีที่ทำด้วยระบบมือ (Manual system) จำแนกเป็น ใช้วิธีค้นคำหรือกลุ่มคำจากเอกสารตามที่ปรากฏ หรือการกำหนดคำหรือวลีซึ่งใช้เป็นตัวแทนเนื้อหา ได้แก่ ภาษาดรรชนี เช่น หัวเรื่อง ศััพท์สัมพันธ์ <p>2.2 ดรรชนีที่จัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยกำหนดให้คอมพิวเตอร์ดึงคำ วลี หรือกลุ่มคำจากเอกสาร <p>3. จำแนกตามองค์ประกอบหรือลักษณะของดรรชนี มีรายละเอียด ดังนี้ <p>3.1 มีข้อมูลตัวแทน ข้อมูลระบุลักษณะ และข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีวารสาร จะระบุคำหัวเรื่องซึ่งเป็นตัวแทนเนื้อหา ระบุชื่อผู้เขียนบทความ ชื่อบทความ ซึ่งเป็นข้อม฿ูลระบุลักษณะ และระบุข้อมูลชี้แหล่ง คือ ชื่อวารสาร วันเดือนปี และเลขหน้าที่เรื่องนั้นๆ ปรากฏ <p>3.2 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลชี้แหล่ง แต่ไมีมีข้อมูลระบุลักษณะ ได้แก่ ดรรชนีท้ายเล่มหนังสือ ซึ่งมีตำ หรือวลี เป็นข้อมูลตัวแทนเนื้อหา และระบุเลขหน้าที่คำนั้นๆ ปรากฏ <p>3.3 มีข้อมูลตัวแทนและข้อมูลระบุลักษณะ แต่อาจมีหรือไม่มีข้อมูลชี้แหล่ง เช่น ดรรชนีควิก (Kwic index) และดรรชนีควอก (Wkoc index) <p>4. จำแนกตามแหล่งที่อยู่ของดรรชนี ได้แก่ <p>4.1 ดรรชนีที่อยู่กับแหล่งสารสนเทศ ได้แก่ ท้ายเล่มหนังสือ (Book index) ประกอบด้วย ดรรชนีชื่อผู้แต่ง ดรรชนีชื่อเรื่อง ดรรชนีหัวเรื่อง และดรรชนีคำสำคัญ <p>4.2 ดรรชนีที่อยู่ต่างหาก (Independent index) เช่น ดรรชนีในรูปบัตร รูปเล่ม และฐานข้อมูลดรรชนี เช่น ดรรชนีวารสารและหนังสือพิมพ์ ฐานข้อมูลสำเร็จรูปต่างๆ เช่น ERIC, DAO เป็นต้น และรายการในบัตรรายการประเภทต่างๆ เป็นต้น <p>รายการอ้าอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การทำดรรชนี, Example:<p>การทำดัชนี Indexing <p>การจัดทำดรรชนี (Indexing) เป็นกระบวนการวิเคราะห์เนื้อหาของความรู้ โดยนำเอาเนื้อหาสำคัญและแนวคิด (concept) ที่ได้จากความรู้นั้นมาจัดทำเป็นภาษาในระบบการจัดทำดรรชนี และนำมาจัดเรียงตามลำดับอักษร เพื่อสะดวกในการค้นหาเรื่องที่ต้องการ ดรรชนีช่วยผู้ใช้ให้เข้าถึงสารนิเทศที่ต้องการได้อย่างสมบูรณ์ ดรรชนีเป็นเครื่องมือที่มีการสร้างไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่เนื้อหาของหัวข้อ เรื่องที่ผู้ใช้ต้องการ หรือชี้แนะไปยังแหล่งสารนิเทศที่มีเอกสารที่ต้องการ มีส่วนประกอบสำคัญคือ <p>1 คำสำคัญ (Keyword / descriptor) เป็นคำที่ใช้แทนสาระของเอกสาร <p>2 รายการทางบรรณานุกรม (Bibliographic description) แสดงถึงลักษณะทางกายภาพของเอกสารพร้อมด้วยรหัสของเอกสาร เพื่อแสดงแหล่งที่ปรากฎของสารนิเทศ <p>คุณลักษณะของเนื้อหาที่จำเป็นสำหรับการจัดทำดรรชนี <p>1 เลขหมู่หนังสือ (Classification code) <p> 2 หัวเรื่อง (Subject headings) <p>บรรณานุกรม : เพชราภรณ์ จันทรสูตร์, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนำดรรชนีและสาระสังเขป กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดัชนีวรรณกรรม, ดรรชนีวรรณกรรม, Example:<p>Bibliometrics คือการศึกษาหรือวิธีการวัด (Measure) สารสนเทศ หรือข้อความชุดหนึ่ง มีพัฒนาการมายาวนานกว่า 40 ปี นับเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการประเมินงานวิจัย จัดอยู่ในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สามารถนำไปประยุกต์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้มากมาย <p>การใช้วิธีการ Bibliometrics เพื่อค้นหาผลกระทบ (Impact) ในทุกระดับ คือ ระดับบทความ (Paper) ระดับสาขาวิชา (Field) ระดับนักวิจัย (Researcher) ระดับสถาบัน (Institutes / Affiliations ) และระดับประเทศ (Country ) <p>วิธีการของ Bibliometrics มีการนำไปใช้เพื่อตรวจสอบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการอ้างอิงของวารสารวิชาการ ข้อมูลการอ้างอิงถือว่ามีความสำคัญ ดัชนีการอ้างอิงที่ผลิตโดยบริษัท Thomson Reuters ในฐานข้อมูล Web of Science และ Elsevier B.V. ในฐานข้อมูล Scopus ผู้สืบค้นสามารถค้นบทความที่อ้างอิงกันไปมาได้ ดัชนีการอ้างอิงสามารถสื่อถึงความเป็นที่นิยม มีผลกระทบต่อบทความ ผู้แต่ง และวารสาร <p>Bibliometrics เป็น Truly Interdisciplinary Research มีกลุ่มเป้าหมายหลักที่ศึกษา 3 กลุ่ม คือ <p>1 .Bibliometrics for Bibliometricians (Methodology เน้นหาวิธีการ เทคนิคต่าง ๆ) <p>2. Bibliometrics for scientific disciplines (Scientific information) เป็นกลุ่มที่มีความสนใจกว้างขวางมากที่สุด <p>3. Bibliometrics for Sciences Policy & Management (ศึกษาในระดับชาติ ภูมิภาค สถาบัน ด้วยการแสดงแบบเปรียบเทียบหรือพรรณา) <p>การประยุกต์ดัชนี Bibliometrics แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. เชิงปริมาณ (Quantitative) <p>- จำนวนบทความ (No. of Publications) ตามรายปี สถาบัน ประเทศ สาขาวิชา เป็นต้น <p>- จำนวนการได้รับการอ้างอิง (No. of Citations : Citing, Cited) <p>- จำนวนที่มีผู้เขียนร่วม (No. Co-Authors) <p>- จำนวนสิทธิบัตร (No. Patents) การยื่นขอจดสิทธิบัตรจากพลเมืองตนเองหรือต่างชาติ <p>2. เชิงความสัมพันธ์ (Relation) <p>- ดัชนีผลงานตีพิมพ์ร่วมกัน (ความเป็นนานาชาติ) <p>- ดัชนีเชื่อมโยงจากบทความอ้างอิง (หาคำตอบประเทศใดอ้างอิงถึงประเทศใดบ้าง) <p>- ดัชนีสัมพันธ์บทความวิชาการกับสิทธิบัตร <p>- ดัชนีอ้างอิงบทความร่วมกัน (วัดหาการอ้างอิงถึงบทความ 2 บทความ ในบทความเดียวกัน) <p>บรรณานุกรม <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. ความรู้พื้นฐาน Bibliometrics ประวัติ พัฒนาการ & การประยุกต์. 2551. Available at : http://www.slideshare.net/nstda/bibliometrics. Accessed August 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ผู้ทำดรรชนี[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดรรชนีวารสาร, Example:<p>ดรรชนีวารสาร (Periodical Index) เป็นดรรชนีที่จำแนกตามลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศ จัดทำขึ้นเพื่อนำผู้ใช้ไปยังวารสารที่มีบทความนั้นๆ ปรากฏอยู่ ดรรชนีวารสารจำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ <p>1. ใช้้ค้นบทความทั่วๆ ไป ที่ลงในวารสารต่างๆ ไม่เจาะจงชื่อวารสารชื่อใดชื่อหนึ่ง เช่น Reader's Guide to Periodical Literature ซึ่งเป็นดรรชนีวารสาร นิตยสาร วารสารทางวิชาการ จัดทำขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1901 โดย H.W. Wilson Company <p>ตัวอย่าง Reader's Guide to Periodical Literature <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Readers-Guide.jpg" alt="Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>วิธีการใช้ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Sample-Readers-Guide.jpg" width="640" higth="200" alt="How to Use Readers' Guide to Periodical Literature"> <p>ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งเป็น 2 ฐานข้อมูล คือ Readers' Guide to Periodical Literature ซึ่งครอบคลุมข้อมูลตั้งแต่ปี 1983 ถึงปัจจุบัน (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-to-periodical-literature) และ Readers' Guide Retrospective: 1890-1982 ครอบคลุมข้อมูลของปี 1890-1982 (http://www.ebscohost.com/academic/readers-guide-retrospective) <p>2. ใช้ค้นเรื่องที่ลงในวารสารชื่อเรื่องใดชื่อเรื่องหนึ่ง อาจเป็นสำนักพิมพ์ที่จัดพิมพ์วารสารนั้นๆ จัดทำขึ้น เช่น ดรรชนีราชกิจจาบุเบกษา <p>3. ใช้ค้นเรื่องในสาขาเฉพาะที่ตีพิมพ์ในวารสาร เช่น Applied Science & Technology Index ปัจจุบันได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลออนไลน์ โดย EBSCO <p>รายการอ้างอิง: <p>ทัศนา หาญพล. "การทำดรรชนี" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ หน้า 224-248. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. <p>City College of San Francisco. Finding Periodical Articles Using Print Indexes. Available: http://www.ccsf.edu/Librar/printindexes.pdf. Accessed: 20120416.[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ห้องสมุดประชาชน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดรรชนีสัมพันธ์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดรรชนีหัวแม่มือ, ดรรชนีริมกระดาษ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดรรชนีชื่อเรื่อง, Example:<p>เป็นการทำดรรชนีโดยการนำชื่อเรื่องของหนังสือ บทความ และเอกสารอื่นๆ มาลงรายการดรรชนีเป็นรายการหลัก และปรากฏอยู่ที่ท้ายเล่มของดรรชนีของหนังสือ ดรรชนีวารสาร และดรรชนีหนังสือพิมพ์ หรือปัจจุบันมีการทำดรรชนีชื่อเรื่องให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตด้วย <p>ตัวอย่าง ดรรชนีชื่อเรื่อง ของวารสารประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p><p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Pop-Ti-Index.jpg" width="640" higth="200" alt="Population Science Title Index"> <p>ตัวอย่าง การให้บริการดรรชนีชื่อเรื่องทางอินเทอร์เน็ตของ TDRI <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti2.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index"> <p>การทำดรรชนีชื่อเรื่องเป็นลักษณะฐานข้อมูลและให้บริการทางอินเทอร์เน็ตนั้น เอื้ออำนวยเป็นอย่างมากในการเชื่อมโยงไปยังแหล่งข้อมูลโดยตรง <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-TDRI-Ti-Full-Text.jpg" width="640" higth="200" alt="TDRI Title Index Full Text"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เป็นเมรุที่ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ เมื่อตายใช้ราชาศัพท์ว่า ทิวงคต หรือสิ้นพระชนม์โดยที่ภายในพระเมรุไม่มีพระเมรุทอง[ศัพท์พระราชพิธี]
อะฟลาทอกซิน เป็นสารพิษชนิดหนึ่งที่ผลิตโดยเชื้อราแอสเปอร์จิลลัสฟลาวัส และแอสเปอร์จิลลัส พาราวิติกัส[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
โภชนเภสัช[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ยานชนิดคานหามของหลวง, เรียกว่า พระยานก็มี เช่น พระยานมาศ, เรียกว่า พระราชยาน ก็มี เช่น พระราชยานกงพระราชยานถม, เรียกว่า พระที่นั่งราชยาน ก็มี เช่น พระที่นั่งราชยานพุดตานทอง, หรือเรียกเป็นอย่างอื่นก็มีคือ พระที่นั่งราเชนทรยาน[ศัพท์พระราชพิธี]
ยานพาหนะชนิดล้อเลื่อน มีบุษบกเป็นเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ ในปัจจุบันมีอยู่ ๒ คันคือ พระมหาพิชัยราชรถ กับ เวชยันตราชรถ ใช้ประดิษฐานพระบรมโกศและพระโกศ[ศัพท์พระราชพิธี]
วิธีโฟลว์ ไซโตเมทรี คือ วิธีมาตรฐานที่ใช้ในการตรวจนับจำนวนเม็ดเลือดขาวชนิดซีดี 4[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เครื่องสูงชนิดหนึ่งมีรูปคล้ายร่มที่ซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้นๆ ชั้นบนมีขนาดเล็กกว่าชั้นล่างลดหลั่นกันไปโดยลำดับ สำหรับแขวน ปัก ตั้ง หรือเชิญเข้ากระบวนแห่เป็นเกียรติยศ (ชั้นของฉัตรต้องเป็นชั้นคี่ คือ ๓ ชั้น ๕ ชั้น ๗ ชั้น และ ๙ ชั้น)[ศัพท์พระราชพิธี]
ตาย (ใช้แก่เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า และสมเด็จพระ-สังฆราช)[ศัพท์พระราชพิธี]
ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้ในราชาศัพท์สําหรับพระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และพระบรมราชวงศ์ที่ทรงได้รับพระราชทานฉัตร ๗ ชั้น). (ส. สฺวรฺค + คต ว่า ไปสู่สวรรค์)[ศัพท์พระราชพิธี]
กระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร"[ศัพท์พระราชพิธี]
คำเรียกพระราชชนนี[ศัพท์พระราชพิธี]
สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็น บำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราช-อิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำ ความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด[ศัพท์พระราชพิธี]
ชื่อแตรชนิดหนึ่งใช้ในพิธีหลวง; ชื่อดาวฤกษ์อุตราษาฒ[ศัพท์พระราชพิธี]
ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธี หรือประดิษฐานปูชนียวัตถุเช่นพระพุทธรูป เป็นต้น มณฑปขนาดเล็กแต่ด้านข้างโปร่ง[ศัพท์พระราชพิธี]
กระจก, เรียกพระแท่นที่ประดับกระจกว่า พระแท่นแว่นฟ้า เรียกพานที่ซ้อนกัน ๒ ชั้น ชนิดหนึ่งประดับมุกหรือกระจกเป็นต้นใบบนเป็นพานทรงสูงซ้อนกันอยู่บนตะลุ่ม อีกชนิดหนึ่งทําด้วยโลหะจําหลักลายกะไหล่ทองใบบนเป็นพานเล็กซ้อนอยู่บนพานใหญ่ว่า พานแว่นฟ้า[ศัพท์พระราชพิธี]
หอสูงรูปสี่เหลี่ยมหลังคาทรงยอดเกี้ยว ประดับดอกไม้ไฟนานาชนิดเช่น พลุ ตะไล จรวดใช้จุดในงานพระราชพิธี[ศัพท์พระราชพิธี]
ชนิดพันธุ์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เครื่องสูงชนิดหนึ่ง เป็นรูปฉัตร ๓ ชั้น มีสายไหมห้อย[ศัพท์พระราชพิธี]
เป็นคำเรียกวันทำบุญครบรอบ ๗ วัน ของผู้วายชนม์[ศัพท์พระราชพิธี]
เป็นคำเรียกวันทำบุญครบ ๑๐๐ วันของผู้วายชนม์[ศัพท์พระราชพิธี]
[ กฺลด ] น. ร่มขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ขอบร่มมีระบาย คันยาวกว่าก้านร่ม ใช้ถือกั้นเจ้านาย หรือพระภิกษุที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์, ราชาศัพท์ว่า พระกลด, เรียกร่มขนาดใหญ่มีด้าม สำหรับพระธุดงค์โดยเฉพาะ, เรียกดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ที่มีแสงสีรุ้งเป็นวงกลมล้อมรอบว่า ดวงอาทิตย์ทรงกลด ดวงจันทร์ทรงกลด. (ข. กฺลส).[ศัพท์พระราชพิธี]
การผสมผลิตภัณฑ์น้ำมันชนิดต่างๆ ที่เหมาะสมเข้าด้วยกัน, Example:เพื่อให้ได้ชนิดและคุณภาพของน้ำมันตามความต้องการของตลาดและมีคุณสมบัติตามมาตรฐานที่กำหนด[ปิโตรเลี่ยม]
การปรับเทียบพลังงานชนิดต่างๆ, การปรับเทียบพลังงานชนิดต่างๆ เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ให้เทียบเท่าน้ำมันดิบ, Example:ตัวอย่างเช่น ก๊าซธรรมชาติ 1 ล้านลูกบาศก์ฟุต เทียบเท่าน้ำมันดิบ 174.4 บาร์เรล หรือ ก๊าซธรรมชาติเหลว 1 บาร์เรล เทียบเท่าน้ำมันดิบ 0.9096 บาร์เรล หรือ ถ่านหินลิกไนท์ 1 เมตริกตัน เทียบเท่าน้ำมันดิบ 2.053 บาร์เรล[ปิโตรเลี่ยม]
สิทธิในการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง, สิทธิในการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ที่รัฐอนุญาตให้เอกชนมาดำเนินการได้ภายใต้สัญญาสัมปทาน[ปิโตรเลี่ยม]
ราคาซื้อขายน้ำมันดิบโดยใช้วิธีอิงราคาน้ำมันดิบตลาดโลก, ราคาซื้อขายน้ำมันดิบโดยใช้วิธีอิงราคาน้ำมันดิบตลาดโลก ที่มีคุณภาพใกล้เคียงกันหลายๆชนิด[ปิโตรเลี่ยม]
สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยมีธาตุสองชนิดเป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่คาร์บอนและไฮโดรเจน โดยอาจมีหรือไม่มีธาตุอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยู่ด้วยก็ได้, Example:ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของปิโตรเลียมเอง และความร้อน ตลอดจนความกดดันตามสภาพแวดล้อมที่ปิโตรเลียมนั้นถูกกักเก็บไว้ แบ่งตามสถานะสำคัญทางธรรมชาติได้ 2 ชนิด คือ น้ำมันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติ[ปิโตรเลี่ยม]
กระบวนการที่ทำให้โมเลกุลขนาดใหญ่ของสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนักแตกตัวเป็นโมเลกุลที่เล็กลง, Example:เป็นการทำให้น้ำมันหนักแตกตัวให้เป็นน้ำมันเบาที่มีมูลค่าสูงขึ้น ถ้าทำให้โมเลกุลแตกตัวด้วยความร้อน เรียกว่า Thermal cracking ถ้าแตกตัวโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่า catalytic (cat) cracking และถ้ากระบวนการ cat cracking เกิดขึ้นในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจน เรียกว่า hydrocracking[ปิโตรเลี่ยม]
การเก็บผลประโยชน์พิเศษจากกำไรส่วนเกิน, Example:การเก็บผลประโยชน์พิเศษจากกำไรส่วนเกิน ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษนี้ได้กำหนดให้มีขึ้นตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้รัฐได้รับส่วนแบ่งผลประโยชน์มากยิ่งขึ้น (นอกเหนือไปจากค่าภาคหลวงและภาษีที่ได้รับอยู่ตามปรกติ) ในกรณีของการที่ผู้รับสัมปทานพบแหล่งปิโตรเลียมขนาดใหญ่ หรือได้รับประโยชน์จากการที่น้ำมันดิบในตลาดโลกมีราคาสูงขึ้นอย่างฉับพลันหรือมีต้นทุนการสำรวจและผลิตต่ำ การคำนวณผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษจะกระทำเป็นรายปีจากจำนวน "กำไรปิโตรเลียม" ก่อนหักภาษีเงินได้ปิโตรเลียม หากปีใดไม่มี "กำไรปิโตรเลียม" เกิดขึ้นก็ยังไม่มีภาระต้องเสีย และ "จำนวนขาดทุนปิโตรเลียม" ในปีนั้น ก็สามารถยกยอดไปหักจากรายได้ในปีต่อๆไปได้จนกว่าจะหมด[ปิโตรเลี่ยม]
แอลกอฮอล์ที่ได้จากกระบวนการหมัก, เอทานอล หรือ เอทิลแอลกอฮอล์ (ethy alcohol) คือ แอลกอฮอล์ที่ได้จากกระบวนการหมัก (fermentation) พืชทุกชนิดและผลิตภัณฑ์ของพืชบางชนิด, Example:คือ แอลกอฮอล์ที่ได้จากกระบวนการหมัก (fermentation) พืชทุกชนิดและผลิตภัณฑ์ของพืชบางชนิด ได้แก่ อ้อย น้ำตาล กากน้ำตาล กากอ้อย บีทรูท (หัวผักกาดหวาน) แป้ง มันสำปะหลัง มันเทศ ธัญพืชต่างๆ เช่น ข้าวโพด ข้าว ข้าวสาลี ข้าวฟ่าง ผลไม้ ต้นไม้ ขี้เลื่อย และทุกส่วนของพืชสามารถผลิตแอลกอฮอล์ได้ทั้งสิ้น รวมทั้งเซลลูโลส และเฮมิเซลลูโลส ของพืชทุกชนิด เป็นต้น เอทานอลที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงจะต้องมีความบริสุทธิ์ของแอลกอฮอล์ตั้งแต่ 95% โดยปริมาตร (denatured alcohol) ซึ่งจะเป็นเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทสูงเพราะมีออกซิเจนสูงถึง 35% โดยน้ำหนัก ดังนั้น หากผสมเอทานอลในน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วด้วยอัตราที่เหมาะสมแล้ว จะทำให้ได้น้ำมันเชื้อเพลิงที่สะอาดและเผาไหม้ได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดการเกิดมลพิษในอากาศ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อสภาวะแวดล้อมอีกด้วย การใช้เอทามนอลเป็นเชื้อเพลิง นอกจากจะช่วยลดการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงและสารเติมแต่ง เช่น MTBE จากต่างประเทศแล้ว ยังเป็นการเปิดตลาดใหม่ให้กับพืชผลทางการเกษตร ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรมีทางเลือกและมีรายได้เพิ่มมากขึ้นด้วย[ปิโตรเลี่ยม]
การเผาก๊าซทิ้ง, การเผาก๊าซทิ้งซึ่งเป็นก๊าซส่วนเกินที่ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์หรือไม่ได้นำมาซื้อขาย หรือเนื่องมาจากเหตุผลทางเทคนิค[ปิโตรเลี่ยม]
วิสัยสามารถในการนำไปใช้ประโยชน์[เศรษฐศาสตร์]
พืชน้ำ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]