214 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ยินยอม*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ยินยอม, -ยินยอม-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)consentSee Also:agree, assent, approval, allowSyn.ยอม, ตามAnt.ขัดขวาง, ขัด, ขัดขืน, ปฏิเสธExample:การหย่าร้างจะมีขึ้นได้เมื่อคู่กรณีทั้ง 2 ฝ่ายยินยอมThai Definition:คล้อยตามและยอมให้เป็นเช่นนั้น
(n)consentExample:เจ้าของบัญชีจะต้องให้คำยินยอมเป็นหลักฐานต่อธนาคารThai Definition:ถ้อยคำยอมตามอย่างไม่ขัด
(n)agreementSee Also:consentSyn.ความยินยอมพร้อมใจAnt.ความดื้อ, ความดื้อรั้นExample:การกระทำนี้เป็นความยินยอมของทั้ง 2 ฝ่าย
(n)consentSee Also:permission, approval, agreement, compliance, acquiescenceSyn.ความยินยอมAnt.ความดื้อ, ความดื้อรั้นExample:พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติด้วยความยินยอมพร้อมใจของประชาชนชาวไทย
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. ยอม, ไม่ขัด, ตกลง, ชอบใจ, ตาม.
ก. เห็นด้วยร่วมกัน.
(กฺรมมะทัน) น. เอกสารสัญญาซึ่งทำขึ้นตามที่กฎหมายกำหนด เช่น เอกสารที่ทาสลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน สัญญาขายฝากที่ไร่ที่สวน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน (สามดวง).
เรียกหญิงที่บิดามารดายินยอมยกให้เป็นภรรยาชาย ว่า เมียกลางเมือง. (สามดวง)
ว. เชื่อง่าย, ยินยอมง่าย.
ก. ยินยอมพร้อมใจ, ปลงใจ.
ดำเนินตาม, เอาอย่าง, ยินยอม, คล้อยตาม, เช่น ขอท้าวบันโดยจิตรตูข้า (สมุทรโฆษ), ผูกจิตรจาบัลย์ จักเบี่ยงบันโดยใดมี (สรรพสิทธิ์).
น. การที่พนักงานสอบสวนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายกำหนดค่าปรับผู้กระทำผิดในคดีอาญาที่กฎหมายกำหนดให้เปรียบเทียบปรับได้ เมื่อผู้กระทำผิดยินยอมเสียค่าปรับแล้ว คดีอาญาเป็นอันเลิกกัน.
น. บุคคลซึ่งตามกฎหมายมีสิทธิที่จะทำการแทน ให้คำอนุญาต หรือให้ความยินยอม แก่บุคคลผู้มีความสามารถบกพร่อง ในอันที่จะทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติ.
น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ.
ก. มอบธุระไว้ด้วยความไว้วางใจ, ยินยอมให้ทำแทนโดยมีหลักฐาน, (กฎ) ดู มอบอำนาจ.มอบอำนาจ.
ก. ไม่ตกลงด้วย, ไม่ยินยอม.
น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น.
น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด.
(สะมาพันทะ-) น. รัฐหลาย ๆ รัฐที่รวมกันเพื่อประโยชน์ร่วมกันบางอย่าง โดยมีข้อตกลงระหว่างกันให้มีรัฐบาลกลาง และให้มีอำนาจหน้าที่เฉพาะกิจการบางอย่างที่รัฐสมาชิกยินยอมมอบหมายให้เท่านั้น, ปัจจุบันไม่มีแล้ว.
ก. ให้โดยยินยอม, ให้ด้วยความเต็มใจ, เช่น ทหารเสียสละชีวิตเพื่อปกป้องเอกราชของชาติ พ่อแม่เสียสละทุกสิ่งทุกอย่างได้เพื่อลูก.
ก. ยินยอม, ยอมให้, ตกลง.
น. คำพูดแสดงความยินยอมหรือแสดงความประนีประนอม.
ก. ยินยอม ท้าทาย หรือยุให้ทำ.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ด้วยความยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การต่อสู้คดีบุกรุกว่าได้รับความยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
โดยไม่ยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ตกลง, ยินยอม, ข้อตกลง๒. ข้อตกลงทางการระหว่างประเทศ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. ข้อตกลง๒. ตกลง, ยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
โดยความยินยอมร่วมกัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยินยอมร่วมกัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยินยอมร่วมกัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยินยอมของเจ้าทุกข์[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตรวจค้นโดยความยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยินยอมเป็นเอกฉันท์[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การตกลงยินยอม, การตกลงประนีประนอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ด้วยคำแนะนำและยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกลับคำพิพากษาที่ผิดพลาด (โดยความยินยอมของฝ่ายชนะคดี)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การหย่าโดยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยินยอมโดยปริยาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หนังสือยินยอมให้ครอบครองที่ดินชั่วชีวิต[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำด้วยความยินยอมไม่ถือว่าเป็นความเสียหาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความคลาดเคลื่อนยินยอม[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
การยินยอมโดยปริยาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความยินยอมเป็นเอกฉันท์[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ด้วยความยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
โดยคำแนะนำและยินยอม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ด้วยคำแนะนำและยินยอม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ยินยอม ยอมให้Example:คำที่มักเขียนผิด คือ อนุญาติ[คำที่มักเขียนผิด]
ความยินยอม (กฎหมาย)[TU Subject Heading]
ความยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว (กฎหมายการแพทย์)[TU Subject Heading]
ภาคยานุวัติ หมายถึง การให้ความยินยอมที่จะผูกพันตามสนธิสัญญาภายหลังจากที่มีการลงนามในสนธิ สัญญาไปแล้ว[การทูต]
ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique?[การทูต]
การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวรทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน[การทูต]
การปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐที่สาม (A Third State) ในเรื่องนี้ข้อ 7 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้ระบุว่า?เมื่อได้บอกกล่าวให้รัฐที่เกี่ยวข้องทราบ แล้ว รัฐูผู้ส่งอาจมอบหมายให้สถานีที่ทำการทางกงสุลที่ได้ตั้งอยู่ในรัฐหนึ่งโดย เฉพาะปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในอีกรัฐหนึ่งได้ นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดเจนโดยรัฐหนึ่งในบรรดารัฐที่เกี่ยวข้อง?นอกจาก นี้ สถานที่ทำการทางกงสุลยังอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลแทนรัฐที่สามได้ เรื่องนี้ข้อ 8 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้กำหนดว่า เมื่อบอกกล่าวอย่างเหมาะสมแก่รัฐผู้รับแล้ว สถานที่ทำการทางกงสุลของรัฐผู้ส่งอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐผู้รับ แทนรัฐที่สามได้ นอกจากรัฐผู้รับนั้นจะคัดค้าน และพนักงานฝ่ายกงสุลอาจปฏิบัติการหน้าที่ของตนนอกเขตกงสุลได้ในพฤติการณ์ พิเศษ และด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อ 6 แห่งอนุสัญญากรุงเวียนนา อย่างไรก็ดี ยังไม่มีความเห็นเป็นเอกฉันท์ที่จะให้พนักงานฝ่ายกงสุลปฏิบัติการหน้าที่ทาง กงสุลนอกเขตกงสุล ฝ่ายที่เห็นด้วยว่าควรปฏิบัติการนอกเขตกงสุลได้ อ้างว่า การใช้เอกสิทธิ์เช่นนั้นเป็นการชอบแล้ว ด้วยเหตุผลที่ว่า อาจจะมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้นในสถานที่นอกเขตกงสุล ซึ่งเป็นความจำเป็นที่พนักงานฝ่ายกงสุลจะได้ให้บริการในทันที่ที่มีการแจ้ง โดยกะทันหัน[การทูต]
เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?[การทูต]
รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง[การทูต]
ตราสารรับรอง " เป็นหนังสือรับรองว่ายินยอมที่จะผูกพันทางสนธิสัญญาหลังจาก ลงนามในสนธิสัญญาแล้ว "[การทูต]
สัตยาบันสาร " เป็นหนังสือแสดงความยินยอมที่จะผูกพันทางสนธิสัญญาหลังจาก ลงนามในสนธิสัญญาแล้ว "[การทูต]
คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ?[การทูต]
หนังสือแสดงความยินยอม[การทูต]
ยินยอมร่วมกัน[การทูต]
การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง "[การทูต]
การให้สัตยาบันของรัฐซึ่งเป็นการให้ความยินยอมของรัฐ เพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา[การทูต]
การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ[การทูต]
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ[การทูต]
กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย[การทูต]
การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น[การทูต]
การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก?[การทูต]
หนังสือยินยอมชดใช้ค่าเสียหาย[การบัญชี]
การยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร[การแพทย์]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kān yā dōi khwām yinyøm] (n, exp) FR: divorce à l'amiable [ m ]
[kān yā dōi khwām yinyøm (khøng) thang søng fāi] (n, exp) FR: divorce par consentement mutuel [ m ]
[kān yinyøm] (n) EN: approval
[khwām yinyøm] (n) EN: agreement ; consent  FR: agrément [ m ]
[khwām yinyøm dōi pariyāi] (n, exp) EN: implied consent
[khwām yinyøm phrømjai] (n, exp) EN: consent
[khwām yinyøm ruam kan] (n, exp) EN: mutual consent
[yinyøm] (v) EN: agree ; consent to ; allow ; acquiesce to/in ; permit ; allow  FR: consentir à ; acquiescer
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(vi)เห็นด้วยSee Also:ยินยอม, ยอมรับSyn.agree, consent
(n)ข้อความที่แสดงการยินยอมSee Also:ข้อความที่แสดงการเห็นพ้อง
(adj)ซึ่งแสดงถึงการยินยอมSee Also:ซึ่งเห็นพ้องSyn.agreeing, affirmingAnt.negative
(vi)ตกลงSee Also:ยอมรับ, ยินยอม
(vt)อนุญาตSee Also:ยินยอม, ปล่อย, ยอมSyn.permit, let, grant
(adv)ซึ่งยินยอมได้Syn.admittedly
(vi)เห็นด้วยSee Also:ยอมรับ, ยินยอมSyn.agree, concur
(phrv)ยอมทำตามSee Also:ยอมรับ, ยินยอมรับSyn.succeed to
(phrv)ยินยอมให้ตามกฎหมาย (มักเป็นเงิน)See Also:ยอมให้, อนุญาตให้
(phrv)ยินยอมให้ลุกจากเตียง (คนป่วย)See Also:ยอมให้, อนุญาตให้Syn.permit up
(phrv)ยินยอมให้กับSee Also:ยอมอ่อนข้อให้Syn.bow to
(phrv)ยินยอมให้กับSee Also:ยอมอ่อนข้อให้Syn.bow before
(phrv)อนุญาตให้See Also:ยินยอมให้เกิดหรือมีSyn.agree to
(phrv)ตัดสินให้See Also:ยินยอมให้Syn.agree on, decide against, determine on, settle on
(phrv)ตัดสินให้See Also:ยินยอมให้Syn.agree on, decide against, determine on, settle on
(phrv)ไม่ยินยอมชำระหนี้See Also:ไม่จ่ายหนี้
(phrv)ไม่ยินยอมในเรื่องSee Also:ไม่สมัครใจในเรื่อง
(phrv)ไม่ยินยอมในเรื่องSee Also:ไม่สมัครใจในเรื่อง
(vt)ไม่สมัครใจSee Also:ไม่เต็มใจ, ไม่ยินยอมSyn.unwilling
(vt)ขึ้นเครื่องบินSee Also:ยินยอมให้ขึ้นเครื่องบินSyn.enplane
(vi)ขึ้นเครื่องบินSee Also:ยินยอมให้ขึ้นเครื่องบินSyn.enplane
(phrv)ยอมให้See Also:ยินยอมSyn.give over to, give to
(phrv)ยอมมอบให้กับSee Also:ยินยอมส่งให้กับSyn.give up, give up to
(phrv)ยอมยกให้See Also:ยินยอมให้Syn.deliver over, give over
(adv)อย่างเยินยอมากไปSee Also:อย่างพูดพล่าม
(adj)ซึ่งเยินยอมากไปSee Also:ที่พูดพล่ามSyn.effusive, sentimentalAnt.unsentimental
(adj)ไม่ยอมโอนอ่อนผ่อนตาม (คำทางการ)See Also:ไม่ยินยอม, ไม่อนุโลมAnt.compliant
(phrv)ยินยอมSee Also:เห็นด้วย
(n)การไม่ยินยอมตามSee Also:การปฏิเสธSyn.disobedienceAnt.obedience, submission, compliance
(vt)ยินยอมทำตาม (ทางกฎหมายหรือประเพณี)Syn.comply, obeyAnt.disobey
(vt)ยินยอมSee Also:อนุมัติ, ยอมรับ
(n)ความยินยอมSee Also:การอนุญาต, การยินยอมSyn.license, permit
(sl)ฉันจะยอมทำตามที่ (คุณ) บอกSee Also:ฉันยินยอมให้ คุณรับผิดชอบ
(sl)ได้รับการยินยอมSyn.got the nod
(sl)ได้รับการยินยอมSyn.get the nod
Hope Dictionary
(แอคซีด') vt. เห็นด้วย, รับคำ, ยอมตาม, เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ, ยินยอม, กำลังจะมาถึง, กำลังครอบงำ, เข้าร่วม. -accedence n.
(แอค' ควิเอส) vi. ยอมรับในใจ, ยินยอม, นิ่งเฉย. -acquiescence n.,
(แอดมิส' ซิฟว) adj. ยินยอมรับ
ขัดอายุอย่างต่ำที่หญิงยินยอมชายได้ในการแต่งงานหรือร่วมเพศ
(อะกรี') vt., vi. ตกลง, เห็นพ้อง, ยอมรับ, เห็นด้วย, ยินยอม, สนับสนุน, ตกลงกำหนด, เข้ากันได้, ลงรอย, เหมือน, เหมาะ สมกับ. -agreeingly adv.Syn.concur, comply, assent
(อะกรี' เมินทฺ) n. การตกลง, การยินยอม, การเห็นด้วย, ข้อตกลง, สัญญา, ความเห็น ตรงกันSyn.pact, consent, alliance
(อะเลา' อะเบิล) adj. ซึ่งยอมได้, ซึ่งยินยอมได้. -allowableness n.
(อะเลา' เอินซฺ) n. การยินยอม, การอนุญาตให้, สิ่งที่ได้รับส่วนแบ่ง, เงินส่วนแบ่ง, เงินช่วยเหลือ, เงินค่าใช้จ่าย, ส่วนเสริม, การอดทน, การยอมรับ, การพิจารณา, การให้อภัย. vt. เพื่อให้, จัดให้, จัดสรรSyn.share, allotment
(อะเลา' อิดลี) adv. ซึ่งยินยอมได้
(แอพระเบ'เชิน) n. การเห็นด้วย, การแนะนำ, การยินยอม, ความรู้สึกพอใจต่อ.
(อะเซนทฺ') vi. ตกลง, ยินยอม, ยอมรับ. -n. การตกลง, การยินยอม. -assentation n. -assentive adj.Syn.concur, agree, allowAnt.dissent, disagree, denial
(อะเซน'เทอะ) n. ผู้ตกลง, ผู้ยินยอม
(อะเซน'เทอะ) n. ผู้ตกลง, ผู้ยินยอม
(อะเวิร์ส') adj. คัดค้าน, ไม่ชอบ, รังเกียจ, ไม่ยินยอม, ไม่สมัครใจ, หันไปด้านตรงกันข้ามกับต้นSyn.opposed, hostile
(บรูค) { brooked, brooking, brooks } n. ห้วย, ลำธาร vt. ทนทุกข์, ยินยอมให้มี, ทน, ยินยอม
(แคน) auxv. สามารถ, อนุญาต, ยินยอม, อยากจะ -Phr. (cannot but จำเป็นต้อง จักต้อง, ไม่มีทางที่จะไม่) n. กระป๋อง, ภาชนะโลหะที่ปิดมิดชิด, ถังใส่ขยะ, ภาชนะใส่ขี้เถ้า, ถัง, ถ้วยดื่ม, ห้องน้ำ, คุก, ตะโพก, ก้น -Id. (carry the can รับผิดแทน) vt. ใส่กระป๋องแล้วปิดมิดชิด, ไล่ออก,
(คะพิช'ชุเลท) { apitulated, apitulating, apitulates } vi. ยอมแพ้, ยินยอมSee Also:capitulant n. ดู capitulate, capitulator n. ดู capitulateSyn.surrender
(คัมไพล'เอินซฺ) n. การยินยอม, การยอมให้, การอ่อนข้อให้, การร่วมมือ, การเชื่อฟังSyn.agreement
(คัมไพล'เอินทฺ) adj. ซึ่งยินยอม, ซึ่งยอมตาม, ซึ่งเชื่อฟังSyn.complaisant
(คัมไพล') { complied, complying, complies } vi. ทำตาม, ยินยอมSee Also:complier n. ดูcomplySyn.confirm, yield
(คันซีด') { conceded, conceding, concedes } vt. ยอมรับ, ยินยอม, ยอมให้, ยอมตาย. vi. ยอมอ่อนข้อให้, ยอมSee Also:conceder n. ดูconcedeSyn.yield, assentAnt.deny
(คันเซส'เชิน) n. การยินยอม, การยอมอ่อนข้อให้, สิ่งที่ยินยอม, เรื่องที่ยินยอม, สัมปทาน, สิ่งที่ยอมยกให้หรือโอนให้, เขตเช่าSyn.yielding, compromise, admission
(คันเซส'ซิฟว) adj. มักยินยอม, ซึ่งยอมอ่อนข้อให้
(คะไนฟ'เวินซฺ) n. การยินยอมแบบเอาหูไปนาเอาตาไปไร่, การอนุญาตอย่างลับ ๆ , การส่งเสริมอย่างลับ ๆSee Also:connivan adj. ดูconnivance conniven adj. ดูconnivanceSyn.connivence.
(คะไนฟว') { connived, conniving, connives } vi. ยินยอมลับ ๆ , ยินยอมในที่, อนุญาตลับ ๆ , ร่วมมืออย่างลับ ๆ , หลิ่วตา.See Also:conniver n. ดูconnive connivingly adv. ดูconniveSyn.conspire
(คันเซนทฺ') { consented, consenting, consents } n. การอนุญาต, ความเห็นชอบ, การยินยอม. vt. อนุญาต, เห็นชอบ, ยินยอม -Id. (Silence gives consent การนิ่งเฉยคือการเห็นด้วย)Syn.complianceAnt.dissent
(ดิส'อินไคลน) vt. ทำให้ไม่ยินยอม, ทำให้ไม่เต็มใจ, ไม่ยินยอม, ไม่สมัครใจ, ไม่เต็มใจ
ฟรีแวร์ของฟรีหมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่แม้จะจดทะเบียนลิขสิทธิ์เอาไว้ แต่ก็ยินยอมให้มีการคัดลอกเอาไปใช้ได้อย่างเสรี โดยไม่คิด เงิน (ต่างกับ public domain ซึ่งไม่มีการจด ทะเบียนใด ๆ เลย ใครจะคัดลอกหรือนำไปใช้ ก็สามารถทำได้ทั้งสิ้น)
n. การยินยอมให้แก่กันSyn.reciprocity
adj. ยึดมั่นในหลักการ, ไม่ยินยอม, ไม่ประนีประนอมSyn.unyielding
(อินคัมไพล' เอินทฺ) adj. ไม่ยอม, ไม่ยินยอม, ไม่อนุโลม.See Also:incompliance, incompliancy n.
(อินดัล'เจินทฺ) adj. หมกมุ่น, ตามใจตัว, ปล่อยตัว, ยินยอม, หลงผิด, ดื่ม, ซ่องเสพสุขอย่างไม่ลืมตาSyn.pamperingAnt.displined
(อินดัลทฺ') n. การยินยอมจากองค์สันตะปาปาให้ได้รับการยกเว้นจากกฎของศาสนาโรมันคาธอลิค
(ลีฟ) n. อย่างดีใจ, อย่างเต็มใจ adj. เต็มใจ, ต้องการ, สมัครใจ, ยินยอม, เป็นที่รัก.
สถาปัตยกรรมเปิดหมายถึง แนวคิดที่จะทำให้การออกแบบและการสร้างคอมพิวเตอร์เป็นความรู้ที่เป็นสาธารณะโดย ยินยอมให้บริษัทต่าง ๆ นำไปผลิตขายได้ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การพัฒนาการสร้างคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นไปเรื่อย ๆ
(พีดีเอส) ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรี หมายถึงผู้สร้างซอฟต์แวร์นั้น ๆ ยินยอมให้คนทั่วไปคัดลอกไปใช้ได้ ไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ดู public domain ประกอบ
(เพอมิช'เชิน) n. การอนุญาต, การอนุมัติ, การยินยอม, ใบอนุญาต, ใบอนุมัติ
(เพอมิส'ซิฟว) adj. ซึ่งอนุญาต, ซึ่งอนุมัติ, ซึ่งยินยอม, ตามใจ, ตามแต่เห็นสมควรSee Also:permissiveness n.Syn.tolerant, lenient, lax
(เพอมิท') vt., vi. อนุญาต, อนุมัติ, ยินยอม, เปิดโอกาส, ตกลง. n. ใบอนุ-ญาต, ใบอนุมัติ, ใบยินยอม, การอนุญาต.See Also:permitter n. permiter n.Syn.tolerate, allow, grant, permissionAnt.forbid
n. ที่ดินของรัฐ, สิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวรรณกรรมที่สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์หมดอายุ, สาธารณสมบัติ, ของสาธารณะหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นแล้วผู้สร้างหรือเจ้าของยินยอมให้ใคร ๆ มาคัดลอกนำไปใช้ได้ โดยไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ เช่น โปรแกรม Cuwriter ในระบบเครือข่าย จะมีกลุ่มโปรแกรมกลุ่มหนึ่งเรียกว่า PDS ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรีต่าง ๆ ที่ใคร ๆ ก็สามารถคัดลอกไปใช้ได้
(เรด'ดิเนส) n. ความพร้อมเพรียง, การเตรียมพร้อม, ความรวดเร็ว, ความฉับพลัน, ความง่ายดาย, ความเต็มใจ, ความยินยอมSyn.promptness, willingness
(สทูพ) vi., vt., n. (การ) ก้ม, ก้มลง, โค้ง, โก้งโค้ง, ห่อตัว, ยืนย่อตัว, ถ่อมตัว, (เหยี่ยว) ถลาลง, โฉบลง, ลดลง, ยอม, ยินยอม, ท่าก้ม, ท่าโค้งลง, การถ่อมตัว, การโฉบลง.See Also:stooper n. stoopingly adv.Syn.nod, bend, kneel, bow
(ซัพ'เพิล) adj., vt., vi. (ทำให้, กลายเป็น) นิ่มนวล, นุ่ม, อ่อนลง, ปวกเปียก, งอโค้งได้ง่าย, เปลี่ยนใจได้ง่าย, ยินยอม, จำนน, อ่อนข้อ, ยอมตาม, ขี้ประจบSee Also:suppleness n.Syn.pliant
(อันเบนทฺ') adj. ไม่งอ, ไม่โค้ง, ไม่ยอมแพ้, ไม่ยินยอม. vi., vt. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ unbend -S., unbowed
(ยีล'ดิง) adj. ยอม, ยินยอม, ให้ผลSee Also:yieldingly adv. yieldingness n.
Nontri Dictionary
(vi, vt)สอดคล้อง, เห็นด้วย, ยินยอม, ให้
(vi)ยินยอม, ยอมรับ, สงบปากสงบคำ, นิ่งเฉย
(n)การยินยอม, การยอมรับ, การสงบปากสงบคำ, การนิ่งเฉย
(vt)เห็นด้วย, ตกลง, ยินยอม, ถูกต้อง, เข้ากันได้
(n)การเห็นด้วย, การตกลง, ความยินยอม, ข้อตกลง, สัญญา
(n)การอนุญาต, การยินยอม, การให้อภัย, การลดราคา
(n)การเห็นชอบ, การเห็นด้วย, การยินยอม, การอนุมัติ
(n)การยินยอม, การเห็นด้วย, การเห็นชอบ, การอนุมัติ
(vt)เห็นด้วย, เห็นชอบ, ยินยอม, อนุมัติ, อนุญาต, พอใจ, ถูกใจ
(n)การยินยอม, การเห็นพ้องต้องกัน, การยอมรับ, การตกลง
(vi)เห็นด้วย, ตกลง, ยอมรับ, ยินยอม
(vt)ยอม, ยินยอม, ยอมทน
(n)การยินยอม, การยอมจำนน, การยอมแพ้
(vi)ยินยอม, ยอมจำนน, ยอมแพ้
(n)การยกให้, การยอมให้, การยินยอม
(n)การยินยอม, การยอมตาม, การเชื่อฟัง, การอ่อนข้อ
(adj)ยินยอม, ซึ่งยอมตาม, ไม่ขัดขืน, ว่าง่าย, ซึ่งเชื่อฟัง
(vi)ยินยอม, อนุโลม, เชื่อฟัง, ไม่ขัดขืน, ว่าง่าย
(vt)ยอมรับ, ยกให้, ยอมให้, ยอมตาม, ยินยอม
(n)การยอมให้, การยินยอม, การยอมรับ, การให้เช่าที่, สัมปทาน
(n)การยินยอมในที, การทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้, ความเมินเฉย
(vi)ยินยอมในที, เอาหูไปนาเอาตาไปไร่, หลิ่วตา, เมินเฉย
(n)ความเห็นชอบ, การอนุมัติ, ความยินยอม
(vi)เห็นชอบ, อนุมัติ, ยินยอม
(n)ความไม่สมัครใจ, ความไม่เต็มใจ, ความไม่ยินยอม
(vt)ไม่สมัครใจ, ไม่เต็มใจ, ไม่ยินยอม
(vi, vt)ยอมรับ, อนุญาต, ยินยอม, ยอมให้, ตกลงตาม, มอบให้
(n)การยอม, การยินยอม, การอนุญาต, การเปิดโอกาส, การอนุมัติ
(vt)ยอม, ยินยอม, อนุญาต, เปิดโอกาสให้, อนุมัติ
(vi)ยอมราบ, ยินยอม, ประจบสอพลอ
(adj)ยอมตาม, ยินยอม, ยอมให้
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หรือ Browse-wrap Agreement หมายถึงข้อสัญญาหรือข้อกำหนดการใช้ งานเว็บไซต์ที่โพสต์ใส่ไว้ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะทำเป็น hyperlink ไว้ด้านล่างของหน้าจอ ข้อสัญญาชนิดนี้ไม่ต้องมีการคลิก I agree หรือฉันตกลง สัญญาชนิด Browse wrap จึงไม่มีการแสดงความยินยอมของผู้ใช้อย่างชัดแจ้ง เพียงแต่มีการใช้งานเว็บไซต์หรือดาวน์โหลดโปรแกรมก็ถือว่าตกลงทำสัญญาแล้วได้
(n, law)หนังสือแสดงความยินยอม
Longdo Approved JP-TH
[りょうかい, ryoukai](n)ความเข้าใจ, ความยินยอม เช่น 了解しました เข้าใจแล้วครับ, ตกลงตามนั้น
Longdo Approved DE-TH
(vi)|gab zu, hat zugegeben| ยอมรับว่าผิด, ยินยอม, ยอมรับ เช่น Ich muß zugeben, daß du viel besser kochen kannst als ich. ฉันต้องยอมรับว่าเธอสามารถทำอาหารได้ดีกว่าฉันมาก
(vt)|erlaubte, hat erlaubt, etw./jmdm. etw. zu tun| อนุญาต, ยินยอมให้ทำ เช่น Erlauben Sie mir Sie anzurufen? คุณอนุญาตให้ผมโทรไปหาคุณได้ไหมครับSee Also:A. verbieten
(n)|das, pl. Zugeständnisse| การยินยอม, การยอมอ่อนข้อให้, สิ่งที่ยินยอม, เรื่องที่ยินยอม เช่น Zugeständnisse an die Entführer kommen nicht in Frage. การยินยอมต่อตัวประกันเป็นไปไม่ได้Syn.Konzession
(vt)|gibt nach, gab nach, hat nachgegeben| ยอมทำตาม, ยินยอมให้
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ