379 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*การกระทำ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: การกระทำ, -การกระทำ-
Longdo Unapproved TH-DHAMMA - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
กุศล
(n, adj, adv)การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
คนเดียว
(jargon)ในภาษาเหนือคำนี้ จะใช้บรรยายลักษณะของการกระทำว่าเกิดขึ้น “ด้วยตัวเอง” โดยไม่เกี่ยวว่าจะมีคนทำอยู่กี่คน และใช้ได้กับทั้ง คน, สัตว์, สิ่งของหรือสถานที่ก็ได้ เช่น อยู่ๆรถเครื่องของผมมันก็ดับไปคนเดียว แปลว่า อยู่ๆรถมอเตอรไซด์ของผมมันก็ดับไปเอง
Longdo Unapproved TH-SOUTH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หลำ
[หล๋ำ](vt)มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำSee Also:S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)executionSee Also:performanceExample:การกระทำการอันอุกอาจของโจรก่อการร้ายทำให้ชาวบ้านต้องเสียชีวิตไปหลายคน
(n)social actionExample:ความสัมพันธ์ทางสังคมเริ่มด้วยการกระทำทางสังคม
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. กฎว่าด้วยการกระทำที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องทางศีลธรรม.
น. กฎหมายที่กำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น.
(กำ, กำมะ-) น. การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม.
การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ.
(กำเวน) น. การกระทำที่สนองผลร้ายซึ่งทำไว้แต่ปางก่อน, เวรกรรม ก็ว่า
ลักษณนามของความผิดอาญาแต่ละกรรมหรือแต่ละครั้ง การกระทำความผิดแต่ละกรรมหรือแต่ละครั้งนั้นถือว่าเป็นกระทงความผิดกระทงหนึ่ง เช่น การกระทำความผิดฐานลักทรัพย์หลายครั้ง การลักทรัพย์แต่ละครั้งก็เป็นกระทงความผิดกระทงหนึ่ง ๆ
ทำการใด ๆ ที่เกิดผลในทางกฎหมาย แต่การงดเว้นการกระทำใด ๆ ที่กฎหมายกำหนดให้ต้องกระทำ ก็ถือว่าเป็นการกระทำด้วย เช่น บิดามารดามีหน้าที่ดูแลบุตรซึ่งยังเล็กอยู่ การที่บิดามารดาอยู่เฉยไม่หาอาหารให้ ก็อาจถือว่าเป็นการกระทำได้.
ก. กระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำและในขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น.
น. ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงอย่างมีระเบียบ ไปสู่ผลอย่างหนึ่ง เช่น กระบวนการเจริญเติบโตของเด็ก, กรรมวิธีหรือลำดับการกระทำซึ่งดำเนินต่อเนื่องกันไปจนสำเร็จลง ณ ระดับหนึ่ง เช่น กระบวนการเคมีเพื่อผลิตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง.
(กนละ-) น. วิชาฟิสิกส์สาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเกี่ยวกับการกระทำของแรงต่อเทหวัตถุ และผลที่เกิดขึ้นแก่เทหวัตถุนั้นภายหลังที่ถูกแรงมากระทำ.
ก. พูดถึง, พูดออกชื่อและการกระทำของคนอื่น.
น. เป็นวิธีการเพื่อความปลอดภัยอย่างหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา ใช้ในการควบคุมผู้กระทำความผิดติดนิสัยไว้ภายในเขตกำหนด เพื่อป้องกันการกระทำความผิด เพื่อดัดนิสัยและเพื่อฝึกหัดอาชีพ.
ส. คำใช้แทนชื่อในลักษณะที่มีการกระทำร่วมกันหรือต่อกันโดยมีบุรพบทประกอบหน้า เช่น รักซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์ของกันและกัน.
ว. คำประกอบท้ายกริยาของผู้กระทำตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป แสดงการกระทำร่วมกัน อย่างเดียวกัน หรือต่อกัน เช่น คิดกัน หารือกัน.
น. การกระทำใด ๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมืองการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ.
ว. มีเงื่อนงำ, มีการกระทำอันมีเจตนาอื่นแอบแฝงอยู่, เช่น ป่วยการเมือง.
น. การกระทำ
(ขะยํ่า) ก. เอาปากงับกัดอย่างแรง, โดยปริยายหมายถึงการทำร้ายด้วยวาจาหรือการกระทำอย่างรุนแรง.
ก. ห้ามเชิงขอร้อง, ขอให้ละเว้นการกระทำ.
ก. ขอให้ละเว้นการกระทำ.
น. สิ่งที่นำมาอ้างสนับสนุนความคิดเห็นหรือการกระทำของตน.
ก. การกระทำเพื่อมิให้ใช้แสตมป์ได้อีกโดยขีดเส้นคร่อมฆ่าแสตมป์ที่ปิดทับกระดาษและลงวันเดือนปีที่ขีดฆ่าไว้ด้วย.
น. คดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนหรือระหว่างหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน ซึ่งเป็นข้อพิพาทอันเนื่องมาจากกระทำหรือการละเว้นการกระทำในทางปกครองของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ.
น. คดีที่เกี่ยวกับการกระทำที่กฎหมายบัญญัติว่า เป็นความผิดและมีโทษทางอาญา.
(คะรุกำ) น. กรรมหนัก มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล, การได้บรรลุฌานสมาบัติเป็นครุกรรมฝ่ายกุศล การกระทำอนันตริยกรรมเป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล.
น. สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ และกำหนดการกระทำของตนเอง.
น. สิ่งที่ให้หรือการกระทำที่ทำ เพื่อชดใช้หรือทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินหรือแก่บุคคลอันเนื่องมาจากการละเมิดหรือการผิดสัญญา รวมทั้งการคืนทรัพย์สินให้แก่ผู้เสียหายด้วย.
ก. ยอมรับการกระทำชำเราหรือยอมรับการกระทำอื่นใด หรือกระทำการอื่นใด เพื่อสำเร็จความใคร่ในทางกามารมณ์ของผู้อื่น อันเป็นการสำส่อนเพื่อสินจ้างหรือประโยชน์อื่นใด ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ยอมรับการกระทำและผู้กระทำจะเป็นบุคคลเพศเดียวกันหรือคนละเพศ.
การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งที่เชื่อกันว่าเป็นวิธีปัดเป่าหรือกันภัยหรือเหตุร้ายที่จะมีมา เช่น ต้นไม้บางชนิดไม่มีลูก เชื่อกันว่าถ้าเอามีดไปสับต้นเป็นเคล็ดแล้วจะมีลูก
การกระทำเพื่อสนองความใคร่ของผู้กระทำโดยการใช้อวัยวะเพศของผู้กระทำกระทำกับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือช่องปากของผู้อื่น หรือการใช้สิ่งอื่นใดกระทำกับอวัยวะเพศหรือทวารหนักของผู้อื่น.
น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ลักทรัพย์ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป (๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทำความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม.
ก. ทำการประทุษร้ายแก่กายหรือจิตใจของบุคคล ไม่ว่าจะทำด้วยใช้แรงกายภาพหรือด้วยวิธีอื่นใด และหมายความรวมถึงการกระทำใด ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ ไม่ว่าจะโดยใช้ยาทำให้มึนเมา สะกดจิต หรือใช้วิธีอื่นใดอันคล้ายคลึงกัน.
ให้การพาดพิงถึงบุคคลอื่นว่าได้ร่วมหรือมีส่วนในการกระทำความผิดหรือเป็นผู้กระทำความผิด.
ก. โต้กลับไป, ตอบแทนการกระทำของฝ่ายตรงข้าม, แก้แค้น.
ก. แยกตัวออกจากพวกด้วยการกระทำหรือด้วยความคิด
ทหารหรือบุคคลซึ่งทำการป้องกันหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร ตามที่กระทรวงกลาโหมหรือสำนักนายกรัฐมนตรีกำหนด.
(ทันฮีกำ) น. การกระทำให้มั่นคงขึ้น ได้แก่การที่ทำซํ้าลงไปเพื่อให้มั่นคงในกรณีที่การกระทำครั้งแรกไม่สมบูรณ์ มักใช้ในพิธีสงฆ์ เช่น พระภิกษุที่บวชในฝ่ายมหานิกาย เมื่อไปอยู่ในวัดที่เป็นธรรมยุติกนิกายบางวัดก็ต้องให้ทำทัฬหีกรรม.
น. มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การกระทำชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ รวมเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่า ทางสายกลาง
(ทารุนนะกำ) น. การกระทำอย่างโหดร้าย.
ก. ตัด ฟัน กาน โค่น ลิด เลื่อย ผ่า ถาก ทอน ขุด ชักลากไม้ในป่า หรือนำไม้ออกจากป่าด้วยประการใด ๆ และหมายความรวมถึงการกระทำดังกล่าวกับไม้สักหรือไม้ยางที่ขึ้นอยู่ในที่ดินที่มิใช่ป่า หรือการนำไม้สักหรือไม้ยางออกจากที่ดินที่ไม้นั้น ๆ ขึ้นอยู่ด้วย.
น. การกระทำกิจที่ทำได้โดยยาก ได้แก่ การทำความเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ
น. การกระทำหรือสิ่งที่ทำขึ้นใหม่หรือแปลกจากเดิมซึ่งอาจจะเป็นความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ์ เป็นต้น.
ความสามารถในการทำ, การกระทำ เช่น เรือสินค้าจมลงด้วยน้ำมือโจรสลัด.
(นิยัดติ-) น. ลัทธิความเชื่อที่ว่า การกระทำทุกอย่างของมนุษย์หรือเหตุการณ์ทั้งหลายได้ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว.
(นิระโทดสะกำ) น. ในทางแพ่ง หมายถึง การกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น แต่กฎหมายยกเว้นให้ ไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เช่น การกระทำการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย การกระทำตามคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมาย
ในทางกฎหมายอาญา หมายถึง การลบล้างการกระทำความผิดอาญาที่บุคคลได้กระทำมาแล้ว โดยมีกฎหมายกำหนดให้การกระทำนั้นไม่เป็นความผิด และให้ผู้ที่ได้กระทำการนั้นพ้นจากการเป็นผู้กระทำความผิด.
ก. ชี้, ระบุ, อ้างหรือแสดงให้รู้โดยเจาะจง, เช่น การกระทำของเขาบ่งชัดอยู่แล้วว่าเขาเป็นผู้กระทำผิด.
(บาบ, บาบปะ-) น. การกระทำผิดหลักคำสอนหรือข้อห้ามในศาสนา
ในทางอาญา หมายถึง บุคคลอื่นซึ่งมิใช่ผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำความผิด แต่บุคคลอื่นนั้นเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดโดยเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบความผิด.
น. บุคคลล้มละลายที่ถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดบางประการเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายล้มละลายกำหนด หรือไม่สุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือหนี้สินตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายล้มละลาย หรือเป็นบุคคลล้มละลายอันเนื่องมาจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดฐานยักยอกหรือฉ้อโกง หรือการกระทำความผิดอันมีลักษณะเป็นการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การกระทำความผิดด้วยตนเอง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำต่อหน้าศาล[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำต่อหน้าผู้ทำพินัยกรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการกระทำผิด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
แบบอย่างการกระทำ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การกระทำต่อหน้าเจ้าพนักงาน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำต่อหน้าจำเลย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำแบบสัดส่วน มีความหมายเหมือนกับ proportional control[ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
มาตรการป้องกันการกระทำความผิด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำอันเป็นโจรสลัด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การกระทำอันเป็นโจรสลัด (ก. อาญา)๒. การละเมิดลิขสิทธิ์ (ก. แพ่ง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
แบบอย่างการปรับทิศทางการกระทำ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การกระทำภายหลัง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำทารุณต่อร่างกาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การกระทำทารุณโหดร้าย (ก. อาญา)๒. การกระทำทารุณ (ที่เป็นเหตุฟ้องหย่า) (ก. แพ่ง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำที่ถือเป็นการฉ้อฉล [ ดู constructive fraud ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
นายจ้างต้องรับผิดในการกระทำของลูกจ้าง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำความผิดอีก[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำที่สมควรแก่เหตุ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การสนับสนุนการกระทำความผิดอาญา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำผิดหน้าที่, การละเว้นหน้าที่[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำที่อาจทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา, คำให้การที่อาจทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำทารุณทางเพศ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พยานหลักฐานแสดงการกระทำความผิดติดนิสัย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำอย่างชัดแจ้ง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การกระทำอย่างเปิดเผย, การกระทำอย่างชัดแจ้ง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำสั่งทางราชการให้งดเว้นการกระทำ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เปิดเผยการกระทำความผิดอาญาที่ซ่อนเร้น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
แบบอย่างการกระทำ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การกระทำ, การปฏิบัติ, การทำงาน๒. กิริยา๓. การแสดงฤทธิ์ (ยา)[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. อรรถคดี๒. การฟ้องคดี๓. การกระทำ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เจตนาประกอบกับการกระทำ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ผู้สนับสนุนการกระทำผิด (ก. อาญา)๒. อุปกรณ์ (ก. แพ่ง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำอันจะเป็นความผิดอาญา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำทางปกครอง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
แบบอย่างการปรับทิศทางการกระทำ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ภาวะอัตโนมัติ, การกระทำโดยอัตโนมัติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำอย่างชัดแจ้ง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การกระทำอย่างเปิดเผย, การกระทำอย่างชัดแจ้ง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำสัตย์สาบาน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำอนาจาร (ต่อร่างกาย)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผู้สนับสนุนการกระทำความผิดอาญา (ก. สกอตแลนด์)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำทารุณโหดร้าย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำของคู่กรณี, การกระทำของคู่สัญญา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำของรัฐ (ที่จะฟ้องร้องไม่ได้)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำฉันมิตร[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำผิดที่ทำให้ได้ทรัพย์มา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกระทำทารุณต่อเด็ก [ ดู child abuse ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การกระทำ๒. พระราชบัญญัติ, รัฐบัญญัติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
การกระทำโดยตรงExample:การที่รังสีถ่ายเทพลังงานโดยตรงให้กับชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น ดีเอ็นเอ และโปรตีน แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น[เศรษฐศาสตร์]
กิริยา อาการ การกระทำ เช่น ปฏิกิริยาExample:คำที่มักเขียนผิด คือ กิริยา[คำที่มักเขียนผิด]
ใช้เรียกการกระทำที่ดูไร้สาระ ทำแล้วไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อะไรขึ้นมา หรือใช้เรียก พวกที่ก่อกวนคนอื่นหรือทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน[ศัพท์วัยรุ่น]
การกระทำโดยตรง, รังสีถ่ายเทพลังงานโดยตรงให้กับชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น ดีเอ็นเอ และโปรตีน แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น[นิวเคลียร์]
ผู้สนับสนุนการกระทำผิด[TU Subject Heading]
การกระทำของรัฐ[TU Subject Heading]
การกระทำในทางปกครอง[TU Subject Heading]
การกระทำโหดร้ายป่าเถื่อน[TU Subject Heading]
การสื่อสารในการกระทำทางสังคม[TU Subject Heading]
การกระทำในทางอาญา[TU Subject Heading]
การกระทำอนาจาร[TU Subject Heading]
การกระทำโดยอ้อม, การที่รังสีถ่ายเทพลังงานให้กับโมเลกุนของน้ำ มีผลให้เกิดอนุมูลเสรี ซึ่งมีความไวในการทำปฏิกิริยาทางเคมีกับชีวโมเลกุล แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น[นิวเคลียร์]
การควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำในทางปกครอง[TU Subject Heading]
การกระทำผิดของเยาวชน[TU Subject Heading]
การกระทำอันเป็นโจรสลัด[TU Subject Heading]
การกระทำโดยบันดาลโทสะ (กฎหมายอาญา)[TU Subject Heading]
การกระทำผิดซ้ำ[TU Subject Heading]
การกระทำที่อาจทำให้ตนต้องรับผิดทางอาญา[TU Subject Heading]
การกระทำทางสังคม[TU Subject Heading]
การกระทำเหนือหน้าที่[TU Subject Heading]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น[การทูต]
เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น[การทูต]
คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น[การทูต]
ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น[การทูต]
ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน?[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ[การทูต]
แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง[การทูต]
คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้[การทูต]
การบังคับให้เกิดสันติภาพ " เป็นมาตรการใช้กำลังบังคับผู้ที่กำลังดำเนินการที่เป็นการละเมิด สันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศให้ยุติการกระทำดังกล่าว "[การทูต]
คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์[การทูต]
บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน[การทูต]
ทรัพย์สินที่เป็นผลได้จากการกระทำความผิด[การทูต]
การกระทำผิดที่มีโทษตามกฎหมาย[การทูต]
การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้[การทูต]
การตอบโต้การกระทำของรัฐอื่นซึ่งเป็นความผิดในทาง กฎหมายระหว่างประเทศ กล่าวคือเป็นการตอบโต้การกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เช่นกัน[การทูต]
การตอบโต้การกระทำของรัฐอื่นซึ่งมิได้เป็นความผิดในทาง กฎหมายระหว่างประเทศ แต่มีลักษณะที่ไม่เป็นมิตร[การทูต]
การคว่ำบาตร (ในกรอบสหประชาชาติ) " หมายถึง มาตรการลงโทษที่คณะมนตรีความมั่นคง ใช้ต่อประเทศสมาชิกที่มีการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ รวมทั้งเป็นภัยต่อสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศโดยการจำกัด หรือห้ามประเทศสมาชิกอื่น ๆ ติดต่อในด้านต่าง ๆ (เช่น ด้านการค้า การคมนาคมขนส่ง) อย่างเป็นทางการกับประเทศนั้น ๆ เพื่อบีบบังคับให้มีการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคง มาตรการห้ามการ ติดต่อเหล่านี้ บางครั้งเรียกว่า ปิดล้อม (embargo) เช่น ปิดล้อมด้านอาวุธ ปิดล้อมด้านการค้า เป็นต้น "[การทูต]
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ[การทูต]
กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย[การทูต]
การกระทำที่ไม่เป็นมิตร กล่าวคือ เมื่อรัฐหนึ่งประกาศว่า จะถือว่าการปฏิบัติบางอย่างของอีกประเทศหนึ่งเป็นการกระทำที่ไม่เป็นมิตร นั่นหมายความว่า เป็นการเตือนว่าการกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้[การทูต]
การกระทำฝ่ายเดียว[การทูต]
การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น[การทูต]
อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร[การทูต]
ความเสถียรเชิงกลของน้ำยาง หมายถึง ความเสถียรของน้ำยางต่ออิทธิพลทางกล เช่น การกวน การปั๊ม การเคลื่อนย้าย หรือการกระทำทางกลโดยวิธีอื่นๆ สามารถทำได้โดยวัดระยะเวลาที่เริ่มปั่นกวนน้ำยางจนกระทั่งสังเกตเห็นน้ำยาง เริ่มจับตัวเป็นเม็ดเล็กๆ ในหน่วยของวินาที ค่า MST สูงจะบ่งชี้ว่า น้ำยางมีความเสถียรต่ออิทธิพลทางกลได้สูง แต่ถ้าค่า MST ต่ำแสดงว่าน้ำยางนั้นจะสูญเสียความเสถียร สามารถจะจับเป็นเม็ดได้ง่าย เมื่อน้ำยางถูกกระทบกับอิทธิพลทางกล[เทคโนโลยียาง]
จำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ หมายถึง จำนวนกรัมของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่สมมูลย์พอดีกับอนุมูลของกรดทั้งหมดที่ รวมกับแอมโมเนียในน้ำยาง ที่มีปริมาณของแข็งทั้งหมด 100 กรัม นั่นคือ จำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวระบุปริมาณของสบู่แอมโมเนียมที่เกิดขึ้น ระหว่างการเปลี่ยนแปลงในน้ำยาง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดจากการกระทำของแบคทีเรียต่อสารที่ไม่ใช่เนื้อยาง ในขณะก่อนการใส่แอมโมเนียลงในน้ำยาง และเกิดขึ้นจากการไฮโดรไลซิสของโปรตีนในระหว่างการเก็บน้ำยาง ค่า KOH ที่สูงแสดงถึง ความเปลี่ยนแปลงมากและอาจบ่งชี้ว่าน้ำยางข้นมีอายุหลังการผลิตนานอีกด้วย[เทคโนโลยียาง]
การทำให้แท้ง, การทำแท้ง, การทำแท้งโดยเจตนา, การแท้งที่เกิดจากการกระทำ, แท้งจากการกระทำ[การแพทย์]
ชอบเล่นแสดงบทบาทมาก, การกระทำ[การแพทย์]
การกระทำ, การออกฤทธิ์, พฤติการณ์, ลงมือทดลองปฏิบัติ, การเคลื่อนไหว, การทำงาน[การแพทย์]
กิจกรรม, กัมมันตภาพ, การออกฤทธิ์, การกระทำของบุคคล, ความแรงฤทธิ์, กิจวัตรประจำวัน, การปฎิบัติกิจกรรม, การทำงาน, ความไว[การแพทย์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
นายน่าจะรู้สึกอายกับการกระทำของตัวเองนะHero (1992)
หยั่งกับการกระทำของซาตานThe Lawnmower Man (1992)
อืม... . พ่อแม่ฉัน ยังคงคิดว่า เป็นการกระทำที่รั้นจริงๆDeep Throat (1993)
คุณสามารถถามฉันว่าคุณ gonna ถามและการตอบสนองธรรมชาติของฉันอาจจะได้รับการกระทำผิดกฎหมายPulp Fiction (1994)
พ่อเป็นคนเดียวรึเปล่าที่คิดว่า การกระทำเช่นนี้เป็นการโกงThe Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
ถ้าเขาทำเขาอาจจะไม่ได้เชื่อมต่อกับการกระทำของตัวเอง12 Angry Men (1957)
การกระทำใด ๆ ที่จับกลุ่ม ทหารถือปืนคาบศิลา เกี่ยวกับทหารม้า? มานี่สิ.How I Won the War (1967)
ไม่ให้ความอัปยศประณาม ประเทศอิตาลี ได้รับการซื้อเข้ามาในความเสีย ชื่อเสียง โดยการกระทำของคนบ้าไม่กี่How I Won the War (1967)
สถานีการกระทำ!Yellow Submarine (1968)
สถานีการกระทำ!Yellow Submarine (1968)
ดังนั้นฉันอาจจะแนะนำให้คุณ การกระทำที่คุณได้รู้จักกันสำหรับทุก ปีเหล่านี้Yellow Submarine (1968)
เขาจะให้ชิ้นส่วนของการกระทำ ผมไม่ทราบว่าเท่าไหร่The Godfather (1972)
ถ้าเราไม่ได้รับชิ้นส่วนของการกระทำที่เรามีความเสี่ยงทุกอย่างในเวลา 10 ปีที่ผ่านมาThe Godfather (1972)
ที่ไร้ความหวังของเด็กผู้ชายที่การกระทำกามอัตโนมัติ, \ Nhe ความต้องการบทเรียนSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
เขาครอบคลุมฉันขึ้น, การกระทำที่ฉันนอนลงSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
ฉันเชื่อโดยการกระทำกามอัตโนมัติของพื้นที่ร่างกาย the requisiteSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
การกระทำหลังจากที่ที่ฉันถอดเสื้อผ้า, เขา order me บนทั้งหมดสี่, เหมือนสัตว์Salò, or the 120 Days of Sodom (1975)
สิ่งนั้นการกระทำของเด็กผู้หญิงโง่ความละเอียดอ่อนจน scene overSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
ไกด์ของเราที่ตั้งอยู่อีกครั้ง divine character ของความเป็นอสูรกาย... ...การขอบคุณที่จะการกระทำที่กล่าวซ้ำ, \ Nthat จะพูด: พิธีศาสนาSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
โดยปราศจากการกระทำความเคารพล่าสุด to the วัตถุของการบูชาของเขา .Salò, or the 120 Days of Sodom (1975)
สำหรับถ้าเรารู้เรากำลังดูเด็กผู้ชาย at a ค่อนข้างดีกว่าเด็กผู้หญิง... ...เราอาจจะ influence in การกระทำการตัดสินใจของเราSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
หยุดการกระทำที่ไม่ถูกกฎหมายนี้!Akira (1988)
การกระทำที่น่ากลัวเกิดจาก... ...กลุ่มต่อต้านรัฐบาล ที่มีจรวดเดือนนี้Akira (1988)
เรามีส่วนต้องรับผิดชอบสำหรับการกระทำของเขาAkira (1988)
เขาป่วยจากการกระทำของคุณกับพวกCasualties of War (1989)
โอ้คนที่ฉันสามารถจริงๆไป ... ... สำหรับการกระทำจานลึกเล็ก ๆ น้อย ๆ ตอนนี้เลยTeenage Mutant Ninja Turtles (1990)
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจาก การกระทำแบบนั้น คือความเศร้าใจและความโกรธ เหมือนหุบเขาที่ใหญ่ขึ้น และลึกขึ้น ระหว่างคนขาวและคนดำThe Young Indiana Jones Chronicles (1992)
มีรายละเอียด สิทธิตามกฎหมาย ครับใต้เท้าเมื่อปี 1 789 ในการที่จำเลยสามารถอ้างสิทธิ์ป้องกัน ตนเองต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ ถ้าการกระทำนั้นถือว่าเป็นการถูกข่มเหง สิทธิในการป้องกันตัวGood Will Hunting (1997)
อืม นั่นแหละประเด็น / มันเป็นการกระทำที่ไร้เหตุผลAmerican History X (1998)
เราเรียกการจลาจลนั้นว่า /การกระทำที่ปราศจากเหตุผลAmerican History X (1998)
หนังสือใหม่ๆ แค่ไม่กี่เล่ม ไม่ได้หมายถึงคุณภาพ/ของการกระทำของพวกผิวดำซะหน่อยAmerican History X (1998)
มันเหมือนกับการกระทำบางอย่างที่ต้องปิดบัง / หรือมีบางสิ่งกำลังเกิดขึ้นAmerican History X (1998)
มันเป็นคำคำหนึ่ง... ...ที่อธิบายด้วยการกระทำที่หลายหลายCity of Angels (1998)
มันต้องมีเหตุผลในการกระทำของมันBlues Harp (1998)
เพียงแสดงความรับผิดชอบ ต่อการกระทำของเรา และต่อทางแก้ปัญหาของผู้อื่น คุณต้องแหกวงจรของการเป็นผู้รับเคราะห์American Beauty (1999)
การกระทำของเขาคาดเดาได้ยากGTO (1999)
คุณต้องรับผิดชอบการกระทำของคุณ การรับผิดชอบของผม?GTO (1999)
และการกระทำนั้นทิ้งร่องรอยไว้Harry Potter and the Sorcerer's Stone (2001)
สิ่งที่พระองค์ทำคือ ปล่อยให้ลูกตัดสินใจการกระทำด้วยตัวเองFrailty (2001)
คนที่เกี่ยวข้องกับเธออันแรก จะต้องจ่ายเงิน1ล้านเยนเป็นค่าธรรมเนียมในการกระทำของเธอต่อไปอีกในฟิล์มที่สองPlatonic Sex (2001)
เจอมี นายต้องหยุดการกระทำนั่นPilot (2001)
เรามีการกระทำบางอย่าง?Showtime (2002)
เรามีการกระทำบางอย่างในที่สุดShowtime (2002)
ผมได้รับจอห์นนีค็อชฮาน ไม่มีการกระทำผิดกฎหมายครับShowtime (2002)
ชื่อเสียงมันไม่ถาวรหรอกนะ แฮร์รี่ ความมีชื่อเสียงเกิดจากการกระทำHarry Potter and the Chamber of Secrets (2002)
ผมคุยกับกัปตันคนอื่นล้ว /ผมอยากให้คุณอธิบายการกระทำของคุณThe Matrix Reloaded (2003)
ผมไม่คิดว่าการกระทำของผมจำเป็นต้องมีคำอธิบายThe Matrix Reloaded (2003)
การโจมตีนี้เหมือนเป็นการกระทำที่หมดทางสู้The Matrix Reloaded (2003)
การกระทำ และตอบสนองThe Matrix Reloaded (2003)
หวังว่ายายแก่นั่นคงจะมีสมองพอจะเรียนรู้ได้มั่ง ว่าการกระทำทุกอย่างต้องมีผลตามมาThe Matrix Revolutions (2003)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kān kratham] (n) EN: action ; act  FR: action [ f ] ; acte [ m ] ; geste [ m ] ; activité [ f ]
[kān kratham an mai sutjarit] (n, exp) EN: dishonest action
[kān krathamkān] (n) EN: execution ; performance
[kān kratham khwāmphit] (n, exp) EN: offence
[kān kratham khwāmphit īk] (n, exp) EN: recidivism
[kān kratham khwāmphit thāng āyā khøng yaowachon] EN: juvenile delinquency
[kān kratham khwāmphit thāng āyā khøng yaowachon] FR: délinquance juvénile [ f ]
[kān kratham nai thāng thī mai thūktǿng] (n, exp) EN: wrongdoing
[kān kratham phit] (n, exp) EN: making a mistake
[kān kratham phit āyā] (n, exp) EN: delingquency
[kān kratham phit kotmāi] (n, exp) EN: criminal offence ; violation  FR: violation [ f ]
[kān kratham phit nāthī] (n, exp) EN: breach of duty
[kān kratham thāng sangkhom] (n, exp) EN: social action  FR: action sociale [ f ]
[kān kratham thārun] (n, exp) EN: abuse  FR: maltraitance [ f ]
[kān kratham thārun thāng phēt] (n, exp) EN: sexual abuse  FR: abus sexuel [ m ]
[kān kratham thārun tø dek] (n, exp) EN: child abuse ; abuse of children  FR: maltraitance des enfants [ f ] ; maltraitance infantile [ f ]
[kān kratham thārun tø sat] (n, exp) FR: maltraitance des animaux [ f ]
[kān kratham thī lamoēt tø kotmāi] (n, exp) EN: violation of the law
[khwām rapphit nai kān kratham khøng phū eūn] (n, exp) EN: vicarious liability
[kotmāi kīokap kān kratham khwāmphit khøng dek lae yaowachon] (n, exp) EN: law of juvenile delinquency
Longdo Approved EN-TH
(n)[ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)การกระทำที่แสดงให้เห็นว่าผู้กระทำเชื่อว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้อื่น เช่น He gave us very friendly advice without a trace of condescension. เขาให้คำแนะนำที่เป็นมิตรมากๆ กับพวกเรา โดยไม่ได้มีท่าทีว่าเขาคิดว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าเราแต่อย่างใด
(n, slang)การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)การกระทำSee Also:พฤติกรรมSyn.action, deed, performance
(n)การกระทำSee Also:ปฏิบัติการSyn.activity, operation, performance
(n)การกระตือรือร้นSee Also:การกระทำอย่างมีชีวิตชีวาSyn.liveliness
(n)การกระทำSee Also:กิจกรรมSyn.movement, motion
(adj)ต่อต้านอิทธิพลและการกระทำของพระ
(n)การกระทำที่งี่เง่า
(n)การเอาอกเอาใจSee Also:การกระทำอย่างรักใคร่
(phrv)ช่วยให้พ้นจาก (สิ่งที่ไม่ดีหรือการกระทำผิด)See Also:ช่วย, ทำให้รอดพ้น
(phrv)เปลี่ยนจากบางสิ่ง (การกระทำ) ไปสู่บางสิ่ง (การกระทำ)See Also:เปลี่ยนกันระหว่าง
(adj)(งาน, การกระทำ) ไม่เป็นที่น่าพอใจSyn.unsatisfactoryAnt.satisfactory
(n)เรื่องราวที่ค่อนข้างดี (เงื่อนไข, การกระทำ)
(adj)(ความเชื่อ, การกระทำ) ที่ขาดเหตุผลSyn.unreasoning, irrational
(n)เหตุการณ์หรือการกระทำที่ทำให้อุปสรรคหมดไป
(n)การกระทำที่ผิดSyn.mistake
(idm)ทำให้กลัว (ด้วยการกระทำหรือคำพูด)See Also:กล่าวโจมตี, ขู่ให้กลัว
(phrv)(สถานภาพหรือตำแหน่ง) แย่ลงกับ (การกระทำบางสิ่ง)
(phrv)กลับไปใช้วิธี ความคิดหรือการกระทำเแบบเดิมSyn.come back
(n)การกระทำการร่วมกัน
(n)การกระทำทางการทหารหรือการเมืองที่ใช้ต่อต้านการกบฏ
(n)การกระทำตอบโต้See Also:การโต้กลับ
(n)การกระทำที่ผิดศีลธรรม
(n)การกระทำที่โหดร้ายSee Also:การกระทำที่ทารุณ
(phrv)เริ่มการกระทำบางอย่างทันที (คำไม่เป็นทางการ)Syn.break into, break out in
(phrv)หยุดการกระทำ (คำไม่เป็นทางการ)
(phrv)ตกลงไปพร้อมกับ (การกระทำ, การสวมใส่บางสิ่ง)
(phrv)จบลงด้วยการกระทำ (บางอย่าง) (คำไม่เป็นทางการ)Syn.end up, finish up, land up, wind up
(phrv)ยุติ (การกระทำ)Syn.end up
(phrv)ทำให้ตื่นเต้นใน (การกระทำ)
(n)เหตุการณ์หรือการกระทำที่ทำให้ตายหรือทำให้บางอย่างจบสิ้น
(n)การกระทำSee Also:กรรมSyn.action
(n)แนวคิดหรือการกระทำของผู้ยอมรับหรือคาดว่าจะพ่ายแพ้หรือไม่ประสบความสำเร็จSee Also:การยอมรับความล้มเหลว
(n)การกระทำผิดกฎหมาย (โดยเฉพาะกับเด็ก) (ทางกฎหมายอาญา)Syn.criminality, illegality, wrongdoingAnt.care, observance
(vi)หยุดการกระทำSee Also:ระงับ, ยุติ, เลิก, งดเว้นSyn.cease, refrain, hold, stop
(n)การกระทำที่เป็นอันตรายSee Also:การเสียประโยชน์Syn.injury, harm
(n)การกระทำSyn.performing, achieving
(adj)(การกระทำ) ที่มีส่วนผสมระหว่างความเรียบง่าย ทักษะและความสวยงาม
(n)การนำประสบการณ์หรือการทดลองมาประยุกต์ใช้See Also:การกระทำสิ่งต่างๆ โดยอาศัยประสบการณ์
(vt)ทำให้ (ผลของการกระทำ) เกิดขึ้น
(n)ความโน้มเอียงในการกระทำผิดหรือประพฤติตัวไม่เหมาะสมSyn.deviation
(n)การกระทำที่น่าตื่นเต้นและกล้าบ้าบิ่นSyn.adventure, prank
(n)การกระทำที่กล้าหาญSee Also:พฤติการณ์ที่กล้าหาญ, ความกล้าหาญSyn.deed, escapade, venture
Hope Dictionary
(แอคโรแบท' ทิคซฺ) n. กายกรรม, ศิลปกายกรรม, การกระทำที่โลดโผนSyn.gymnastics
(แอคทฺ) n., vt., vi. การกระทำ, พฤติการณ์, ฉาก, องก์ (ละคร) , การเล่นละคร, ฤทธิ์, อำนาจ, การดำเนินคดี, การปฏิบัติหน้าที่, การบังเกิดผล, การแกล้งทำ, เหตุการณ์ในละครหรือหนังสือ, เครื่องจักร, การเคลื่อนไหว, การรบSyn.perform, do, pl abbr. activated clotting enzyme
(แอค' เชิน) n. การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง, ขั้นตอน, การฟ้องร้อง, ฤทธิ์, อำนาจ, เหตุการณ์, การใช้กำลัง, การเดิน, การเคลื่อนไหว, การรบ, การพนัน, การกระทำที่ตื่นเต้น. -actions ความประพฤติ
(แอดเวน' เซอริสซึม) n. (นโยบาย, วิธีการ, การกระทำ) ที่เสี่ยง. -adventurist n., -adventuristic adj.
(แอน' ทิเดท) n., vt. การลงวันที่ก่อนวันจริง, การมาก่อน, การทำให้เกิดก่อน, การเร่ง, การกระทำหรือมีล่วงหน้า (antecede, precede)
(อะซิน'ดีทัน) n. การตัดสันธาน (conjunction) ออก. -asyndetic อสมวาร <คำแปล>หมายถึง กระบวนการหรือการกระทำใด ๆ ก็ตามที่ไม่สอดประสานหรือสมนัยกัน (ใช้ในการรับและส่งข้อมูลทางโทรศัพท์)
(อะทรอส'ซิที) n. ความโหดร้าย, ความชั่วภัย, ความน่ากลัว, ความดุร้าย, สิ่งชั่วร้าย, การกระทำที่ชั่วร้ายSyn.enormity, outrage, crime
(บาร์แบร์'ริที) n. ความโหดร้าย, การกระทำที่โหดร้าย, ความทารุณ, ความหยาบSyn.savagery
(บิเฮฟ'วิเออะ) n. ความประพฤติ, การกระทำตัว, พฤติกรรม, อาการ, ท่าทีSyn.manners
(บิเฮฟ'วิเออะ) n. ความประพฤติ, การกระทำตัว, พฤติกรรม, อาการ, ท่าทีSyn.manners
(บิท) 1. n. ดอกสว่าน, สิ่งค้ำ, ของเล็ก ๆ น้อย ๆ , ครู่เดียว, การกระทำ, บทบาทเล็กน้อย, เหรียญเล็ก ๆ , หน่วย, กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ
(เบาทฺ) n. การแข่งขัน, ยกหนึ่ง (มวย) , พักหนึ่ง (ไข้) , การกระทำครั้งหนึ่ง, เพลงหนึ่ง, ระยะหนึ่ง
(บรูแทล'ลิที) n. ความโหดร้าย, ความทารุณ, การกระทำที่โหดร้าย, การกระทำที่ทารุณSyn.cruelty
(บัม'เบิล) { bumbled, bumbling, bumbles } vt. กระทำผิดอย่างมาก, เดินโซเซ, พูดตะกุกตะกัก vi. ทำเสียงคล้ายผึ้ง n. การกระทำที่ผิด
n. กฎที่ว่าการกระทำของคนนั้นควรเป็นการบริหารซึ่งเป็นพื้นฐานของกฎทั่วไป
(โคแอค'-) n. การกระทำร่วมกัน, แรงดัน, ปฎิกริยาระหว่างสิ่งมีชีวิต
(คะมิท'เมินทฺ) n. การมอบ, การมอบหมาย (หน้าที่ความไว้วางใจ) , การส่งให้พิจารณา, การกักตัวไว้ในโรงพยาบาลโรคจิต, การส่งเข้าคุก, การให้คำมั่นสัญญา, คำสั่งศาลให้กักหรือเข้าคุก, การกระทำความผิด, การพัวพัน, การเข้าสู่สงคราม.Syn.committal, delive
(คัมพังคฺ'เชิน) n. ความเสียใจต่อการกระทำ, ความไม่สบายใจหรือกระสับกระส่ายต่อสิ่งที่ได้กระทำไป.See Also:compunctious adj.Syn.guilt, regret, repentance
(คันเซน'?วล) adj. เกี่ยวกับการเห็นชอบด้วยทั้งสองฝ่าย, เกี่ยวกับการกระทำที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจร่วมกัน
(คู) n. การดำเนินการอย่างกะทันหัน, การกระทำที่ประสบความสำเร็จอย่างมาก, รัฐประหาร -pl. coups
(ไครมฺ) n. อาชญากรรม, การกระทำอาชญากรรมและผู้กระทำ, ความผิดร้ายแรง, บาป, การกระทำที่โง่ไร้ความสำนึกหรือน่าอับอายSyn.offense, tort, violation
(คริมมิแนลลิส'ทิคซฺ) n. อาชญากรรมวิทยาSee Also:criminality คริมมิแนล'ลิที n. ความเป็นอาญา, การกระทำที่เป็นอาชญากรรม
(ดีด) n. การกระทำ, พฤติการณ์, สารตรา, โฉนด, สัญญาหรือข้อตกลงSyn.act
(ดิลิง'เควินซี) n. ความเหลวไหล, การกระทำผิด, ความผิด, การกระทำผิดกฎหมายของเด็กSyn.offense
(ดิลิง'เควินทฺ) adj. ซึ่งกระทำผิดกฎหมาย, เกี่ยวกับการกระทำผิดกฎหมายของเด็ก, เหลวไหล, ไม่ชำระหนี้. n. ผู้กระทำผิดกฎหมาย, เด็กผู้กระทำผิดกฎหมายSyn.remiss
(เดอ'ริงโด') n. การกระทำที่อาจหาญ
(ดิสเฟ'เวอะ) n. ความไม่ชอบ, ความไม่เห็นด้วย, การกระทำที่เป็นภัย. vt. ไม่ชอบ, ไม่โปรดSyn.disgrace
(ดิสเฟ'เวอะ) n. ความไม่ชอบ, ความไม่เห็นด้วย, การกระทำที่เป็นภัย. vt. ไม่ชอบ, ไม่โปรดSyn.disgrace
(ดิสออน'นิสที) n. ความไม่ซื่อสัตย์, ความไม่สุจริต, การกระทำที่ไม่สุจริต, การหลอก, การลวงSyn.fraud
(ดู) { did, done, does } vt. ทำ, กระทำ, ปฏิบัติ, จัดการ, แสดงท่า, ว่าด้วยvi. ทำ, กระทำ n. การกระทำ
(ดู'อิง) n. การกระทำ, การปฏิบัติการ, พฤติการณ์, สิ่งที่กระทำ.See Also:doings n., pl. เหตุการณ์, สิ่งที่ปรากฎขึ้น, สิ่งที่กระทำSyn.acts, actions
n. การกระทำที่อวดดี, การกระทำที่โอ้อวด
(เอ'เรอะ) n. ความผิด, การกระทำผิด, บาป, สิ่งที่กระทำผิด, คำผิด, ข้อผิดพลาดSyn.blunder
(อิกซอลเท'เชิน) n. การยกระดับ, การทำให้สูงขึ้น, ความปลื้มปีติ, ความดีอกดีใจ, การกระทำที่มากเกินไป, ความใหญ่โตเกินไป
(เอคซะคิว'เชิน) n. การปฎิบัติ, การทำให้สำเร็จ, การดำเนินการ, การกระทำ, การบริหาร, การประหารชีวิต, การแสดง (ดนตรี, ฝีมือขับร้องหรืออื่น ๆ) , การบังคับตามกฎหมาย.
ช่วงกระทำการหมายถึง ช่วงเวลาที่คอมพิวเตอร์กระทำตามคำสั่งในชุดคำสั่งชุดหนึ่ง ๆ เริ่มนับแต่การไปนำข้อมูลมา (fetch) การถอดรหัส (decode) และการกระทำการ (execute) ตามข้อความสั่งนั้น ๆ ดู compilation phase เปรียบเทียบ
โปรแกรมกระทำการหมายถึง โปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งมีหน้าที่กำกับดูแล หรือควบคุมการกระทำการ (execution) ของคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกัน เป็นต้นว่า ดูแลการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล (input/output unit) การดำเนินการและกำหนดการใช้หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยความจำ (memory unit) ให้ทำงานให้สอดคล้องกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระบบทำงานแบบหลายชุดคำสั่ง หรือระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ชุดคำสั่งชุดนี้ เป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการ (operating system) มีหน้าที่หลักในการดูแลไม่ให้การประมวลผล โปรแกรมทีละหลาย ๆ โปรแกรม เกิดความสับสนกัน มีความหมายเหมือน supervisor
(เอคซฺพิดิช'เชิน) n. การเดินทาง, คณะผู้เดินทางดังกล่าว, ความว่องไวหรือรวดเร็วในการกระทำบางอย่าง.See Also:expeditionary adj.
(ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน
(ฟะ'เวอะ) n. ความกรุณา, การกระทำที่กรุณา, ความสงเคราะห์, ความประทับใจ, ความนิยม, ความเข้าข้าง, ไมตรีจิต, บุญคุณ, การสนับสนุน, ความเห็นพ้อง, ของขวัญ, ของระลึก, เครื่องหมาย, โบ, สิทธิพิเศษ. -Phr. (in favo (u) r of สนับสนุน, เข้าข้าง) . -Phr. (in one's favo (u) r เพื่อผลประโยชน
(ฟิท'ทิง) adj. เหมาะสม, เหมาะ, สมควร, สอดคล้อง. n. การกระทำที่เหมาะสม, สิ่งที่เหมาะสม, การสวมได้เหมาะ, ขนาดเสื้อผ้าที่เหมาะ, เครื่องมือ, อุปกรณ์.See Also:fittingly adv. fittingness n.Syn.fit, appropriate, part, component
(เฟลาซฺ) vi. ขยับตัว, โยกตัว, สะบัดตัว, กระฟัดกระเฟียด, ดิ้นรน, เดินส่ายตัว. vt. เย็บรอยจีบหรือลายหยัก n. การกระทำดังกล่าว, จีบกระโปรง, ผ้าจีบ, รอยจีบ, ลายหยักขอบกระโปรง.
(ฟอล'ลี) n. ความโง่, การกระทำที่โง่ ๆ , เรื่องที่สิ้นเปลืองมากแต่ไร้ประโยชน์
(ฟุท'บอล) n. กีฬาฟุตบอล, กีฬารักบี้, สิ่งหรือบุคคลที่ได้รับการกระทำ อย่างหยาบ ๆ ลูกฟุตบอล
n. ความกล้าหาญ, ความชอบช่วยเหลือคนอื่น, การชอบเอาอกเอาใจสตรี, การกระทำหรือการพูดที่กล้าหาญSyn.heroism, courage, courtesy, politeness
(เจสทฺ) n. เรื่องราว, นิทาน, บทกวีเกี่ยวกับความรักหรือประวัติศาสตร์, การกระทำ, คนประพฤติ, ลักษณะท่าทาง, ขั้นตอนในการเดินทาง
n. รางวัลการกระทำทางวิชาชีพ
n. รางวัลการกระทำทางวิชาชีพ
(ฮัส'เซิล) vi. เร่งรีบ, รีบ, เบียดดัน, ผลัก, หากินโดยวิธีไม่สุจริต vt. ดัน, ผลัก, ผลักไล่, เร่ง, กระตุ้น. -n. การกระทำที่กระฉับกระเฉง, คนทำเร็ว, คนโกง, คนหลอกลวง, หญิงโสเภณี, คนเดินถนนSyn.jostle, push, goad
(อิมเพช' ชุออส' ซิที) n. ความหุนหันพลันแล่น, ความบุ่มบ่าม, ความรุนแรง, ความใจร้อน, การกระทำที่ใจร้อนหรือหุนหันพลันแล่น, การกระทำที่มีแรงกระตุ้นมาก
Nontri Dictionary
(n)การกระทำ, พฤติการณ์, พระราชบัญญัติ, กฎหมาย, องก์(ละคร)
(n)การกระทำ, การปฏิบัติ, พฤติกรรม, กิริยา, การแสดง
(n)ตัวแทน, ผู้แทน, องค์การ, หน่วยงานราชการ, การกระทำ
(n)การกระทำชั่ว, การเสเพล, การมึนเมา, การเสพสุรา
(n)การกระทำ, โฉนด, เอกสารสำคัญ, สารตรา, เกียรติประวัติ, สัญญา, ข้อตกลง
(n)การหลีกเลี่ยงหน้าที่, ความไม่รับผิดชอบ, ความเหลวไหล, การกระทำผิด
(n)ความประพฤติ, การวางตัว, ท่าทาง, การกระทำ, การปฏิบัติตัว
(n)ความหมดหวัง, ภาวะล่อแหลม, ความไม่กลัวอันตราย, การกระทำด่วน, ความสิ้นคิด
(n)การปฏิบัติ, ความประพฤติ, พฤติกรรม, การกระทำ
(n)การทำอย่างประณีต, การกระทำอย่างรอบคอบ, รายละเอียดเพิ่มเติม
(n)การกล้ากระทำ, ความสามารถ, การกระทำความดี
(n)การกระทำแบบโง่ๆ, การเล่นตลก
(n)ความเป็นพิธี, การกระทำตามแบบ, นิสัยเจ้าระเบียบ
(n)การกระทำ, หน้าที่, ภารกิจ, งาน, บทบาท, ประสิทธิภาพ
(adj)เกี่ยวกับการกระทำ, เกี่ยวกับกิจธุระ, เกี่ยวกับหน้าที่
(n)แบบ, สิ่งที่สร้างขึ้น, การกระทำ, ยี่ห้อ, กิริยามารยาท
(n)การทารุณ, การปฏิบัติไม่ดี, การกระทำผิด
(n)ขนาด, เครื่องวัด, มาตราวัด, เครื่องมือ, จังหวะดนตรี, การกระทำ
(n)การรุกราน, การละเมิด, การกระทำผิด
(n)การแสดงละคร, การกระทำ, การปฏิบัติ, การเดินเครื่อง, การดำเนินการ
(n)ความรั้น, การกระทำผิดปกติ, ความดันทุรัง
(n)การทำงานเป็นพวก, การทำงานเป็นทีม, การกระทำร่วมกัน
(n)สิ่งของ, เรื่อง, แบบ, กรณี, จุดประสงค์, การกระทำ
(n)การกระทำ, การรักษา, การปฏิบัติ, การเลี้ยง
(n)การหกล้ม, การเดินทาง, การเดินเร็ว, การกระทำผิดพลาด
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เหตุแห่งสงคราม คือการกระทำหรือเหตุการณ์ใดๆที่ทำให้อีกฝ่ายมีความชอบธรรมในการประกาศสงครามSyn.Casus belli
[อันโธรพะซีน](adv)เกี่ยวกับหรือหมายถึงยุคสมัยในทางธรณีวิทยาที่ซึ่งการกระทำของมนุษย์มีอิทธิพลมากที่สุดต่อสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม
(n)ความสามารถ, การกระทำ
[/ˌflɒksɪˌnɔːsɪˌnɪhɪlɪˌpɪlɪfɪˈkeɪʃ(ə)n/. [ flok-suh-naw-suh-nahy-hil-uh-pil-uh-fi-key-](n, uncountable, noun)[ ส่วนใหญ่ใช้ในเชิงตลกขบขัน ] การกระทำหรือนิสัยที่มองว่าบางสิ่งบางอย่างนั้นไม่สำคัญ, ไม่มีค่า, หรือไร้ค่า.See Also:disdaining, ignoring, A. esteeming, valuing, praisingSyn.devaluing
การกระทำที่ผู้พูด อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟังในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม
ลักษณะทางการตลาดแบบหนึ่งที่มีผู้ขายหรือผู้ให้บริการจำนวนน้อย ซึ่งทำให้การกระทำการใดๆของบริษัทผู้ให้บริการเพียงบริษัทเดียวอาจมีผลกระทบต่อราคาของสินค้าหรือบริการนั้นๆในท้องตลาด และอาจรวมถึงส่งผลกระทบถึงคู่แข่งด้วย ตัวอย่าง เช่นธุรกิจสายการบิน ในยุคแรกๆ
[riːˈkæl.ɪ.breɪt](vt)เปลี่ยนการกระทำ, เปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับบางสิ่ง
(n, adj)กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา
(vt, slang)กิริยาอย่างหนึึ่งหมายถึงการกระทำจากข้างหลัง เช่นกิจกรรมทางเพศของพวกเกย์ หรือกรณีในเกมเช่น DotA หมายถึงการซุ่มโจมตีโดยอีกฝ่ายไม่ทันระวังตัวSee Also:Tui, DotA, Noob, GreanSyn.Backdoor
(n, vt)N = บุคคลที่แสดงกริยาท่าทางในเชิงลบ ในเรื่องหรือ/และการกระทำต่อเพศตรงข้าม คำนี้มีความหมายตรงข้ามเรียบร้อย เช่น สมศรีแรดมาก S = สามารถใช้เป็นคำแสลง เพื่อแสดงออกในกริยา เช่น วันนี้เค้าไปแรดมา เห็นว่าได้เสื้อมา 2 ตัว (แรด ในที่นี้มีความหมายว่า ไปซื้อของ)See Also:A. เรียบร้อยSyn.กระซู่
[ab-baw (แอ๊บ - แบ๊ว)](vt)a person who pretending himself real aging. ผู้ที่ซ่อนการกระทำตามอายุของตนเองSyn.แบ๊ว
Longdo Approved JP-TH
[じっせん, jissen]การปฏิบัติ การกระทำ วิธีปฏิบัติ สิ่งที่ปฏิบัติ
[ざんこく, zankoku]การกระทำที่โหดร้าย
[けいざい, keizai](n)การกระทำความผิดเล็ก ๆ น้อย
[ひこう, hikou](n)ความเหลวไหล การกระทำผิด การไม่ชำระหนี้ กระทำผิดกฎหมายเด็ก
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
残忍
[ざんにん, zannin]การกระทำที่โหดร้าย
振る舞い
[ふるまい, furumai](n)การกระทำ, ความประพฤติ, การต้อนรับSee Also:S. 行動こうどう), ごちそう
現行
[げんこう, genkou](n)การกระทำหรือใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
言動
[げんどう, gendou]กริยาวาจา, คำพูดเเละการกระทำ
Saikam JP-TH-EN Dictionary
致す
[いたす, itasu] TH: ทำ(รูปถ่อมตน ใช้กับการกระทำของผู้พูด)
致す
[いたす, itasu] EN: to do (pol)
活動
[かつどう, katsudou] TH: การกระทำ
活動
[かつどう, katsudou] EN: action
暴挙
[ぼうきょ, boukyo] TH: การกระทำทารุณกรรม
暴挙
[ぼうきょ, boukyo] EN: a reckless action
結び付く
[むすびつく, musubitsuku] TH: การกระทำที่นำสองสิ่งมาสัมพันธ์กัน
結び付く
[むすびつく, musubitsuku] EN: to be connected or related
Longdo Approved DE-TH
(n)|der, nur Sg.| ความสงสัยว่ามีการกระทำผิด เช่น Er steht im Verdacht, seinen Nachbar zu töten. เขาถูกสงสัยว่าได้ฆาตกรรมเพื่อนบ้าน
(adj)|zu etwas befugt sein| มีสิทธิหรืออำนาจในการกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Ich bin nicht dazu befugt, Ihnen Aufkunft zu geben. ฉันไม่มีอำนาจในการให้ข้อมูลคุณ
(n)|die, pl. Aktionen| อากัปกิริยา, การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง
Longdo Approved FR-TH
การกระทำด้วยความเร็ว, ความรีบเร่งSyn.précipitation
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ