ดัชนีบ่งชี้ระดับความพร้อมของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, Example:ดัชนีบ่งชี้ระดับความพร้อมของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และโอกาสในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการพัฒนาประเทศ ที่ครอบคลุมทั้งภาคประชาชน ภาคธุรกิจและภาครัฐ ซึ่งจัดทำขึ้นโดย World economic forum และมีการรายงานใน Global information technology report เป็นประจำทุกปี ดัชนี NRI ประกอบด้วยดัชนีย่อย (sub-index) 3 กลุ่ม กล่าวคือ <ul> <li>สภาพแวดล้อม/ปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลต่อการพัฒนา ICT ประกอบด้วย (i) สภาพแวดล้อมทางด้านการทำธุรกิจ/ตลาดของ เช่น การมีนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรที่เพียงพอ กฏระเบียบของภาครัฐและผลของมาตรการทางภาษาต่างๆ เป็นต้น (ii) สภาพแวดล้อมทางด้านการเมืองการปกครอง และกฎเกณฑ์การกำกับดูแลต่างๆ อาทิ การมีกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับ ICT ประสิทธิภาพของการบังคับใช้กฎหมาย การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และ (iii) สภาพแวดล้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ไฟฟ้า โทรศัพท์ เป็นต้น</li> <li>ความพร้อมทางด้านเครือข่ายซึ่งรวมถึงความพร้อมของบุคลากรที่จะเป็นผู้ใช้ประโยชน์จากเครือข่าย โดยในการวัดยังแบ่งเป็นความพร้อมของประชาชนทั่วไป (individual), ภาคธุรกิจ (business) และภาครัฐ (government) โดยตัวอย่างตัวชี้วัด (indicators) ที่นำมาพิจารณาคือ (i) การเชื่อมต่อและการลงทุนในเครือข่าย เช่น การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของโรงเรียน การเชื่อมต่อคู่สายโทรศัพท์ของครัวเรือน/สถานประกอบการ การจัดซื้่อจัดหาเทคโนโลยีของภาครัฐ (ii) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น คุณภาพของระบบการศึกษาในประเทศ การลงทุนด้านการฝึกอบรมของบุคลากรในสถานประกอบการ และการให้ความสำคัญกับการสร้างและพัฒนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (iii) การใช้ดัชนีย่อยอื่นๆ มาประเมินวัด เช่น e-Government readiness</li> <li>ความสามารถในการใช้ประโยชน์จาก ICT ของภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ โดยอาจจัดกลุ่มชี้วั ดที่สำคัญได้ ดังนี้ คือ (i) การแพร่กระจายโครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้คน/องค์กรกลุ่มต่างๆ สามารถใช้ประโยชน์ เช่น การแพร่กระจายของคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ (ประจำที่และเคลื่อนที่) และอินเทอร์เน็ต ระดับการมี การใช้ ICT ของภาครัฐ (ii) ความสามารถในการใช้ประโยชน์จาก ICT เช่น ความสามารถในการดูดซับเทคโนโลยีของภาคธุรกิจ ประสิทธิผลของการใช้ ICT ในภาครัฐ (iii) ระดับของการใช้ประโยชน์จาก ICT เช่น จำนวนบริการภาครัฐออนไลน์ การใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตของภาคธุรกิจและจำนวนข้อมูลที่ไหลเวียนบนอินเทอร์เน็ต (Internet Traffic) เป็นต้น NRI มีความโดดเด่นทั้งในด้านของความสมบูรณ์ของตัวชี้วัดที่นำมาพิจารณา และจำนวนของประเทศที่นำมาศึกษา</li> </ul>[เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ]
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิทัล[เทคโนโลยีการศึกษา]
เครือข่ายระยะไกล[เทคโนโลยีการศึกษา]
เครือข่ายระยะไกล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เครือข่ายสารสนเทศ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เครือข่ายห้องสมุด, Example:<p>ปัจจุบันหน่วยงานห้องสมุด ศูนย์บริการสารสนเทศ จากสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชน รวมทั้งหน่วยงานราชการ องค์กรวิจัย หลายแห่งในประเทศไทยดำเนินการจัดหาหรือบอกรับทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะฐานข้อมูลออนไลน์วิชาการ เพื่อเป็น แหล่งบริการความรู้ สนับสนุนการเรียนการสอน การศึกษา ค้นคว้าวิจัย แก่บุคลากรในสังกัด ให้สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ตลอดเวลา ซึ่งค่าใช้จ่ายในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศมีราคาสูงขึ้นมากตลอดมาอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดภาระแก่ห้องสมุด ในการของบประมาณในการ บอกรับแต่ละปี ห้องสมุดจึงได้พยายามลดค่าใช้จ่ายหลากหลายวิธี และใช้ประโยชน์จากการบอกรับให้เกิดประโยชน์มากที่สุด เช่น การสร้างเครือ ข่ายความร่วมมือ ในการจัดหาและการใช้ทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ร่วมกัน โดยการหาแนวทางแบ่งปันการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เพื่อเป็นการ ประหยัดงบประมาณในการจัดหา และเป็นการใช้ฐานข้อมูลให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า <p>เครือข่ายห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาทุกประเภทในประเทศไทย มีจำนวน 5 เครือข่าย คือ <p>1. เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนกลาง (Thailinet) <p>2. เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (Pulinet) <p>3. เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ <p>4. เครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล <p>5. เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ทรัพยากรเครือข่ายคอมพิวเตอร์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เทคโนโลยีเครือข่าย[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เครือข่ายส่วนตัวเสมือน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เครือข่ายคอมพิวเตอร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ระบบเครือข่ายงานบริเวณเฉพาะที่[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การแพร่สัญญาณเฉพาะกลุ่ม (เครือข่ายคอมพิวเตอร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
โมบายไอพี (โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สถาปัตยกรรมแบบเพียร์ทูเพียร์ (เครือข่ายคอมพิวเตอร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ผู้ให้บริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เครือข่ายการจัดจำหน่าย[เศรษฐศาสตร์]
ระบบแลน เครือข่ายบริเวณเฉพาะที่ ระบบข่ายงานขนาดเล็ก[คอมพิวเตอร์]
เครือข่าย ข่ายงาน[คอมพิวเตอร์]
เครือข่ายวิทยาเขต[คอมพิวเตอร์]
เครือข่ายมหานคร[คอมพิวเตอร์]
เครือข่ายระยะไกล[คอมพิวเตอร์]
ผู้บริหารเครือข่าย[คอมพิวเตอร์]
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย[คอมพิวเตอร์]
ตัวบริการเครือข่าย[คอมพิวเตอร์]
เครือข่ายคอมพิวเตอร์[คอมพิวเตอร์]
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิทัล[คอมพิวเตอร์]
เครือข่ายไทยสาร[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ซีจีไอ (โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์)[คอมพิวเตอร์]
ทรัพยากรเครือข่ายคอมพิวเตอร์[คอมพิวเตอร์]
ทีซีพี/ไอพี (โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์)[คอมพิวเตอร์]
นิวรัลเน็ตเวิร์ค (คอมพิวเตอร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ข่ายงานบริเวณกว้าง, ข่ายงานแวน, Example:ข่ายงานของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกันมาก แต่เชื่อมต่อกันได้โดยระบบโทรคมนาคม เช่น ใช้โทรศัพท์ หรือดาวเทียม[คอมพิวเตอร์]
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในระดับบ้านหรือสำนักงาน[Assistive Technology]
บีจีพี (โพรโทลคอลข่ายงานคอมพิวเตอร์)[TU Subject Heading]
เครือข่ายทางธุรกิจ[TU Subject Heading]
งานตู้[TU Subject Heading]
สถานีโทรทัศน์เคเบิล นิวส์ เน็ทเวิร์ค[TU Subject Heading]
การทำรายการแหล่งข้อมูลข่ายงานคอมพิวเตอร์[TU Subject Heading]
ซีจีไอ (โพรโทคอลข่ายงานคอมพิวเตอร์)[TU Subject Heading]
สถาปัตยกรรมข่ายงานคอมพิวเตอร์[TU Subject Heading]
โพรโทคอลข่ายงานคอมพิวเตอร์[TU Subject Heading]
แหล่งข้อมูลข่ายงานคอมพิวเตอร์[TU Subject Heading]
ข่ายงานคอมพิวเตอร์[TU Subject Heading]
แคน (ข่ายงานคอมพิวเตอร์)[TU Subject Heading]
บริการสารบบ (เทคโนโลยีข่ายงานคอมพิวเตอร์)[TU Subject Heading]
อีเทอร์เน็ต (ระบบข่ายงานบริเวณเฉพาะที่)[TU Subject Heading]
ข่ายงานคอมพิวเตอร์ในบ้าน[TU Subject Heading]
ข่ายงานสารสนเทศ[TU Subject Heading]
เครือข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิทัล[TU Subject Heading]