428 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ผูก*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ผูก, -ผูก-
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ประดิพัทธ์
ความรักใคร่ผูกพัน
สก๊อย
[สะ-ก๊อย](n, slang)วัยรุ่นหญิงที่มักนั่งท้ายมอเตอร์ไซค์ของเด็กแว้น มักใส่เสื้อยืดรัดติ้ว หรือไม่ก็สายเดี่ยว เสื้อกล้าม เกาะอก ชอบใส่กางเกงขาสั้นเอวต่ำ มักผัดหน้าให้ขาววอก และจะผูกผมเป็น 2 ข้าง ส่วนริมฝีปากจะแดงระเรื่อ เครื่องประดับชิ้นสำคัญ คือ หวี และการใช้โทรศัพท์มือถือและน้ำยาอุทัยทิพย์ที่ใช้ทาปากให้แดงอยู่เสมอ ส่วนใหญ่บริเวณน่องขาของสก๊อยมักมีรอยท่อไอเสียดาด และรอยแผลเป็นประปรายตามแข้งขาเนื่องจากอุบัติเหตุ
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)tyingSee Also:binding, fastening, attachment, affix, tetheringSyn.การพัน, การรัด, การมัด, การผูกยึดExample:เจ้าหน้าที่ไปรษณีย์อธิบายการผูกเชือกกล่องพัสดุThai Definition:การเอาเชือกเป็นต้นสอดคล้องกันให้เกิดเป็นเงื่อน เพื่อทําให้มั่นหรือติดต่อกันในตัวหรือกับสิ่งอื่น, การติดต่อหรือติดพันกันแน่นกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
(v)have one's heartSee Also:tie with affection, form ties of affectionSyn.ผูกใจExample:เราได้แต่ผูกจิตในรักเฝ้าคะนึงหานางอยู่ทุกเวลาThai Definition:เอาใจใส่ผูกพันด้วยความรักหรือปรารถนาดี
(v)hold grudge againstSee Also:seek revenge, bear someone a grudge, start a feud with, enter into a feud, engage in endlSyn.จองเวรExample:ผู้ใดผูกเวรต่อกัน ผู้นั้นจะได้รับความทุกข์ไปตลอดอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้Thai Definition:เอาใจไปติดพันแน่นกับความพยาบาทหรือความปองร้ายต่อผู้อื่น
(v)be constipatedSee Also:suffer from constipationAnt.ท้องเดิน, ท้องร่วง, ท้องเสียExample:ยาหลายอย่างมีผลข้างเคียงทำให้ท้องผูกThai Definition:อาการที่อุจจาระแข็งถ่ายออกลำบาก
(n)constipationSee Also:suffer from constipationSyn.โรคท้องผูก, อาการท้องผูกAnt.ท้องเดิน, ท้องร่วง, ท้องเสียExample:เขาไม่ค่อยทานผักและผลไม้ จึงเป็นโรคท้องผูกบ่อยๆThai Definition:อาการที่อุจจาระแข็งถ่ายออกลำบาก
(v)befriendSee Also:make friends, form / make an allianceSyn.ผูกสัมพันธ์Example:เธอเห็นเขาเริ่มจะรวยก็รีบผูกไมตรีอย่างออกนอกหน้าทีเดียวThai Definition:ติดต่อหรือสร้างความสัมพันธ์ต่อกันหรือเป็นเพื่อนกัน เป็นต้น
(n)commitmentSee Also:obligation, pledgeSyn.ข้อผูกมัด, ข้อสัญญา, พันธะ, สัญญาผูกมัดExample:ข้อผูกพันเรื่องการส่งออกข้าวระหว่างไทยกับญี่ปุ่นกำลังจะสิ้นสุดลงUnit:ข้อ, ประการ
(n)obligationSee Also:binding conditionSyn.ข้อสัญญา, ข้อผูกพัน, พันธะExample:อเมริกาไม่มีข้อผูกมัดใดๆ กับคูเวตอีกต่อไปUnit:ข้อThai Definition:สิ่งที่เป็นสัญญาต่อกันหรือข้อตกลงที่ผูกพันระหว่างกัน
(n)monopolistSee Also:monopolyExample:บริษัทจะไม่ได้กำไรได้อย่างไรในเมื่อเป็นผู้ผูกขาดการจำหน่ายยางพาราไว้แต่เพียงผู้เดียวThai Definition:ผู้สงวนสิทธิ์การเป็นผู้ผลิตหรือผู้จัดจำหน่ายไว้แต่ผู้เดียว
(n)relationshipSee Also:connectionSyn.ความสัมพันธ์Example:เพื่อนสองคนนี้มีความผูกพันกันมานาน
(n)obligationSee Also:chargeExample:ในปีนี้ฐานะเงินคงคลังของประเทศเหลือเพียง 103, 635 ล้านบาท และในจำนวนนี้มีภาระผูกพันที่จะต้องใช้อีกประมาณ 6 หมื่นกว่าล้านบาทThai Definition:เรื่องที่ต้องรับผิดชอบต่อเนื่องไป
(n)a house composing parts tied together with rattanExample:เรือนพื้นบ้านแบบชั่วคราวชนิดเรือนเครื่องผูกจะใช้วัสดุท้องถิ่นที่หามาได้ง่ายๆ ในบริเวณใกล้เคียงThai Definition:เรียกเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้นว่า เรือนเครื่องผูก, คู่กับ เรือนเครื่องสับ
(n)monopolySyn.การค้าแบบผูกขาดAnt.การค้าเสรีExample:เขาไม่เห็นด้วยกับการค้าผูกขาดในตลาดของบริษัทไมโครซอฟต์Thai Definition:การค้าที่ภาวะตลาดมีผู้ขายเพียงผู้เดียว
(n)constipationSee Also:irregularitySyn.ท้องผูกExample:วัณโรคที่ลำไส้อาจทำให้มีอาการท้องผูกสลับท้องเดิน และอาจคลำพบก้อนในท้อง
(n)shoelaceSee Also:shoestringExample:เชือกผูกรองเท้าของเขาหลุดUnit:เส้น
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. เรียกเรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้น ว่า เรือนเครื่องผูก, คู่กับ เรือนเครื่องสับ.
ว. อาการที่อุจจาระแข็งถ่ายออกลำบาก.
ก. เอาเชือกเป็นต้นสอดคล้องกันให้เกิดเป็นเงื่อน เพื่อทำให้มั่นหรือติดต่อกันในตัวหรือกับสิ่งอื่น เช่น ผูกเชือก ผูกลวด ผูกโบ, ติดต่อหรือติดพันกันแน่นกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ผูกใจ ผูกโกรธ ผูกมิตร, ประกอบเข้า เช่น ผูกประโยค ผูกปริศนา ผูกลาย, ติดพันกันด้วยเรื่องสิทธิและหน้าที่ตามที่ตกลงกัน เช่น ผูกตลาด ผูกท่า
คุ้มครอง (ใช้ในการเล่นหมากรุก) เช่น เอาม้าผูกโคน เอาเรือผูกม้า
ขมวด เช่น ผูกคิ้วนิ่วหน้าไม่พาที (นิ. นรินทร์)
จอง เช่น ผูกเวร
ตรงข้ามกับ แก้.
น. ลักษณนามเรียกหนังสือใบลานที่ร้อยหูไว้มัดหนึ่ง ๆ ว่า คัมภีร์เทศนาผูกหนึ่ง.
ก. ทอดสะพานเข้าไปสืบข่าว เช่น ก็ให้ผูกกระไดข่าวคอย (ลอ).
ก. เอาเส้นด้ายผูกข้อมือเด็กแล้วกล่าวเรียกขวัญว่า “ขวัญเอ๋ย มาอยู่กับเนื้อกับตัว” แล้วกล่าวให้พรต่อไปตามสมควร.
ก. สงวนสิทธิไว้แต่ผู้เดียว.
ก. นำเครื่องหมายแทนพระเคราะห์มีอาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ศุกร์ เป็นต้น บรรจุลงในดวงตามช่องจักรราศีทั้ง ๑๒ ที่โคจรมาสถิตตามวัน เดือน ปี และเวลาตกฟากของเจ้าของชะตานั้น ดูว่าอาทิตย์ตกอยู่ในราศีใด แล้วเอาองศาอาทิตย์ของวันเกิดเจ้าของชะตามาคำนวณว่า เมื่อเวลา ๖.๐๐ นาฬิกา อาทิตย์อยู่ในราศีดังกล่าวมาแล้วนานเท่าใด เรียกว่า อดีตอุทัย และเวลาเหลืออีกนานเท่าใดจึงจะพ้นไปจากราศีนั้น เรียกว่า อนาคตอุทัย แล้วเอาเวลาตกฟากตั้งลบด้วย ๖.๐๐ นาฬิกา และอนาคตอุทัย ต่อไปเอาอันโตนาทีของราศีถัด ๆ ไปลบทีละราศี ถ้าเวลาหรือเลขที่เหลือไม่พอให้อันโตนาทีของราศีใดลบได้ ลัคนาก็อยู่ที่ราศีนั้น การผูกดวงนี้เพื่อทำนายโชคชะตาเป็นต้น.
ก. ทำหนังสือสัญญาเป็นลูกจ้างรับเงินล่วงหน้าแล้วให้ดอกเบี้ยแทนรับใช้การงาน.
ก. ว่าจ้างให้ทำอาหารใส่ปิ่นโตส่งให้ตามที่ตกลงกัน, (ปาก) ว่าปิ่นโต, กินปิ่นโต ก็ว่า.
น. เรียกพิธีสังฆกรรมที่สงฆ์กำหนดเขตแดนขึ้น โดยมีหินเป็นต้นเป็นเครื่องหมาย ว่า พิธีผูกพัทธสีมา.
ก. มีความเป็นห่วงกังวลเพราะรักใคร่เป็นต้น
ก่อให้เกิดพันธะที่จะต้องปฏิบัติตาม
ก่อหนี้สินผูกมัดรัฐบาลให้ต้องจ่ายในงบประมาณแผ่นดินต่อ ๆ ไป เช่น หนี้ผูกพัน งบประมาณผูกพัน รายจ่ายผูกพัน.
ก. ว่าเหมาการเก็บภาษีไปทำเองแล้วให้เงินแก่หลวงตามสัญญา.
ก. ผูกพันไว้แน่น.
ก. จองเวร.
ก. ทำเครื่องหมายกำหนดไว้เพื่อกรรมสิทธิ์หรือประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง, กำหนดไว้, จองไว้.
ก. รู้วิธีทำก็ต้องรู้วิธีแก้ไข, รู้กลอุบายทุกทาง ทั้งทางก่อและทางแก้.
น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้น, คู่กับ เรือนเครื่องสับ.
(กัน-) น. ฉัตร ๕ ชั้นและ ๗ ชั้น สำรับหนึ่งมี ๓ องค์ คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ ทำด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นเขียนทอง เป็นเครื่องสูงอันเป็นสิริมงคลยิ่งสำหรับพระมหากษัตริย์ ใช้กางเชิญนำพระราชยานเวลาเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราใหญ่ และใช้เข้าพิธีคชกรรมนำช้างสำคัญขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี.
น. ชื่อรูปปลอกเหล็กสำหรับจับช้างดุ ทางปลายสัณฐานปากเปิดอย่างคีมคีบเบ้าทองเหลือง มีกำลังหดตัวให้ปลายจดเข้าหากันได้ ที่ริมปากมีงาแซงทำด้วยเหล็กปลายแหลมข้างละอัน ที่โคนปลอกมีที่สำหรับสวมคันไม้ไผ่ที่ทะลวงให้กลวง ร้อยเชือกซึ่งผูกจากปลอกลอดออกมาจากคันไม้ ใช้สำหรับพุ่งเข้าไปเกาะขาช้างข้างใดข้างหนึ่งไว้ เมื่อเกาะได้แล้ว โรยปลายไปผูกกับขอนไม้ไว้เพื่อช้างจะได้ลาก ช้างกำลังดุก็ลากไป งาแซงก็จะฝังลึกเข้าไปทุกทีจนไม่สามารถจะก้าวขาได้ ก็เป็นอันจับได้
น. สิ่งที่ตามปรกติมียอดเป็นลอมอย่างซุ้ม ใช้เป็นเครื่องกำบังแดดลมเป็นต้น, โจม ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึง สิ่งที่รวมกันเข้าเป็นลอม เช่น กระโจมปืน หรือสิ่งที่ผูกรวบยอดให้รวมกัน เช่น ปากผูกกระโจม หรือผ้าที่ทำเป็นลอมเพื่อเข้าไปอยู่ให้เหงื่อออก เช่น เข้ากระโจม.
น. เครื่องสำหรับขังปลาชนิดหนึ่ง ใช้ไม้ไผ่ทำเป็นกง ๔ อัน แล้วผูกด้วยซี่ไม้ไผ่โดยรอบ รูปกลม หัวท้ายเรียว ตอนบนเจาะเป็นช่อง มีฝาปิด ใช้ไม้ขัดฝา ๒ ข้าง ใช้ไม้ไผ่กระหนาบเพื่อให้ลอยได้ ในขณะออกไปจับปลาตามกรํ่า เมื่อจับปลาหรือกุ้งได้ก็เอาใส่ไว้ในนั้นชั่วคราว, อีกชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ มีปากเปิดกว้างคล้าย ๆ ตะกร้าหรือเข่งใส่ของ แต่ใหญ่กว่ากระชังชั่วคราวนั้นหลายเท่า เป็นที่สำหรับจับปลาขนาดใหญ่มาขังไว้หรือเลี้ยงลูกปลาให้โตตามที่ต้องการ เพื่อบริโภคหรือค้าขาย และเอากระชังนี้ผูกติดหลักแช่ลอยนํ้าไว้.
น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียว, หุ้มผ้าแดง ปลายสายทั้ง ๒ ข้าง ผูกกับสายสำอางคร่อมอยู่ทางท้ายสันหลังช้าง สำหรับควาญช้างจับเมื่อเวลาคับขัน, กระแซง กระแอก หรือ ปะแอด ก็เรียก.
บริเวณปลายกระดูกสันหลังช้าง เหนือโคนหาง เช่น ผูกกระเบนสักหลาดถกล สัปทนแดงกางกั้ง (กฐินพยุห).
(-พฺรวน) น. โลหะทำเป็นรูปกลมกลวง มีลูกกลิ้งเล็ก ๆ อยู่ข้างในเพื่อให้เกิดเสียง ใช้ผูกข้อเท้าเด็กหรือคอสัตว์เป็นต้น, พรวน ลูกพรวน หรือ ลูกกระพรวน ก็ว่า, (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) หมากหิ่ง หรือ มะหิ่ง.
น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ปรกติคล้องผูกอยู่รอบคอช้าง เมื่อตั้งสัปคับหรือกูบอย่างใดอย่างหนึ่ง ใช้ปลายทั้ง ๒ ข้างผูกสัปคับหรือกูบเพื่อรั้งมิให้เลื่อนไปทางท้ายช้างขณะเดินขึ้นที่ชัน, เขียนเป็น กระพัตร ก็มี เช่น และกระพัตรรัตคนควร (ดุษฎีสังเวย).
ก. ผูก, คาด, ล้อม, เช่น เหตุกระพัดรัดตาด้วยไฟราค (ม. ร่ายยาว ชูชก).
ก. คะนึง, คิดผูกพันอยู่, มีใจจดจ่ออยู่, เช่น ปู่กระสันถึงไก่ในไพรพฤกษ์ (ลอ)
ผูกให้แน่น เช่น กระสันเข้าไว้กับหลัก, ผูกพันพระพี่น้องสองกระสันเข้าให้มั่นกับมือ (ม. คำหลวง กุมาร), รัด เช่น สายกระสัน
น. ชื่อลายไทยประเภทหนึ่ง ใช้ผูกเขียนเป็นลวดลาย มีทั้งระบายสี ปิดทองรดนํ้า ปั้น หรือแกะสลักเป็นต้น มีหลายแบบ เช่น กระหนกเปลว กระหนกก้านขด กระหนกเครือ, เขียนเป็น กนก ก็มี.
น. ลายที่ผูกเป็นตัวลอย ๆ อยู่ในรูปทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน คล้ายลายกระหนกหางโต ใช้สำหรับอุดหรือปิดช่องไฟระหว่างปลายกระหนกเครือวัลย์ เรียกว่า ลูกกระแอม หรือ ตัวกระแอม.
น. กลอนที่ผูกและกล่าวขึ้นในปัจจุบันโดยไม่ได้คิดมาก่อน, โดยปริยายหมายความว่า ข้อความที่กล่าวขึ้นในปัจจุบันโดยมิได้เตรียมตัวมาก่อน เช่น พูดกลอนสด.
(กฺลิ่น) น. ชื่อพวงดอกไม้ร้อยมีรูปแบนประกอบด้วยอุบะ, ถ้าทำให้ผูกแขวนควํ่าลงมา เรียกว่า กลิ่นควํ่า, ถ้าทำให้ผูกแขวนตะแคง เรียกว่า กลิ่นตะแคง.
น. ชื่อเงื่อนชนิดหนึ่ง ใช้สำหรับผูกเรือเพื่อคล้องกับที่ยึดหรือเสายึดเรือ เป็นเงื่อนที่แน่นแต่แก้ออกง่าย, ถ้าผูกเงื่อนชนิดทำห่วงไว้ก่อน เรียกว่า กะห่วง.
น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าตามริมฝั่งชนิดหนึ่ง ใช้เฝือกกั้นด้านข้าง ๒ ด้านเป็นคอก ด้านหน้ามีประตูผูกเชือกชักขึ้นลงได้ ด้านหลังชิดตลิ่ง ใช้ตลิ่งเป็นที่กั้น ในคอกสะด้วยกิ่งไม้และโปรยเหยื่อเพื่อล่อให้ปลาเข้าไป, ต้อน ก็เรียก.
ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่ผู้เดียวตามกฎหมาย และไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือให้สัตยาบัน รวมทั้งการคํ้าประกันหนี้ของส่วนราชการ องค์การของรัฐ สถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจ.
น. เรือเดินทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง หัวเรือเรียวแหลม ท้ายเรือมนและราบในระดับเดียวกับหัวเรือ, ถ้ามีเสายาวยื่นออกไปสำหรับผูกสายใบ มีเสากระโดง ๓ เสา มีใบ เรียกว่า กำปั่นใบ, ถ้าเสากระโดงตรงกลางไม่มี มีปล่องไฟโดยใช้เดินด้วยกำลังเครื่องจักรไอนํ้า เรียกว่า กำปั่นไฟ.
ก. ว่าจ้างให้ทำอาหารใส่ปิ่นโตส่งให้ตามที่ตกลงกัน, ผูกปิ่นโต ก็ว่า, (ปาก) ว่าปิ่นโต.
น. เครื่องผูกสำหรับหัดช้างให้เดินฝีเท้าเรียบ.
(เกฺริ่น) น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่ผ่าเป็นซีก ๆ ผูกด้วยหวายให้ติดกันเป็นแผง, ปัจจุบันเรียกว่า เฝือก.
น. เรียกไม้ที่ปักขึ้นกลางลานสำหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ ว่า เสาเกียด.
ก. อาการที่สิ่งงอเป็นขอเกาะติดหรือเหนี่ยวไว้ เช่น ทอดสมอให้เกี่ยวแง่หินไว้, เอาของที่มีลักษณะเช่นนั้นเกาะติดหรือเหนี่ยวไว้ เช่น เอาขอเกี่ยว, ติดต่อผูกพัน, แตะต้อง, ยุ่งเกี่ยว, ข้องแวะ, เช่น เรื่องนี้อันตรายมากอย่าเอาตัวเข้าไปเกี่ยวเลย, เกี่ยวข้อง ก็ว่า
ก. ติดต่อผูกพัน, แตะต้อง, ยุ่งเกี่ยว, ข้องแวะ, เกี่ยว ก็ว่า.
น. เรียกไม้ยาว ๆ ที่ผูกเบ็ดที่ปลายสำหรับชักกบในรู ว่า ขอแกว.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ข้อผูกพันที่จะชำระหนี้เมื่อบุคคลที่ระบุไว้ถึงแก่ความตาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผูกขาดการซื้อ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผูกขาดการขาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผูก[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
วัสดุใช้ผูก[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เงินกู้ที่มีข้อผูกมัด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กฎหมายป้องกันการผูกขาด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. สายรัด, แถบ๒. ผูกรัด[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ผูกพันในตัว[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ข้อตกลงที่ยังไม่ผูกพัน (เว้นแต่จะได้รับสัตยาบัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มีภาระผูกพันเกินควร[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สัญญาที่มีภาระผูกพันเกินควร[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อาการท้องผูกดื้อด้าน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การผูกขาดโดยผู้ขาย (เพียงน้อยราย)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การผูกขาดโดยผู้ขายเพียงน้อยราย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อกำหนดที่มีภาระผูกพันเกินควร[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. พันธกรณี, ข้อผูกพัน๒. หนี้[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
พันธะ, ข้อผูกพัน[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. หนี้, ข้อผูกพัน (ก. แพ่ง)๒. พันธกรณี (ก. ระหว่างประเทศ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หนี้ตามสัญญา, ข้อผูกพันตามสัญญา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การประกันภัยต่อโดยผูกพัน[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผู้มีภาระผูกพัน[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายป้องกันการผูกขาด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ผูกพัน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
สมการผูกพัน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เมทริกซ์ผูกพัน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ตัวดำเนินการผูกพัน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
สัญญาที่จะมีผลผูกมัดต่อเมื่อคู่สัญญาสนองรับ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ใบรับผูกพัน[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
สัญญาผูกพันสองฝ่าย[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
การพ้นจากความผูกพันตามสัญญา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ท้องผูก[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ท้องผูก[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การผูกขาด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การผูกขาด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผูกขาดการซื้อ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความผูกพันซึ่งกันและกัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ข้อตกลงแลกเปลี่ยนเชลยศึก๒. การรวมกลุ่มเพื่อผูกขาดทางธุรกิจ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
หลักการตัดภาระผูกพัน[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
สิ้นความผูกพัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผูกปม[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การส่งร่างกฎหมายให้คณะกรรมาธิการพิจารณา๒. ข้อผูกมัด, พันธกรณี๓. หมายจำคุก[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ข้อผูกมัด, การผูกมัด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อตกลงระหว่างคนในครอบครัว (ที่ไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สัญญาประกันภัยต่อผูกพันแบบเฉพาะราย[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การร่างมติ (เพื่อเสนอให้ลงมติ) (ก. ปกครอง)๒. การกว้านซื้อสินค้า (เพื่อผูกขาด) (ก. พาณิชย์)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อผูกพัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หนี้ที่ไม่ผูกพัน (ตามกฎหมาย), หนี้ทางศีลธรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เงินกู้ที่มีข้อผูกมัด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การผูกท่อรังไข่[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ข้อผูกพันในการซื้อขายก๊าซExample:ข้อผูกพันในการซื้อขายก๊าซซึ่งผู้ซื้อได้ตกลงกับผู้ขายที่จะซื้อและรับก๊าซในปริมาณที่ตกลงไว้ ถ้าผู้ซื้อไม่สามารถรับก๊าซในปริมาณและระยะเวลาที่ตกลงไว้ จะต้องจ่ายมูลค่าก๊าซที่ยังไม่ได้รับไปก่อนแล้วไปรับก๊าซคืนในปีถัดไป (Make-up) (ดูคำ Make-up Gas)[ปิโตรเลี่ยม]
ก๊าซส่วนที่รับคืนมาจากการจ่ายเงินค่าก๊าซไปแล้วในปีก่อนตามข้อผูกพัน Take or Pay, ก๊าซส่วนที่รับคืนมาจากการจ่ายเงินค่าก๊าซไปแล้วในปีก่อนตามข้อผูกพัน Take or Pay (ดูคำ Take or Pay)[ปิโตรเลี่ยม]
กฎหมายป้องกันการผูกขาด[เศรษฐศาสตร์]
การตรากฎหมายป้องกันการผูกขาด[เศรษฐศาสตร์]
การรวมกันผูกขาดทางอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
ภาระผูกพันในการลงทุน[เศรษฐศาสตร์]
การผูกขาดโดยผู้ขายน้อยราย[เศรษฐศาสตร์]
การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเฉียบพลัน, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายภายในระยะเวลาสั้น ซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียว[นิวเคลียร์]
เอแอลไอ, ขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี, ปริมาณสูงสุดของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิด ที่ร่างกายได้รับโดยการหายใจ การกิน หรือ ผ่านทางผิวหนังในเวลา 1 ปี ได้จากการคำนวณปริมาณรังสีผูกพันโดยใช้แบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) จะเท่ากับขีดจำกัดปริมาณรังสี[นิวเคลียร์]
การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีต่อเนื่อง, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ การกิน หรือ การซึมผ่านผิวหนังหรือบาดแผล อย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลานาน ดังนั้น ปริมาณรังสีผูกพันจึงเป็นผลรวมของปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียวของแต่ละช่วง[นิวเคลียร์]
ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต[นิวเคลียร์]
ท้องผูก[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Example:คำที่มักเขียนผิด คือ ผูกพันธ์[คำที่มักเขียนผิด]
กฎหมายป้องกันการผูกขาด[TU Subject Heading]
ท้องผูก[TU Subject Heading]
การผูกเงื่อน[TU Subject Heading]
การค้าผูกขาด[TU Subject Heading]
การค้าผูกขาดโดยผู้ขายน้อยราย[TU Subject Heading]
ความผูกพันต่อองค์การ[TU Subject Heading]
การทำหมันโดยผูกท่อรังไข่[TU Subject Heading]
การผูกขาดExample:อุตสาหกรรมใดที่มีหน่วยธุรกิจเพียงหน่วยเดียว ในท้องตลาดเป็นผู้จัดหาสินค้าและบริการในท้องตลาด เรียกได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่มีการผูกขาด การผูกขาดอาจยืนยงอยู่ได้ ในช่วงเวลาที่ห้ามหน่วยธุรกิจอื่นเข้ามาดำเนินการ โดยรัฐอาจสงวนสิทธิ การผลิตไว้เองหรือมอบหมายให้หน [สิ่งแวดล้อม]
ภาคยานุวัติ หมายถึง การให้ความยินยอมที่จะผูกพันตามสนธิสัญญาภายหลังจากที่มีการลงนามในสนธิ สัญญาไปแล้ว[การทูต]
ความตกลง ความตกลงระหว่างประเทศมี 2 ลักษณะ คือ ความตกลงที่มีลักษณะเป็นข้อผูกพันตามกฎหมาย และความตกลงที่ไม่มีลักษณะเป็นข้อผูกพันตามกฎหมาย[การทูต]
บันทึกช่วยจำ " 1. เป็นเอกสารที่สร้างข้อผูกพัน ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของสัญญา 2. ในทางการเมืองระหว่างประเทศ เป็นเอกสารที่ช่วยย้ำประเด็นที่ได้มาพบและพูดไว้ "[การทูต]
ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ "[การทูต]
แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด[การทูต]
ชุดราตรีสโมสร เสื้อสูทสีดำ ปกหุ้มต่วนแพรหรือไหมสีดำ หรือเสื้อสูทสีขาว ปกไม่หุ้มต่วนแพร เสื้อเชิ้ตสีขาว อกตีเกล็ดหรือมีระบายลูกไม้ที่สาบอก ผ้าผูกคอหูกระต่าย (bow-tie) สีดำ กางเกงสีดำมีแถบดิ้นไหมสีดำ มีผ้าคาดเอวสีดำ ใช้สำหรับงานเลี้ยงอาหารค่ำหรืองานกลางคืนที่จัดขึ้นอย่างเป็นทางการ ทั้งงานของราชการและงานสังคมของบุคคลธรรมดาที่จัดอย่างหรู black tie เรียกชื่ออื่นได้อีก เช่น tuxedo หรือ smoking jacket หรือ dinner jacket[การทูต]
ชุดลำลอง ชุดสุภาพไม่ผูกผ้าผูกคอ (necktie)[การทูต]
กฎบัตร หนังสือสัญญาก่อตั้ง เป็นหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ มีข้อผูกพันแน่นอน เช่น กฎบัตร สหประชาชาติ[การทูต]
การรวมตัวของชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสมาคมทางการเมือง ประกอบด้วยประเทศสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา ลังกา ไซปรัส แกมเบีย กาน่า อินเดีย จาไมก้า คีเนีย มาเลเซีย มาลาวี มอลต้า นิวซีเแลนด์ ไนจีเรีย ปากีสถาน ซิเอร่าเลโอน แทนเซียเนีย ทรินิแดด-โทเบโก ยูแกนดา และแซมเบียตามทรรศนะของ Oppenheim ศาสตราจารย์นักกฎหมายระหว่างประเทศในระดับโลก สมาคมทางการเมืองแห่งนี้ก็คือกลุ่มของรัฐที่รวมกันโดยไม่มีพื้นฐานการรวมตัว ทางกฎหมายที่เคร่งครัดแต่อย่างใด หากแต่มีความผูกพันร่วมกันในด้านประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี กฎหมาย และมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างแน่นแฟ้นมากกว่า[การทูต]
ปฏิญญา มีความหมาย 3 อย่าง คือ (1) ความตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งมีลักษณะผูกพัน (2) ปฏิญญาฝ่ายเดียว ซึ่งก่อสิทธิและหน้าที่ให้แก่ประเทศอื่น และ (3) ปฏิญญาซึ่งรัฐหนึ่งแถลงให้รัฐอื่นทราบความเห็นและเจตนาของตนในเรื่องบาง เรื่อง[การทูต]
การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร?[การทูต]
ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ "[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540[การทูต]
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม " เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2542 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 "[การทูต]
ตราสารรับรอง " เป็นหนังสือรับรองว่ายินยอมที่จะผูกพันทางสนธิสัญญาหลังจาก ลงนามในสนธิสัญญาแล้ว "[การทูต]
สัตยาบันสาร " เป็นหนังสือแสดงความยินยอมที่จะผูกพันทางสนธิสัญญาหลังจาก ลงนามในสนธิสัญญาแล้ว "[การทูต]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น[การทูต]
ชุดพิธีการกลางวัน " ที่มีลักษณะเป็นเสื้อสูทกางยาวสีดำ กางเกงลาย เสื้อเชิ้ตสีขาว ผ้าผูกคอ (necktie) สีเทาเงิน สีขาว หรือลายดำ-ขาว มีหมวกและถุงมือ ใช้สำหรับงานที่เป็นพิธีทางการสำคัญ เช่น การ เข้าเฝ้าฯ ถวายสาส์น พิธีศพ หรือพิธีสมรสในตอนเที่ยงหรือบ่าย "[การทูต]
คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน[การทูต]
พันธภาพ ข้อผูกพัน พันธกรณี[การทูต]
การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ[การทูต]
เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้?[การทูต]
บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน[การทูต]
หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว[การทูต]
การให้สัตยาบันของรัฐซึ่งเป็นการให้ความยินยอมของรัฐ เพื่อผูกพันตามสนธิสัญญา[การทูต]
ชุดเสื้อเชิ้ต ผูกไท[การทูต]
ความร่วมมือใต้-ใต้ หรือ ความร่วมมือระหว่างประเทศกำลังพัฒนา " เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการที่ประเทศกำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายหลังจากที่ความ ช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและวิชาการที่ประเทศที่พัฒนาแล้วได้ให้แก่ประเทศกำลัง พัฒนา/ด้อยพัฒนามีแนวโน้มลดลงและมีการนำเงื่อนไขอื่น ๆ มาผูกกับการให้ความช่วยเหลือมากขึ้น อาทิ ประเด็นสิ่งแวดล้อม โดยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา/ด้อยพัฒนานี้ จะเป็นทั้งในลักษณะของการให้ (อาทิ ทุนการศึกษา/ทุนฝึกอบรม/ทุนดูงาน/ผู้เชี่ยวชาญ/วัสดุอุปกรณ์) ของประเทศใดประเทศหนึ่งแต่ฝ่ายเดียว อาทิ การให้ความร่วมมือด้านทุนฝึกอบรมระยะสั้นในสาขาการเกษตรของไทยแก่ประเทศใน แอฟริกา และในลักษณะของการแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน "[การทูต]
การประชุมสุดยอดอาหารโลก " จัดโดย FAO ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ระหว่างวันที่ 13-17 พฤศจิกายน 2539 เป็นการประชุมระดับผู้นำรัฐบาล เพื่อสร้างเจตนารมณ์ด้าน การเมือง และข้อผูกพันระหว่างประเทศให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร และการขจัดปัญหาความหิวโหยสำหรับประชากรโลก "[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เธอรู้สึกผูกพันธ์อย่างลึกซึ้ง กับหญิงแก่คนนั้นBasic Instinct (1992)
"และผูกมัดพวกเจ้าWuthering Heights (1992)
ฉันผูกติดกับว่าฉันจะไม่พบ คุณเชื่อมากIn the Name of the Father (1993)
ลักพาตัว แซนดี้ คลอว์ส / จับเขาเอาไว้แล้วก็ผูกให้แน่นThe Nightmare Before Christmas (1993)
มีเด็กแจกเชือกให้ผูกรองเท้าเข้าคู่Schindler's List (1993)
ไม่ได้สำหรับเชือกผูกรองเท้าหรือติดของเหงือก ตอนนี้คุณได้ที่?The Shawshank Redemption (1994)
ทั้งหมดแอนดี้ต้องการคือสูทและผูกเน็คไทและสาวฮูลาน้อย jiggly บนโต๊ะทำงานของเขา และเขาจะได้รับ:The Shawshank Redemption (1994)
คำของนักการเมืองเพื่อให้ ... Fellas หนุ่มเหมือนตัวเองสามารถสวมใส่สูทและผูกเน็คไทและมีงานทำThe Shawshank Redemption (1994)
ผมผูกเรื่องให้ที่นี่เป็นโรงแรมที่น่ากลัวได้เลยIn the Mouth of Madness (1994)
แหม ผูกได้เป็นเรื่องเป็นราวเชียวนะIn the Mouth of Madness (1994)
"จงอย่าผูกพันกับใครหรืออะไร"Heat (1995)
นั่นคือสิ่งเดียวที่ผูกมัดคุณHeat (1995)
อย่าเอาตัวผูกพันกับอะไร เพราะจะเดินหนีไม่ได้ใน 30 วินาทีHeat (1995)
ไม่ผูกมันแน่น อย่าปล่อยให้ไปSnow White and the Seven Dwarfs (1937)
ถือเขาแน่น ฉันจะผูกมันSnow White and the Seven Dwarfs (1937)
โปรดจำไว้ว่าพ้นเวลาที่ฉันผูก สตริง กับคุณและคุณส่งผ่านออกมา เป็นหุ่นเชิดหรือไม่?Pinocchio (1940)
ไม่มีแหม่ม แต่พวกเขาผูกฉันใน กระสอบขนาดใหญ่Pinocchio (1940)
ผูกมันที่ดีและแน่นในขณะนี้Pinocchio (1940)
เจ้าภาพก็มีอภิสิทธิ์แบบนี้ล่ะ แล้วคุณจะเป็นอะไร เป็นอลิซในแดนมหัศจรรย์มีโบว์ผูกผมดีมั้ยRebecca (1940)
และถ้าผมเดาถูกนะ ครอว์ลี่ย์ คุณคงผูกใจเจ็บผมอยู่ใช่มั้ยล่ะRebecca (1940)
คุณคิดว่าคุณได้เกิดมาพร้อมกับการผูกขาดความจริงหรือไม่12 Angry Men (1957)
ดีเราก็ยังคงผูกขึ้น 6-6 ใครมีข้อเสนอแนะหรือไม่12 Angry Men (1957)
หมายความว่าเราเลิกผูกหุ้นส่วนแล้วน่ะสิThe Good, the Bad and the Ugly (1966)
นายน่ะยังถูกผูกอยู่The Good, the Bad and the Ugly (1966)
ไม่อยากทำลาย ความผูกพันของเราใช่ไหม?The Good, the Bad and the Ugly (1966)
ดูลี, ผูกปมที่ลูกกลิ้งขึ้นHow I Won the War (1967)
มาสิ ผูกปมไว้ในHow I Won the War (1967)
มันถูกผูกติดอยู่ใต้คางเช่น ดังนั้นHow I Won the War (1967)
เช่นเชือกผูกรองเท้าเห็นที่มัน กำลังแน่นHow I Won the War (1967)
ท่านคือสัจธรรมที่ผูกพันเราไว้Beneath the Planet of the Apes (1970)
ผมได้รับบางสิ่งบางอย่างสำหรับคุณแม่และซันนี่ และผูกเน็คไทเฟร็ดดี้และทอมฮามีปากกานาดส์The Godfather (1972)
- มันผูกติดสะพานอยู่ ผมนั่งเล่นเฉยๆJaws (1975)
ผูกเงื่อนร่นเชือกให้หน่อยJaws (1975)
เอาไอ้นั่นลงไปเเล้วก็ผูกให้เเน่นนะJaws (1975)
- ก็ผูกเงื่อนประสาอะไรส่ะJaws (1975)
คุณฮูเปอร์ ผูกเชีอกกับถังใบเเรกJaws (1975)
เร็วเข้า ผูกให้เเน่นJaws (1975)
ผูกเอาไว้!Jaws (1975)
ผูกถังอีกใบJaws (1975)
ทีนี่ก็ผูกมันไว้กับพุกข้างเรือJaws (1975)
ผูกมันไว้!Jaws (1975)
ภารโรงนอนทั้งคืน ผูกมัดกับไม้กางเขนOh, God! (1977)
เราจะเผาใบผ่านของผู้ที่ผูกมัดเราซะGandhi (1982)
มีกฎหมายผลิตเกลือ ผูกขาดของอังกฤษอยู่ครับGandhi (1982)
มา, ผูกนี่ไว้.Return of the Condor Heroes (1983)
เราไม่มีภาระผูกพันอื่น ๆ2010: The Year We Make Contact (1984)
ผูกแขนให้แน่นทีReturn to Oz (1985)
ผูกใบปาล์มกับโซฟาเร็ว บิลลิน่าช่วยที!Return to Oz (1985)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[amnāt phūkphan] (n, exp) FR: compétence liée [ f ]
[ātyābat phūkkhāt] (n, exp) EN: exclusive prospecting license for minerals
[cheūak phūk røngthāo] (n) EN: shoelace  FR: lacet (de chaussure) [ m ]
[kaē cheūak phūk røngthāo] (v, exp) FR: défaire les lacets ; délacer ses chaussures
[kān mai patibattām khøphūkphan] (n, exp) EN: non-performance
[kān phūkkhāt] (n) EN: monopolization ; monopoly  FR: monopole [ m ]
[khøphūkmat] (n) EN: obligation ; binding condition ; duty ; condition ; commitment ; clause ; stipulation  FR: obligation [ f ]
[khøphūkphan] (n) EN: commitment ; obligation ; pledge  FR: obligation [ f ] ; engagement [ m ]
[khwām phūkphan] (n) EN: relationship ; connection ; ties
[mī phon phūkphan] (adj) EN: conditional
[phāphūkkhø] (n) EN: necktie  FR: cravate [ f ]
[phāra phūkphan] (n, exp) EN: obligation
[phūk] (v) EN: tie ; fasten ; bind ; knot  FR: attacher ; nouer ; lier ; amarrer
[phūk dūang] (v, exp) EN: cast a horoscope   FR: faire l'horoscope
[phūk hø] (v, exp) EN: tie up a parcel
[phūkhū] (v) EN: reserve ; earmark ; stake out one's claim
[phūk jai jep] (v, exp) FR: garder rancune
[phūk khaēn] (v, exp) EN: tie the arm  FR: nouer autour du bras
[phūk jit] (v, exp) EN: have one's heart ; tie with affection ; form ties of affection
[phūkkhāt] (v) EN: monopolize ; have a monopoly  FR: accaparer ; monopoliser ; avoir le monopole
[phūkkhāt kānkhā] (v, exp) EN: monopolize trade  FR: monopoliser le commerce
[phūkkhāt talāt] (v, exp) EN: control the market  FR: contrôler le marché
[phūk khø tāi] (v, exp) FR: se pendre ; se suicider
[phūkmaitrī] (v, exp) EN: befriend ; make friends ; form an alliance ; make an alliance
[phūkmat] (v) EN: commit (oneself) ; be bound
[phūkmat dūay sanyā] (v, exp) EN: bind by a contract
[phūkmat tūa-ēng] (v) EN: bind oneself ; commit oneself
[phūkmat] (v) EN: be bound ; restrain  FR: ficeller ; ligoter ; attacher ; lier
[phūkmit] (v) EN: befriend ; make friends  FR: se lier d'amitié
[phūk ngeūan] (v, exp) EN: tie a knot  FR: faire un noeud
[phūkphan] (v) EN: commit ; be bound
[phūkphan] (adj) EN: bound  FR: attaché à ; engagé ; lié
[phūk wēn] (v) EN: hold grudge against ; seek revenge ; bear someone a grudge ; start a feud with ; enter into a feud ; engage in endless retributions
[sitthi phūkkhāt] (n, exp) EN: sole rights
[tham tām khøphūkmat] (v, exp) EN: act as stipulated in the contract ; act according to the contract
[thøngphūk] (n) EN: constipation  FR: constipation [ f ]
[thøngphūk] (x) EN: be constipated ; suffer from constipation  FR: être constipé
[thun phūkkhāt] (n, exp) EN: monopoly capital
[trā phā phūk khø lūkseūa prajamchangat] (n, exp) FR: blason scout provincial [ m ]
[yā kaē thøngphūk] (n, exp) EN: laxative  FR: laxatif [ m ]
Longdo Approved EN-TH
(n)รองเท้าส้นเตี้ยไม่มีเชือกผูก ส่วนใหญ่ทำจากหนัง
Image:
loafer
(n)เชือกผูกปากถุง, เชือกที่เป็นหูรูดของเสื้อผ้า เช่น Keep your jewelry together in a drawstring bag that proudly proclaims your pink ribbon pride!
(n)ความรู้สึกผูกพันกับกลุ่ม เช่น Collectivism is an answer to the first question. It says value to the collective, whether that's society, your tribe, your family, your nation and your race.
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(vt)ทำให้ปราศจากข้อผูกพันSee Also:ทำให้ปราศจากภาระ
(vt)ผูกSee Also:ติด, ประทับSyn.attach, fasten
(adj)ที่ต่อต้านการผูกขาด
(vt)มีความสัมพันธ์กับSee Also:มีความผูกพันกับ
(n)ความผูกพันทางอารมณ์Syn.affection, fondness
(vt)คาดด้วยผ้าแถบSee Also:ผูกด้วยผ้าแถบSyn.tap
(vt)คาดเข็มขัดSee Also:ใช้สายคาดผูกSyn.fasten
(n)ผ้าผืนเล็กๆ ใช้ผูกใต้คางเด็กเพื่อกันเปื้อน
(vt)มัดSee Also:รัด, ผูกSyn.adhere, cleave, bondAnt.loosen
(n)สิ่งที่ใช้ผูกหรือมัด
(vt)เอาผ้าปิดตาSee Also:เอาผ้าผูกตา
(n)เสาที่ใช้ผูกเชือกเรือ
(n)เน็กไทผูกรอบคอที่มีเข็มกลัดติดด้านหน้า
(vt)ผูกมัด
(n)ข้อผูกมัดSee Also:พันธนาการSyn.obligation
(n)ไม้ขวางที่ผูกข้างเรือ
(n)สายผูกเชือกรองเท้า
(adj)ผูกพันSee Also:สนิทสนม
(adj)ผูกSee Also:ถ่ายไม่ออก
(adj)มีสัญญาผูกมัดSee Also:มีการผูกมัดSyn.obliged, compelledAnt.voluntary
(phrv)ผูกไว้กับกระดานSee Also:ตรึงไว้ให้แน่น กับกระดาน
(phrv)ผูกSee Also:มัด, พันSyn.tie down
(phrv)ผูกให้แน่นSee Also:มัดให้แน่น
(phrv)ผูกSee Also:มัด, พันSyn.cast off
(phrv)มัดกับSee Also:ผูกไว้กับSyn.tie to
(phrv)มัดไว้ด้วยกันSee Also:ผูกไว้ด้วยกันSyn.tie together
(phrv)ผูกเชือก
(n)สิ่งทำให้ผูกพันกัน
(n)เครื่องผูกมัดSyn.bond
(vt)ผูกไว้ด้วยกันSee Also:ผูกติดกัน, ทำให้เชื่อมกันSyn.connect, link
(vt)ทำให้ท้องผูก
(adj)ท้องผูก
(n)อาการท้องผูก
(n)คำหรือวลีที่ผูกขึ้นSyn.expression, grammatical construction
(vt)ผูกด้วยเชือก
(n)การผูกขาด
(vt)ผูกขาดSee Also:ควบคุม
(n)กระดิ่งที่ผูกวัว
(phrv)ผูกให้แน่น (เพื่อให้เล็กลง)Syn.catch up
(phrv)เกี่ยวไว้กับSee Also:ผูกไว้กับ, แขวนไว้กับ
(phrv)ล่ามโซ่ไว้กับSee Also:ล่ามไว้กับ, ผูกไว้กับSyn.fasten
Hope Dictionary
(อะฟิล' ลิเอท) vt., vi. ผูกพัน, เข้าร่วม, รับเป็นสมาชิก, สืบสาวเรื่องราว, เป็นพี่น้องกัน, ยกให้เป็นพี่น้อง, รับเป็นบุตร. -n. สาขา (กิจการธุรกิจ) , ผู้ที่เป็นสมาชิกหรือผูกพัน. -affiliable adj. -affiliation n.Syn.branch, associate
(vt, vi. อะไล', -n. แอล' ไล, อะไล') ผูกพัน, เข้าข้าง, เป็นพันธมิตร, พันธมิตร, ประเทศพันธมิตร, พรรคพวก, ผู้ช่วย, สิ่งที่เกี่ยวดองกัน. -alliable adj.Syn.confederate, partner-A. enemy
(แอนทีทรัส'ทฺ) adj. ต่อต้านการผูกขาด (ธุรกิจการค้า) (opposed to monopolies)
(แอริสทอค'คระซี) n. พวกคนชั้นสูง, พวกขุนนาง, คณาธิปไตย, การปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ, การปกครองของขุนนางSyn.gentry, nobilityAnt.proletariat
(อะริสโทแครท'ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ (คณาธิปไตย) , มีลักษณะของคนชั้นสูง
(อะริสโทแครท'ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการปกครองที่ผูกขาดโดยหมู่คณะ (คณาธิปไตย) , มีลักษณะของคนชั้นสูง
(อาร์'ทิเคิล) n. สิ่งของ, ชิ้น, สินค้า, บทความ, มาตรา, ข้อ, ข้อบังคับ, รายการ, คำนำหน้านาม. -vt. กล่าวหา, ฟ้อง, ทำให้ข้อบังคับผูกมัดSyn.item, object, piece, essay
(แอสทริคท') vt. ผูกมัด, จำกัด, ผูกพัน (ทางใจหรือนิตินัย) . -astriction n.
(อะแทชฺ') vt. ผูกมัด, ผูกติด, ติด, แนบ, ปิด, ประกอบ, มีพร้อม, วางอยู่ใน, ส่งไปประจำ, อายัด, จับกุม. -vi. ผูกมัด, ติด, เป็นของSyn.fasten, join, secureAnt.detach, quit
(อะแทช'เมินทฺ) n. การติด, การผูกติด, ภาวะที่ผูกติด, ความรู้สึกผูกพัน, การอุทิศ, สิ่งยึดติด, สิ่งที่ผูกพัน, อุปกรณ์ติดตั้ง, การยึดทรัพย์Syn.connection, device, affinity
(แบนดฺ) { banded, banding, bands } n. สายคาด, สายรัด, แถบ, ปลอก, หมู่, พวก, คณะ, วงดนตรี, คณะตนตรี, ช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ, สิ่งผูกมัดคน, โซ่ตรวน, ปลอกรัด, พันธะ, ข้อผูกพัน vt., vi. ใช้สายผูกรัด, รวมกลุ่ม, ประดับด้วยสายหรือแถบSee Also:bander n.
(แบน'ดิจฺ) { bandaged, bandaging, bandages } n. แถบผ้าพันแผล, ผ้าพันแผล, สิ่งผูกมัด vt., vi. พันหรือติดด้วยผ้าหรือแถบพันแผลSee Also:bandager n.Syn.strip
(บิเกิร์ด') { begirded, begirding, begirds } vt. มัด, ผูก, ล้อม, โอบ
(บิเล') vt. belayed, belaying, belays } มัดกับหลัก, หยุด, ผูกมัด, เอาเชือกผูกกับตัว vi. เอาเชือกผูก
(บิบ) n. ผ้าผูกใต้คางเด็กเพื่อกันเปื้อน
(ไบทฺ) n. ส่วนเวิ้ง, อ่าวเล็ก ๆ , ห่วงเชือก vt. เอาเชือกมาผูกเป็นห่วง, ใช้ห่วงเชือกผูกมัดไว้
(ไบดฺ) { bound, bound, binding, binds } vt., vi., n. (การ) ผูก, มัด, พัน, เข้าปก, เย็บเล่ม, เชื่อมผนึก, ทำให้ท้องผูก, ผูกพัน, ยับยั้ง, ยึดแน่น, แข็งตัวSee Also:bindable adj. ดูbindSyn.tie
(ไบ'เดอะ) n. สิ่งที่ผูกมัด, ผู้ผูก, ผู้มัด, การเย็บปก, ยาเกาะติด, เชือก, สายมัด, แผ่นปะหน้าหนังสือ, เงินมัดจำ, เครื่องเย็บเล่ม, เครื่องเข้าปก, แฟ้ม
(ไบน์'ดิง) n. การผูก, การมัด, สิ่งผูกมัด, การเข้าปกหนังสือ, การเย็บเล่มหนังสือ, การทำให้ท้องผูก, สายมัด, สายพัน, ยาเชื่อมติด adj. จำเป็น, ผูกพันSyn.compelling
(บอนดฺ) { bonded, bonding, bonds } n. ข้อผูกมัด, ข้อตกลงในสัญญา, สิ่งผูกมัด, พันธนาการ, สลัก, ตรวน, โซ่, การคุมขัง, การติดคุก, พันธบัตร, ใบกู้ยืม, ใบหุ้นกู้, พันธุกรรม, พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุล vi., vt. (ทำให้) ผูกมัดเข้าด้วยกัน, เชื่อมติด, ผนึกเข้าด้วยกัน adj. เกี่ยวกับควา
(บอน'ดิจฺ) n. ความเป็นทาส, ภาวะที่เป็นทาส, การผูกมัดSyn.servitudeAnt.freedom
(บอน'นิท) { bonnetted, bonnetting, bonnets } n. หมวกสตรีรูปฝาชีมักมีริบบิ้นผูกใต้คาง, หมวกเด็ก, ฝาครอบเครื่องจักร, ฝาครอบเครื่องจักร, ฝาครอบปล่องไฟ, หน้าม้าในวงพนัน, ผู้ร่วมมือ vt. ใส่หมวก, ใส่ฝาครอบ, สมคบหลอกลวงSyn.hat
(บูท'เลส) n. เชือกผูกรองเท้าบู๊ท, เชือกผูกรองเท้า
n. รูเชือกผูกรองเท้า ปลุกเครื่องเรียกย่อ ๆ ว่า boot1. หมายถึงการเปิดเครื่องด้วยการบรรจุซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) เข้าไปในหน่วยความจำหลัก (main memory) 2. อาจหมายถึงเทคนิควิธีในการบรรจุโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง (program) ทั้งปวงที่มีอยู่ ลงไปในหน่วยความจำหลัก
(เบาดฺ) { bounded, bounding, bounds } adj. ถูกผูกมัด, เหนียวแน่น, แน่นอน, จักต้อง, ตัดสินใจ, เข้าเล่ม, ท้องผูก vi. กระโดด, เด้งกลับ, จดกับ, ประชิดกับ vt. จำกัด, กลายเป็นขอบเขต, พูดถึงขอบเขต -n. การกระโดด, การเด้งกลับ, ขอบเขต, ชายแดน adj. กำลังจะ, ไปทาง, พร้อมที่จะ
n. ผ้าผูกคอชนิดหูกระต่าย, หูกระต่าย
(เบรสท'พิน) n. เข็มเสียบที่หน้าอกหรือผ้าผูกคอส่วนที่ทาบอก
(ไบร'เดิล) n. บังเหียนม้า, สายบังเหียน, สิ่งควบคุม, สิ่งรั้ง, สายรั้ง, สิ่งบังคับการหมุน, เชือกหรือโซ่ผูกเรือ, การเชิดหน้า (เช่นแสดงอาการหยิ่ง) vt. บังเหียน, ควบคุม, เชิดหน้า (เช่น แสดงอาการหยิ่ง)See Also:bridler n.Syn.curb, ch
(เค'เบิล) { cabled, cabling, cables } n. เชือกขนาดใหญ่, สายเคเบิล, สายโซ่สมอเรือ, สายโทรเลขใต้น้ำ, โทรเลข. -v. ส่งโทรเลข, มัดหรือผูกด้วยเชือกขนาดใหญ่
(แคพทิฟ'วิที) n. ภาวะที่เป็นเชลย, ภาวะที่หลงไหล, การคุมขัง, การผูกมัด
(คาร์'เทิล) n. ระบบผูกขาดทางการค้าชนิดหนึ่งSyn.monopoly
(เชน) n. โซ่, ลูกโซ่, โซ่ตรวน, สายสร้อย, อนุกรม, เทือกเขา, ทิว, แนว -vt. ผูกมัดด้วยโซ่, ผูกมัด, จำกัดSyn.series
(คลีท) { cleated, cleating, cleats } n. เสาหลัก, หลักผูกเชือก vt. ใช้หลักยึด, ผูกกับหลัก
(คอล'ละเกท) { colligated, colligating, colligates } vt. ผูกเข้าด้วยกัน, มัดรวมกัน, สรุป.See Also:colligation n. ดูcolligate colligative adj. ดูcolligate
(คันซิล'ลีเอท) { conciliated, conciliating, conciliates } vt. ไกล่เกลี่ย, ทำให้ปรองดองกัน, ผูกไมตรี, ชนะใจ, ประนีประนอม.See Also:conciliation n. ดูconciliateSyn.appease, placate
vt. ทำให้ท้องผูก, ทำให้หดตัว
adj. ท้องผูก
n. อาการท้องผูก
(คันสทรัคทฺ') { constructed, constructing, constructs } vt. สร้าง, ผูกเรื่อง. n. (คอน'สทรัคทฺ) สิ่งปลูกสร้าง, ความนึกคิดที่ก่อขึ้น.See Also:constructor, constructer n. constructible adj.Syn.buildAnt.destroy
(คันสทรัค'เชิน) n. การก่อสร้าง, สิ่งปลูกสร้าง, การผูกประโยคหรือคำ, คำหรือวลีที่ผูกขึ้นSyn.formationAnt.destruciton
(คันสทรู') { construed, construing, construes } v., n. (การ) อธิบาย, ชี้แจง, ตีความอนุมาน, แปล, วิเคราะห์, ผูกประโยค.
adj. ซึ่งเกี่ยวกับสัญญา, ซึ่งผูกพันโดยสัญญา
(คอร์ด) n. เชือก, ด้าย, สายเคเบิล, ริ้วบนผิวหน้าผ้า, หน่วยปริมาตรที่เท่ากับ 128ลูกบาศก์ฟุตหรือขนาดยาว8ฟุต กว้าง4ฟุตและสูง4ฟุต vt. ผูกด้วยเชือก, มัดด้วยเชือกSyn.bind, tie
(คอร์'เนอะ) { cornered, cornering, corners } n. มุม, หัวเลี้ยว, หัวต่อ, หัวโค้ง, หัวถนน, ลูกมุม (ฟุตบอล) vt., vi. ต้อนเข้ามุม, ทำให้จนตรอก, ผูกขาด, กักตุน.Syn.trap
(คอซมะพอล'ลิเทิน) adj. เกี่ยวกับโลกทั้งหมด, เกี่ยวกับสากลนิยม, ซึ่งมีอยู่ทั่วโลกหรือทุกหนทุกแห่ง, ซึ่งประกอบด้วยหลายชาติหลายภาษา, ซึ่งไม่มีชาติหรือภาษาเป็นเครื่องผูกมัด, เกี่ยวกับพลเมืองโลก n. ผู้ที่ไม่มีชาติหรือภาษาเป็นเครื่องผูกมัดSee Also:cosmopo
(คอส'ทิฟว) adj. ท้องผูก, ช้า, พูดช้า
(คัพ'เพิล) { coupled, coupling, couples } n. คู่, สอง, คู่สามีภรรยา vt. ผูกมัด, เชื่อมติด, ติดต่อ, พ่วง, ทำให้เป็นสามีภรรยากัน vi. ร่วมเป็นคู่, ร่วมประเวณีSee Also:couplement n. -Conf. pairSyn.link, join
(คระแวท') n. ผ้าผูกคอ, เน็คไทแบบเก่าชนิดหนึ่ง
(ดริฟท'โบลท) n. แหลอย, สลักผูก,
vt. ผูกมัดด้วยโซ่, จำตรวน, จับไว้, เหนี่ยวรั้งไว้.See Also:enchainment n. ดูenchain
Nontri Dictionary
(vt)ติดต่อ, ผูกพัน, เข้าร่วม, เกี่ยวข้อง
(n)การติดต่อ, การเข้าร่วม, การผูกพัน, การเกี่ยวเนื่อง
(adj)ที่เกี่ยวข้องกัน, ที่เกี่ยวดองกัน, ที่ผูกพันกัน
(n)พันธมิตร, การเกี่ยวดอง, การผูกพัน, การเกี่ยวพัน
(vt)ผูกพัน, เกี่ยวเนื่องกัน, เกี่ยวดอง
(vt)ติด, ผูกติด, เกี่ยวพัน, ผูกพัน
(n)การผูกติด, สิ่งที่แนบมาด้วย, ความรักใคร่, ความผูกพัน
(vt)มัด, ผูก, รัด, รวมกลุ่ม
(vt)โอบ, ล้อมรอบ, ผูก, มัด
(vt)ผูก, มัด
(vt)ผูก, มัด, พัน, ติด, เย็บ, หุ้มปก, เย็บเล่ม
(n)ผู้มัด, เครื่องผูก, ผู้หุ้มปก, แฟ้ม
(adj)ผูกพัน, จำเป็น
(n)การมัด, การผูก, สายมัด, การเข้าปก, การหุ้มปก
(n)เครื่องผูกมัด, ข้อผูกมัด, ข้อตกลง, พันธะ, พันธนาการ, พันธบัตร
(vt)ผูกมัด, ผูกพัน, เชื่อมติด
(n)ความเป็นทาส, การผูกมัด
(adj)ถูกผูกมัด
(adj)ซึ่งเกี่ยวพันกัน, ซึ่งผูกพันกัน, มีพันธะ, พร้อมที่จะ, ไปทาง, กำลังจะ
(vt)งอ, โค้ง, คาด(พุง), ผูก(อาน), ติด(กระดุม), รัด(เข็มขัด)
(vt)ตีตรวน, ล่ามโซ่, ผูกมัด, ผูกพัน
(n)ราวเกาะ, ตอม่อ, เสาหลัก, พุก, หลักผูกเชือก
(adj)ซึ่งประนีประนอมกัน, ซึ่งผูกไมตรี
(n)ท้องผูก
(vt)สร้าง, ตั้ง, ทำ, ก่อ, ก่อสร้าง, ผูกเรื่อง
(vt)ผูกเชือก, มัดด้วยเชือก
(vt)ผูกมัด, เชื่อมติด, ติดต่อ, รวมเป็นคู่, ผูกเข้าคู่กัน, พ่วง
(n)กระดึงผูกคอวัว, โปง
(n)เน็คไท, ผ้าผูกคอ
(vi, vt)ไม่ว่าง, มีธุระ, สัญญา, หมั้น, ผูกมัด, จ้าง, ว่าจ้าง, สู้รบ
(vt)ทำให้เป็นทาส, จับไปเป็นทาส, ผูกมัด, กดขี่
(adj)พิเศษ, เฉพาะตัว, แต่ผู้เดียว, ซึ่งผูกขาด, เว้นไว้แต่
(vt)ผูก, ตรึง, ทำให้แน่น, รัด, มัด, ยึด, กลัด, ให้ความสนใจ
(n)โซ่ตรวน, พันธนาการ, เครื่องผูกมัด, เครื่องจองจำ
(vt)ผูกมัด, ล่ามโซ่, พันธนาการ, จองจำ
(n)สันหนังสือ, ปลาแผ่น, มงคลสวมหัว, ริบบิ้น, โบผูกผม
(n)การให้อภัย, ความไม่อาฆาต, ความไม่ผูกพยาบาท, การยกโทษ
(vt)คาดเข็มขัด, เคียนพุง, ล้อมรอบ, พัน, ถก(เขมร), ผูก, มัด, รัด
(vt)คาดเข็มขัด, ผูก, วัดขนาด, รัด, โอบรอบ
(vt)ดึง, ผูก, ทำให้จุก, ทำให้เจ็บปวด, กดขี่, รบกวน, ยึด, จับ, กุม
(n)เงื่อน, ปม, การผูก, ความขลุกขลัก, ความยาก, การสะดุด, อุปสรรค
(vt)ลาก, ผูก, พ่วง, เทียม, เลื่อน
(vt)ผูก, มัด, ขัดขวาง, เป็นอุปสรรค
(n)การผูกดวงทางโหราศาสตร์
(n)สัญญาจ้าง, ข้อตกลง, ข้อผูกมัด, เอกสารสิทธิ์
(vt)ร้อยต่อกัน, ผูกเข้าด้วยกัน, ประสาน
(vt)ถัก, ปะชุน, สาน, ผูก, ร้อย, ต่อ, ขมวดคิ้ว
(vt)ผูกเงื่อน, ขมวดปม, ผูกโบ, ทำจุก, มวยผม
(n)ลูกไม้ถัก, เชือกผูกรองเท้า, ดิ้นเงินดิ้นทอง, สิ่งทอลายฉลุ
(vt)รั้งไว้, ผูกเชือก, ควบคุม, บังคับ, ขับ
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)กฎหมายการป้องกันการผูกขาดทางการค้า
กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน
ภาระผูกพัน
ใบสั่งที่เป็นข้อผูกพัน
(n)การผูกขาด
(n)(การเงิน) ภาวะที่ประสบความยากลำบาก, หรือไม่สามารถทำตามภาระผูกพันได้ เช่น ไม่สามารถชำระหนี้ที่กู้ไปได้, ความตกต่ำทางการเงิน (จากการมีเงินไม่เพียงพอ), ปัญหาทางการเงิน, ปัญหาที่อาจนำไปสู่การล้มละลาย (กรณีบริษัท) e.g. Member countries face acute financial distress.See Also:bankruptcy, recession, depression
ส่วนของเชือกที่ผูกอยู่บริเวณเสาหัวเรือขนาดใหญ่เพื่อให้ลูกเรือเดินไปกางใบเรือขึ้นและนำใบเรือลง, ส่วนของคร่าวปากอวนล่าง
ผูกคอตาย
ข้อผูกพันเป็นสำคัญ
(n)ความผูกพันต่อองค์กร
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
便秘
[べんぴ, benpi](n)ท้องผูก
法的拘束力
[ほうてきこうそくりょく, houtekikousokuryoku]ข้อผูกมัดทางกฎหมาย
Saikam JP-TH-EN Dictionary
縛る
[しばる, shibaru] TH: ผูก
縛る
[しばる, shibaru] EN: to tie
繋ぐ
[つなぐ, tsunagu] TH: ผูก
繋ぐ
[つなぐ, tsunagu] EN: to tie
結ぶ
[むすぶ, musubu] TH: ผูก
結ぶ
[むすぶ, musubu] EN: to tie
Longdo Approved DE-TH
(adj, adv)แน่น, แข็งแกร่ง เช่น eine feste Beziehung ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้น, ein Knoten fest verbinden ผูกปมให้แน่นหนาSee Also:A. locker
(n)|die, pl. Bindungen| การผูกมัด, พันธะ, ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คน, พันธะเคมี
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ