433 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ตัดสิน*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ตัดสิน, -ตัดสิน-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)judgeSee Also:pass judgement on, render a decision, determine, decideSyn.ลงความเห็น, ชี้ขาด, วินิจฉัยExample:คณะกรรมการตัดสินให้ฝ่ายแดงเป็นฝ่ายชนะอย่างเป็นเอกฉันท์
(n)decisionSee Also:judgement, verdict, rulingSyn.คำวินิจฉัย, คำพิพากษาExample:ศาลฎีกาจึงยืนยันคำตัดสินให้ประหารชีวิตเขา
(v)determineSee Also:resolve, believe on firmly, make up one's mind, have decidedSyn.ตกลงใจExample:เขาตัดสินใจลาออกจากงานเพื่อเรียนต่อระดับปริญญาเอกโดยไม่ฟังคำทัดทานจากคนรอบข้าง
(v)judge a caseExample:ผู้พิพากษาท่านนี้ตัดสินคดีได้อย่างยุติธรรมมากที่สุดThai Definition:ลงความเห็นชี้ขาดเรื่องที่พิพาทหรือกล่าวหากันในทางกฎหมาย
(v)judgeSee Also:decide, sentence, condemn, adjudge, adjudicate, give verdict, doom, written judgment, courSyn.พิพากษา, ตัดสินลงโทษExample:ศาลตัดสินโทษให้ยิงเป้าผู้ต้องหาคดีขายความลับทางราชการแก่ชาวต่างชาติ
(n)decision-makerSee Also:person who decidesSyn.คนตัดสินใจExample:สังคมไทยให้ความสำคัญและคาดหวังเพศชายในฐานะผู้นำ ผู้ตัดสินใจ ผู้สืบทอดเชื้อสายทางครอบครัวUnit:คนThai Definition:ผู้ที่ตัดสินว่าจะเลือกสิ่งใด
(n)judgeSyn.ผู้พิพากษาExample:ภาระใหญ่ของเขาคือตั้งตนเป็นผู้ตัดสินคดีแทนสังคม คอยวินิจฉัยความผิดความถูกUnit:คนThai Definition:ผู้ที่ทำหน้าที่ลงความเห็นชี้ขาดเรื่องที่พิพาทหรือข้อกล่าวหากันในทางกฎหมาย
(n)umpireSee Also:refereeSyn.คณะกรรมการตัดสินExample:เราทุกคนมีสิทธิ์ที่จะเป็นกรรมการตัดสินร่วมกันUnit:คนThai Definition:กรรมการที่ทำหน้าที่ในการตัดสินแพ้ชนะในการแข่งขัน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. ลงความเห็นชี้ขาด.
ก. ตกลงใจ.
ว. ยึกยัก, อาการที่ลังเลไม่กล้าตัดสินใจ.
น. คดีหมายเลขดำ ซึ่งหมายถึง คดีที่ฟ้องร้องต่อศาลและศาลได้ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาล โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เรียงเป็นลำดับไปจนสิ้นปี เมื่อศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราว ศาลจะให้หมายเลขคดีใหม่เรียกว่าคดีหมายเลขแดง ควบคู่ไปกับคดีหมายเลขดำที่ให้ไว้เดิม เช่น คดีหมายเลขดำที่ ๑/๒๕๕๐ คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๕๑ หรือกล่าวโดยสรุป คดีดำ หมายถึง คดีที่ศาลยังมิได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดี ส่วนคดีแดง คือ คดีที่ศาลได้ตัดสินหรือจำหน่ายคดีแล้ว.
น. สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ และกำหนดการกระทำของตนเอง.
ปรึกษาหารือ เช่น เรื่องนี้ขอคุยกันก่อนที่จะตัดสินใจ
ก. จะทำอะไรก็ไม่กล้าตัดสินใจทำลงไป ดีแต่ทำท่าหรือวางท่าว่าจะทำเท่านั้น.
น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม.
น. ราชกิจ ๔ อย่าง คือ ๑. ตัดสินความเมือง ๒. บำรุงราษฎร ๓. บำรุงผลประโยชน์บ้านเมือง ๔. ป้องกันพระนคร, บางทีในบทกลอนใช้ว่า จาตุกรณย์, จาตุรราชการ ก็ว่า.
น. บริเวณที่เครื่องมือสื่อสารรับสัญญาณได้ไม่ชัด, บริเวณหลังลูกตาที่ไม่รับแสง, บริเวณที่ควรจะมองเห็นแต่ไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ทางโค้งนี้มีจุดบอด ทำให้เกิดอุบัติเหตุรถชนกันบ่อย ๆ, จุดของปัญหาที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือแยกแยะได้อย่างชัดเจนอาจจะเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงสภาวะที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้.
ก. คิดให้แน่ก่อนที่จะตัดสินใจ.
พิจารณาตัดสิน เช่น ชำระความ
ก. คำนวณผลได้ผลเสียหรือกำไรขาดทุนอย่างละเอียดแล้วจึงตัดสินใจลงมือกระทำ
ว. ตัดสินใจทำอย่างแน่วแน่ไม่ย่อท้อ.
ก. ตัดสินใจที่จะร่วมมือหรือร่วมชีวิตด้วย.
น. ตราที่ทำด้วยยางสำหรับประทับบนกระดาษเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจแต่ลงนามอนุมัติตามที่มีผู้อื่นเสนอมาโดยไม่ได้ตัดสินใจเอง.
ก. ถูกตัดสินให้ลงโทษในคดีอาญา.
ก. อึดอัดใจ, ตัดสินใจไม่ถูก.
ก. แข่งขันเพื่อเลือกเฟ้นเอาดี โดยมีการตัดสิน เช่น ประกวดนางงาม ประกวดบทความ.
มติของประชาชนที่รัฐให้สิทธิออกเสียงลงคะแนนรับรองร่างกฎหมายสำคัญที่ได้ผ่านสภานิติบัญญัติแล้ว หรือให้ตัดสินในปัญหาสำคัญในการบริหารประเทศ. (อ. referendum)
น. คำใช้แทนบุคคล เช่น นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หรือใช้แทนคำว่า คน เช่น ผู้นั้น ผู้นี้ ทุกผู้ทุกนาม หรือใช้แทนสิ่งที่ถือเสมือนคน เช่น ศาลเป็นผู้ตัดสิน
โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้จะตัดสินใจอย่างไรดี, ไม่กล้าที่จะตัดสินใจเด็ดขาดลงไป, กลืนไม่เข้าคายไม่ออก ก็ว่า.
(พินิด-) ก. ตัดสิน, ชี้ขาด.
ก. ตัดสิน.
ก. ตัดสินคดีโดยศาล, เรียกตุลาการผู้ทำหน้าที่ตัดสินดังกล่าว ว่า ผู้พิพากษา, เรียกคำตัดสินนั้น ว่า คำพิพากษา.
ก. ไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง, เป็นกลาง, คงความเป็นตัวของตัวเอง, ไม่เห็นแก่หน้าใคร, เช่น เขาตัดสินไม่เข้าใครออกใคร ปืนไม่เข้าใครออกใคร.
น. ผู้นำคนตายไปยังบัลลังก์พระยมเพื่อรอคำตัดสิน.
ว. อาการที่ลังเลไม่กล้าตัดสินใจ, กระยึกกระยัก ก็ว่า.
ว. เที่ยงธรรม, ไม่เอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, ชอบด้วยเหตุผล, เช่น ราคายุติธรรม กรรมการตัดสินอย่างยุติธรรม.
ว. มีจิตใจหนักแน่น ไม่ฉุนเฉียวโกรธง่าย เช่น สำคัญที่เป็นคนเยือกเย็น จึงจะตัดสินปัญหาได้อย่างรอบคอบ.
ก. ลังเลใจ, ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะเลือกอย่างไหนดี.
ว. แสดงอาการลังเลใจ, ไม่แน่ใจที่จะทำลงไป, เช่น มัวรี ๆ รอ ๆ อยู่นั่นแหละ เมื่อไรจะตัดสินใจเสียที.
ก. ไม่แน่ใจ, ยังตัดสินใจไม่ได้, เช่น ลังเลใจไม่รู้ว่าจะไปดีหรือไม่ไปดี.
ว. เดือดร้อนเพราะถูกทรมานกายหรือใจ เช่น ตกอยู่ในฐานะลำบาก ตกที่นั่งลำบาก, ยาก เช่น ทำลำบาก ตัดสินใจลำบาก, ไม่สะดวก เช่น ทางลำบาก.
น. คณะผู้พิพากษามีหน้าที่ตัดสินคดี โดยชี้ขาดข้อกฎหมาย หลังจากที่ตระลาการพิจารณาคดีชี้ขาดข้อเท็จจริงแล้ว, บางทีเขียนเป็น ลูกขุน ณ สานหลวง หรือ ลูกขุน ณ สารหลวง ก็มี.
ว. ตามแต่, สุดแต่, สุดแท้แต่, (ใช้ในลักษณะที่ยกอำนาจการตัดสินขั้นสุดท้ายให้แก่ผู้ใดหรือสิ่งใดเป็นต้น) เช่น แล้วแต่บุญกรรม แล้วแต่สถานการณ์ แล้วแต่กรณี แล้วแต่คณะรัฐมนตรีจะพิจารณาอนุมัติหรือไม่.
(วิจาน, วิจาระนะ-, วิจาน) ก. ให้คำตัดสินสิ่งที่เป็นศิลปกรรมหรือวรรณกรรมเป็นต้น โดยผู้มีความรู้ควรเชื่อถือได้ ว่ามีค่าความงามความไพเราะดีอย่างไร หรือมีข้อขาดตกบกพร่องอย่างไรบ้าง เช่น เขาวิจารณ์ว่า หนังสือเล่มนี้แสดงปัญหาสังคมในปัจจุบันได้ดีมากสมควรได้รับรางวัล, ติชม, มักใช้เต็มคำว่า วิพากษ์วิจารณ์ เช่น คนดูหนังวิพากษ์วิจารณ์ว่า หนังเรื่องนี้ดำเนินเรื่องช้าทำให้คนดูเบื่อ.
ก. ตัดสิน, ชี้ขาด, เช่น เรื่องนี้วินิจฉัยได้ ๒ ทาง
ก. พิจารณาตัดสิน.
น. เรียกการที่คนหรือกลุ่มคนที่ไม่มีอำนาจดำเนินคดีตามกฎหมายจับกุมคนมาชำระตัดสินความโดยพลการ ว่า ตั้งศาลเตี้ย.
น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น.
น. ที่พิจารณาตัดสินคดีความของคณะตุลาการตั้งอยู่นอกพระราชวังหลวง, ศาลาลูกขุนนอก ก็เรียก.
น. ที่พิจารณาตัดสินคดีความของคณะตุลาการตั้งอยู่นอกพระราชวังหลวง, ศาลหลวง ก็เรียก.
ว. ลังเล, ตัดสินใจไม่ได้, เช่น จะไปเชียงใหม่ดีหรือไม่ไปดี ยังสองจิตสองใจอยู่.
ว. ประณีต, ลึกซึ้ง, รอบคอบ, ไม่วู่วาม, เช่น เขาจะไม่ด่วนตัดสินใจ ก่อนที่จะพิจารณาอย่างสุขุมทั้งทางได้และทางเสีย เขามีปัญญาสุขุม, บางครั้งใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น สุขุมคัมภีรภาพ สุขุมรอบคอบ สุขุมลึกซึ้ง.
(สะเหฺมอ) ว. เท่ากัน, พอ ๆ กัน, เหมือนกัน, เช่น กรรมการตัดสินให้เสมอกัน ไม่มีใครแพ้ใครชนะ
ก. อาการที่หันเหไปมา เก้ ๆ กัง ๆ ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะทำอย่างใด.
น. ความตัดสินเด็ดขาด, ความเด็ดเดี่ยว
น. บุคคลที่คู่กรณีพร้อมใจกันตั้งขึ้นเพื่อให้ชำระตัดสินในข้อพิพาท.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
คำตัดสิน (ของลูกขุน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คำตัดสินของลูกขุนที่ขัดต่อข้อกฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำสั่งก่อนชี้ขาดตัดสินคดี[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ทนายความที่ศาลตั้ง๒. กรรมการผู้ตัดสิน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. พิพากษา๒. คำพิพากษาลงโทษ, คำตัดสินลงโทษ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อำนาจตัดสินคดีอย่างรวบรัด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตัดสินลงโทษอย่างรวบรัด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ชี้ขาดตัดสิน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การชี้ขาดตัดสิน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตัดสินปล่อยตัวจำเลย (ให้พ้นจากข้อกล่าวหา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. คำตัดสินชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ๒. รางวัลเกียรติคุณ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำสั่งศาลให้ (ชายที่ศาลตัดสินว่าเป็นบิดา) จ่ายค่าเลี้ยงดูบุตร (ป. วิ. แพ่ง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. คำพิพากษา, คำตัดสิน, คำวินิจฉัย๒. พินิศจัย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
พินิศจัย, การตัดสิน[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
พินิศจัย, การตัดสิน[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตัดสินเชิงสุนทรียภาพ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำตัดสินแสดงสิทธิ์[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ทฤษฎีอารมณ์ (ที่เกี่ยวกับภาวะการตัดสินใจและมติมหาชน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คดีที่ตัดสินเสร็จเด็ดขาดแล้ว, ปัญหาที่วินิจฉัยเด็ดขาดแล้ว[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำตัดสินแสดงสิทธิ์[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คำตัดสินแสดงสิทธิ์[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำสั่งตัดสินใจ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
แผนตัดสินใจ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (ดีเอสเอส)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ตารางการตัดสินใจ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
(รูป)ต้นไม้การตัดสินใจ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คำตัดสินของคณะลูกขุน (ก. เก่าอังกฤษ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำตัดสิน (ก. เก่าอังกฤษ) [ ดู doom ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตัดสินใหม่[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำตัดสิน (ก. เก่าอังกฤษ) [ ดู dome ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ดีเอสเอส (ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คำตัดสิน (ของคณะลูกขุน) ว่ามีความผิด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำตัดสินที่ผิด (ของคณะลูกขุน)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำตัดสินถึงที่สุด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การครอบงำผู้ตัดสิน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความไม่อาจตัดสินใจ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
คำตัดสินของคณะลูกขุน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คำตัดสินของคณะลูกขุน (ในข้อเท็จจริง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำตัดสินถึงที่สุด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตัดสินลงโทษผู้กระทำความผิดติดนิสัย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ไม่มีผู้ใดมีอำนาจตัดสินคดีของตนเอง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำตัดสินชี้ขาด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การตัดสินใจไร้โครงสร้าง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ[เทคโนโลยีการศึกษา]
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การตัดสินใจแบบฟัสซี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ต้นไม้ตัดสินใจ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ทฤษฎีการตัดสินใจทางสถิติของเบส์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คำตัดสิน[ศัพท์พระราชพิธี]
พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ, พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม[ปิโตรเลี่ยม]
พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ, พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะ ตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม[ปิโตรเลี่ยม]
การเฝ้าสังเกตตามภารกิจ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อให้ได้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจอย่างเร่งด่วนสำหรับการบริหารจัดการในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ[นิวเคลียร์]
พนักงานผู้ทำการตรวจสอบ ตัดสิน ให้สิทธิคุ้มครองสิทธิบัตรที่ยื่นขอของสำนักงานสิทธิบัตรประเทศหนึ่ง ๆ[ทรัพย์สินทางปัญญา]
ช่วงระยะเวลาที่สำนักงานสิทธิบัตรกำลังพิจารณา ยังไม่ตัดสินว่าจะให้สิทธิหรือปฏิเสธแก่การประดิษฐ์[ทรัพย์สินทางปัญญา]
คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว, คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับExample:ใช้ในบางประเทศ เช่นสหรัฐอเมริกา เป็นการกล่าวถึงว่า คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ[ทรัพย์สินทางปัญญา]
การดำรงชีวิตอิสระ, การดำรงชีวิตอิสระเป็นแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ที่เชื่อว่าคนพิการควรได้รับสิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่นเดียวกับผู้ที่ไม่พิการ นั่นหมายถึงเป็นการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มีความเป็นอิสระมากที่สุด โดยให้คนพิการได้เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน[Assistive Technology]
อนุญาโตตุลาการและการตัดสิน[TU Subject Heading]
อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศและการตัดสิน[TU Subject Heading]
อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998)[TU Subject Heading]
การตัดสินใจ[TU Subject Heading]
การตัดสินใจในเด็ก[TU Subject Heading]
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ[TU Subject Heading]
ต้นไม้ตัดสินใจ[TU Subject Heading]
การตัดสินใจโดยกลุ่ม[TU Subject Heading]
การตัดสิน[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดีใหม่[TU Subject Heading]
การแก้ไขความเสียหายหลังการตัดสิน[TU Subject Heading]
วิธีการก่อนพิจารณาและตัดสินคดี[TU Subject Heading]
การตัดสินกีฬา[TU Subject Heading]
การตัดสินใจทางสถิติ[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (การลอบฆ่า)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อโกง)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (การจับกุมตัวเรียกค่าไถ่)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยลายลักษณ์อักษร)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดทางทหาร)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อราษฎร์บังหลวง)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (ฆาตกรรม)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (การข่มขืน)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยวาจา)[TU Subject Heading]
การพิจารณาและตัดสินคดี, การฟ้องร้อง, ฯลฯ[TU Subject Heading]
คำตัดสินอนุญาโตตุลาการ (ใช้ในแง่การระงับกรณีพิพาท)[การทูต]
ประชาสังคม หมายถึง สังคมที่ประชาชนในระดับต่าง ๆ มีการรวมตัวกันอย่างแข็งแกร่ง เพื่อที่จะเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินทางเลือกสาธารณะ ที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่นและประเทศโดยรวม[การทูต]
การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration)[การทูต]
ฉันทามติ หมายถึง แนวปฏิบัติในการตัดสินใจที่จะมีมติดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยแม้ทุกฝ่ายจะมิได้เห็นพ้องร่วมกัน แต่ก็ไม่มีผู้ใดคัดค้าน[การทูต]
ข้อตัดสินใจ[การทูต]
การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น[การทูต]
หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน?[การทูต]
คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว[การทูต]
การทูตสาธารณะ หมายถึง การดำเนินการทางการทูตแบบหนึ่งเพื่อโน้มน้าวชักจูงให้สาธารณชนและกลุ่มเป้า หมายและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่อการตัดสินใจของรัฐให้มีความชื่นชมและเข้าใจ ถึงแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศใคประเทศหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระดับประชาชนให้มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้น และประสบผลสำเร็จอน่างแนบเนียน โดยจะมี ความแตกต่างจากการดำเนินการทางการทูตแบบดั้งเดิม ที่เน้นการสื่อสารระหว่างรัฐต่อรัฐ(Government to Government)แต่การทูตสาธารณะจะเน้นวิธีการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน( Government to People) ภาคเอกชน ประชาสังคม หรือสื่อมวลชนในต่างประเทศหรือระหว่าประชาชนด้วยกันเอง อนึ่ง การทูตวัฒนธรรม (Cultural Diplomacy) ที่ใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนนั้น ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งของการดำเนินการทางการทูตสู่สาธารณชนนี้[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ตัดสินอะไร ตายAladdin (1992)
เธอจะไม่มีอิสระในการตัดสินใจ บางครั้งเธอจะรู้สึกAladdin (1992)
น่าเศร้า การตัดสินโทษของเด็กนั่นออกมาแล้วAladdin (1992)
จากนี้ไป เจ้าต้อง ตัดสินโทษ นักโทษกับข้า ก่อนที่พวกเขาจะโดนตัดหัวAladdin (1992)
บอกมาซิเจ้าหญิง นานเท่าไหร่แ้ล้วที่ เธอปล่อยให้หัวใจตัดสินใจเองเป็นครั้งสุดท้ายAladdin (1992)
ไม่ เจ้าภูติ ข้าตัดสินใจที่จะใช้พรข้อสุดท้ายAladdin (1992)
ฝ่ายของฉันจะพูดว่าฉันไม่ใช่ และคำตัดสินก็จะพลิกBasic Instinct (1992)
คุณคิดว่าคุณ ตัดสินใจถูกแล้วใช่ไหม?Basic Instinct (1992)
จากสิ่งที่ผมรับรู้ได้ตอนนั้น ผมตัดสินใจถูกแล้วBasic Instinct (1992)
คุณตัดสินใจรึยัง?Basic Instinct (1992)
พวกเขาน่านับถือ ...ตัดสินง่ายBasic Instinct (1992)
คุณตัดสินใจนะ โอเคThe Bodyguard (1992)
สุดท้ายผมเลยตัดสินใจฝังเงินที่เหลือที่นี่Hero (1992)
ยินดีต้อนรับกลับสู่การแข่งขันบ๊อบสเลด วันนี้เป็นวันสุดท้าย วันตัดสินCool Runnings (1993)
- - ฉันตัดสิน!In the Name of the Father (1993)
ฉันตัดสินใจที่จะหันหลังกลับไป ... เพื่อเรียกเขาเซปเป เป็นครั้งแรกในชีวิตของฉันIn the Name of the Father (1993)
คุณถึงคำตัดสิน?In the Name of the Father (1993)
คืนนั้นฉันจะได้พบกับสามีของฉันเป็นครั้งแรก คนที่จะคอยควบคุมชะตาชีวิตของฉัน ผู้จะตัดสินใจว่าฉันจะมีความสุขหรือไม่The Joy Luck Club (1993)
ช่วงเวลานี้จะเป็นตัวตัดสินชีวิตทั้งชีวิตของฉัน... ไม่ว่าความกลัวจะชนะ... หรือฉันจะชนะThe Joy Luck Club (1993)
ฉันก็ตัดสินใจ... ภายในลึกๆฉันก็รู้ว่าฉันเป็นใครThe Joy Luck Club (1993)
ฉันเป็นสามี ฉันจะเป็นคนตัดสินใจทุกอย่างเองThe Joy Luck Club (1993)
ทายสิคะ หนูตัดสินใจจะเล่นหมากรุกอีกครั้งแล้วThe Joy Luck Club (1993)
แล้วเมื่อปีที่แล้ว ตอนที่เราตัดสินใจแต่งงานกัน เราตกลงกัน ความรัก... ใช่ การพึ่งพาที่ผิด...The Joy Luck Club (1993)
เขาจะต้องถูกตัดสินจาก ผู้คนที่มีหลากหลายมาตราฐานThe Joy Luck Club (1993)
คุณตัดสินใจก็แล้วกันThe Joy Luck Club (1993)
ทางบริษัทตัดสินใจว่ามันเป็นเรื่องที่ยอมรับไม่ได้The Joy Luck Club (1993)
ผมตัดสินใจเองไม่ได้The Nightmare Before Christmas (1993)
นายตัดสินใจได้ถูกต้องแล้ว ตรงนั้น คนทรยศThe Nightmare Before Christmas (1993)
- เราเลยตัดสินใจJunior (1994)
- ตัดสินใจJunior (1994)
แล้วพวกเขาก็แสดงให้เห็นว่าหนึ่งในการแสดงให้กับประชาชนที่ได้รับแสดงให้เห็นว่า ... และกับความแรงของว่าหนึ่งในการแสดงที่พวกเขาตัดสินใจว่าพวกเขาต้องการให้การแสดงมากขึ้นPulp Fiction (1994)
ดูอึที่ไม่ได้เรื่อง คุณกำลังตัดสินอึนี้เป็นวิธีที่ผิดPulp Fiction (1994)
คุณไม่ได้ตัดสินอึเช่นนี้ขึ้นอยู่กับบุญPulp Fiction (1994)
- ดังนั้นคุณจึงตัดสินใจที่จะเป็นก้นPulp Fiction (1994)
ไม่มีจูลส์คุณตัดสินใจที่จะเป็นก้น, เช่นเดียวกับชิ้นส่วนเหล่านั้นทั้งหมดของอึออกมีที่ขอเปลี่ยนแปลง ที่หลับอยู่ในถังขยะกินสิ่งที่ฉันทิ้งPulp Fiction (1994)
เมื่อไหร่ที่คุณตัดสินใจนี้ เมื่อคุณได้นั่งมี eatin 'มัฟฟินที่?Pulp Fiction (1994)
ขึ้นอยู่กับคนที่ตัดสินมันWild Reeds (1994)
กล้าดียังไงมาตัดสินผม?Wild Reeds (1994)
ฉันตัดสินใจออกจาก โรงเรียนประจำWild Reeds (1994)
คุณจะตัดสินอาชญากรThe Shawshank Redemption (1994)
แต่แล้วในฤดูใบไม้ผลิของปี 1949, อำนาจที่จะตัดสินใจว่า ...The Shawshank Redemption (1994)
ฉันฆาตกรตัดสินที่ให้การวางแผนทางการเงินเสียงThe Shawshank Redemption (1994)
ฉันได้ตัดสินใจที่ ... จะไม่อยู่The Shawshank Redemption (1994)
แอนดี้ตัดสินใจว่าเขาต้องการอยู่ที่นี่เพียงเกี่ยวกับนานพอThe Shawshank Redemption (1994)
นี่เป็นการประชุมตัดสินDon Juan DeMarco (1994)
การตัดสินใจของแม่เหลือไว้แต่ความปรารถนาDon Juan DeMarco (1994)
แม่ตัดสินใจว่าทางที่ดีที่สุดคือส่งผมไปคาดิซ หลังจากพ่อตายได้ไม่นาน ราวกับจะให้ทะเลทำให้ผมบริสุทธิ์Don Juan DeMarco (1994)
คุณจะได้ตัดสินว่าจะปล่อยผมได้หรือยังDon Juan DeMarco (1994)
ถึงอย่างนั้น เธอก็รู้สึกผิด เธอตัดสินใจบวชเป็นชีDon Juan DeMarco (1994)
ผมตัดสินใจเป็น ดอนฮวนDon Juan DeMarco (1994)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[amnāt nai kān tatsinjai] (n, exp) EN: decision-making power ; power to take decisions  FR: décisionnaire [ m ]
[chalø kān tatsinjai] EN: delay decisions
[kammakān tatsin] (n, exp) EN: umpire ; referee ; judge  FR: juge [ m ]
[kān tatsin] (n) EN: decision ; judging   FR: décision [ f ]
[kān tatsinjai] (n) EN: decision ; decision-making ; decision making ; making a decision  FR: décision [ f ]
[kān tatsinjai choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic decision
[kān tatsinjai dōi sīeng khāngmāk] (n, exp) EN: majority decision
[kān tatsinjai rāiwan] (n, exp) EN: day-to-day decisions
[kān tatsinjai seū] (n, exp) EN: purchase decision
[kān tatsinjai thāng kānngoen] (n, exp) EN: financing decision ; financial decision
[kān tatsin plǿi tūa jamloēi] (n, exp) EN: acquittal
[kēn kān tatsinjai] (n, exp) EN: decision criteria  FR: critère de décision [ m ]
[khamsang køn chīkhāt tatsin khadī] (n, exp) EN: temporary injunction
[kham tatsin] (n, exp) EN: decision ; judgement ; judgment (Am.) ; verdict ; fiat
[kham tatsinjai] (n, exp) EN: decision ; written decision by a court ; legal determination
[kham tatsin longthōt] (n, exp) EN: sentence
[kham tatsin sadaēng sit] (n, exp) EN: declaratory judgment
[khana phūtatsin] (n, exp) EN: judge commission
[khon tatsinjai] (n, exp) EN: decision-maker  FR: décisionnaire [ m ]
[klāo kham tatsin] (v, exp) EN: pronounce a judgement
[phūchūay phūtatsin] (n, exp) EN: assistant referee  FR: arbitre assistant [ m ]
[phūtatsin] (n) EN: referee ; judge ; umpire  FR: arbitre [ m ] ; juge [ m ]
[phūtatsinjai] (n) EN: decision-maker ; person who decides ; decider (Am.)  FR: décideur [ m ]
[phūtatsin khadī] (n, exp) EN: judge  FR: juge [ m ]
[phūtatsin nānāchāt] (n, exp) EN: international referee ; international juru  FR: arbitre international [ m ]
[tatsin] (v) EN: decide ; render a decision  FR: décider ; statuer ; juger ; porter un jugement ; trancher
[tatsin] (v) EN: judge ; pass judgment ; give a verdict  FR: juger ; rendre un verdict
[tatsinchīkhāt] (v) FR: trancher
[tatsinjai] (v) EN: decide ; make up one's mind ; determine ; resolve ; believe on firmly ; have decided  FR: décider de ; se décider à ; se résoudre à ; se déterminer à ; prendre une décision
[tatsin jamkhuk taløt chīwit] (v, exp) EN: sentence to life imprisonment
[tatsin khadī] (v, exp) EN: judge a case ; return a verdict
[tatsin longthōt] (v, exp) EN: judge
[tatsin prahānchīwit] (v, exp) EN: sentence to death
[tatsin thōt] (v, exp) EN: judge
[tatsin yokføng] (v, exp) EN: dismiss an action
[thūk tatsin prahānchīwit] (v, exp) EN: be sentenced to death  FR: être condamné à la peine de mort
[wēlā tatsin] (n, exp) FR: heure du verdict [ f ]
[yang mai tatsinjai] (adj) EN: undecided
Longdo Approved EN-TH
(n)ห้องหรือตู้ในร้านขายเสื้อผ้า สำหรับให้ผู้ซื้อเสื้อผ้าเปลี่ยนจากเสื้อผ้าที่ตนสวมใส่ มาลองสวมใส่เสื้อผ้าที่จะซื้อเพื่อการตัดสินใจว่าพอเหมาะหรือเป็นไปตามที่ตนต้องการหรือไม่See Also:locker room AmericanSyn.changing room
(n)คำพิพากษาในคดีก่อน ซึ่งนำมาเป็นมาตรฐานในการตัดสินคดีต่อๆไป
(vt)ตัดสินใจ เช่น Make up your mind before it's too late. คุณรีบตัดสินเสียก่อนที่มันจะสายเกินไป.
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(vt)ตัดสินSee Also:ตัดสินโทษSyn.judge, adjudicate
(vt)วินิจฉัยSee Also:พิจารณา, ตัดสิน
(vi)วินิจฉัยSee Also:พิจารณา, ตัดสินSyn.judge, adjudge
(vt)ตัดสิน
(vi)ตัดสิน
(n)ผู้ตัดสินSee Also:ผู้ชี้ขาดSyn.umpire, arbitretor, judge
(vt)ขอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาดSee Also:เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด
(vi)เป็นผู้ตัดสินSee Also:ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้งSyn.settle peacefully, smooth out
(phrv)ตัดสินSee Also:พิพากษาSyn.arbitrate in
(phrv)ตัดสินSee Also:พิพากษาSyn.arbitrate on
(phrv)ตัดสินว่าเป็นSee Also:เลือกให้เป็นSyn.decide on
(phrv)ตัดสินว่าเป็นSee Also:เลือกให้เป็นSyn.decide on
(phrv)ตัดสินชี้ขาดระหว่าง (ทางกฎหมาย)See Also:ตัดสิน, เป็นผู้ตัดสินระหว่าง
(phrv)ตัดสินชี้ขาดเรื่อง (ทางกฎหมาย)See Also:ตัดสิน, เป็นผู้ตัดสินเรื่องSyn.sue for
(phrv)ตัดสินชี้ขาดเรื่อง (ทางกฎหมาย)See Also:ตัดสิน, เป็นผู้ตัดสินเรื่องSyn.adjudicate in
(phrv)ตัดสินชี้ขาดเรื่อง (ทางกฎหมาย)See Also:ตัดสิน, เป็นผู้ตัดสินเรื่องSyn.adjudicate on
(idm)สามารถใช้เหตุผลตัดสินได้See Also:มีสติรู้รับผิดชอบชั่วดีSyn.be out of, go out of
(idm)ตัดสินถูกต้อง
(idm)ตัดสินไม่ถูกต้อง
(idm)สามารถตัดสินได้ (ทางกฎหมาย)See Also:มีความสมบูรณ์, มีสติสัมปชัญญะ
(idm)ไม่สามารถตัดสินได้ (ทางกฎหมาย)See Also:ไม่มีสามารถควบคุมตนเองได้
(idm)ไม่มีหน้าที่ในการตัดสินใจ (คำไม่เป็นทางการ)Syn.be on
(idm)ถูกบังคับให้ตัดสินใจ (คำไม่เป็นทางการ)Syn.be off, get off
(idm)ตัดสินSee Also:พิพากษา
(idm)ทำให้ต้องตัดสินใจเข้าสู่ (บางอย่าง)Syn.come to
(n)การลงคะแนนตัดสินโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการประชุมเนื่องจากแต่ละฝ่ายมีคะแนนเท่ากัน
(vt)ตัดสินใจ (หลังจากที่พิจารณาอย่างมาก)
(n)การตัดสินแบบพื้นๆSee Also:การใช้ความคิดตัดสินเบื้องต้น
(vt)ตัดสินใจSyn.determine, decide
(idm)ตัดสินใจเลิกบางสิ่ง
(idm)ตัดสินใจSee Also:เป็นผู้ตัดสิน
(idm)ตัดสินใจ
(phrv)ตัดสินใจเข้าร่วมSee Also:ร่วมชะตากรรมSyn.fling in with, throw in with
(idm)มีสิ่งต่างๆมากมายที่ต้อง (ทำ, ตัดสินใจ, สนทนา)
(phrv)ตัดสินใจไม่ยอมรับSyn.decide on
(phrv)เลือกระหว่างSee Also:ตัดสินใจระหว่าง
(phrv)ตัดสินสนับสนุน (ทางกฎหมาย)See Also:สนับสนุนSyn.find forAnt.decide against, find against
(phrv)ตัดสินให้See Also:ยินยอมให้Syn.agree on, decide against, determine on, settle on
(phrv)ตัดสินให้See Also:ยินยอมให้Syn.agree on, decide against, determine on, settle on
(phrv)ตัดสินให้ได้รับSyn.dicide on
(phrv)ตัดสินให้ได้รับSyn.dicide on
(phrv)(ชะตา) กำหนดให้See Also:ตัดสินให้, พิพากษาให้Syn.foredoom to, sentence to
(phrv)ตัดสินให้ (โดยการสุ่มหรือจับฉลาก)
(idm)การตัดสินใจในนาทีสุดท้าย
Hope Dictionary
(อะควิท') vt. ทำให้พ้นไป, ชำระ, ตัดสินให้พ้นโทษ, ปฏิบัติ, ดำเนินการได้ผล. -acquiter n.Syn.forgive, pardon, clear, free
(อะควิท' เทิล) n. การตัดสินให้พ้นโทษ, การปฏิบัติ, การชำระหนี้Syn.discharge
(อะจัดจฺ') vt. (ศาล) สั่ง, ตัดสินใจ, ชี้ขาด, ตัดสินใจSyn.decide, assign, decree
(อะจู' ดิเคท) vt., vi. (ศาล) สั่งตัดสินใจให้, พิจารณาลงโทษ, ชี้ขาดSyn.adjudge
(แอปเปิลทู) เป็นชื่อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกที่บริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาด คอมพิวเตอร์ชุดนี้ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพิวเตอร์ หลังจากที่แอปเปิล ทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และ แอปเปิล ทรี (Apple III) ตามกันออกมาอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรี หันมาผลิตชุดแมคอินทอช ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดสูงมากในปัจจุบัน
(อาร์'บิเทอะ) n. ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, คนชี้ขาด, ผู้กำชะตาชีวิต, อนุญาโตตุลาการ (judge)
(อาร์'บิทราซฺ) n. การค้ากำไร, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ
(อาร์'บิเทริล) adj. เกี่ยวกับผู้ตัดสินหรือการตัดสิน (relating to an arbiter)
(อาร์บิท'ระเมินทฺ) n. การตัดสิน, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ
(อาร์'บิทระรี) adj. ตามอำเภอใจ, ไร้เหตุผล, เอาแต่อารมณ์, โดยพลการ, ตัดสินโดยผู้ตัดสิน (แทนที่จะโดยกฎหมายของรัฐ) . -arbitrariness n.Syn.capricious, frivolous
(อาร์'บิเทรท) vt., vi. ตัดสิน (โดยอนุญาโตตุลาการ) , เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด (อนุญาโตตุลาการ) . -arbitrable adj., -arbitrator n. (judge, mediate, intercede)
(อาร์บิเทร'เชิน) n. การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ, การชี้ขาด, การตัดสิน.
(ออโทคะเฟ') n. การตัดสินคดีของศาสนาโรมันคาธอลิคในยุคกลางที่เผด็จการ มีการลงโทษใช้ไฟเผาพวกต่างศาสนา
(อะวอร์ด') vt. ให้รางวัล, มอบให้, ตัดสิน
(เบาดฺ) { bounded, bounding, bounds } adj. ถูกผูกมัด, เหนียวแน่น, แน่นอน, จักต้อง, ตัดสินใจ, เข้าเล่ม, ท้องผูก vi. กระโดด, เด้งกลับ, จดกับ, ประชิดกับ vt. จำกัด, กลายเป็นขอบเขต, พูดถึงขอบเขต -n. การกระโดด, การเด้งกลับ, ขอบเขต, ชายแดน adj. กำลังจะ, ไปทาง, พร้อมที่จะ
(เบรส) n. เสาค้ำ, เครื่องค้ำจุน, เครื่องเหนี่ยวรั้ง, เชือกโยงเสา, เฝือก, ที่รั้ง, ที่พาด, สายหนึ่ง, วงเล็บปีกกา vt. หนุนไว้, ค้ำไว้, รั้งไว้, มัดแน่น, กระตุ้น, หนุน, ตัดสินใจแน่วแน่Syn.fortify
n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน
n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน
n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน
n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน
n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน
n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน
n. ทางอ้อม, ทางแยกวน, ท่อรอง vt. อ้อม, ไปทางอ้อม, ไม่สนใจข้อคิดเห็นหรือคำตัดสิน
(แคซ'ซูอิสทฺ) n. เจ้าคารม, เจ้าโวหาร, ผู้ศึกษาและถือหลักธรรมจริยา, ผู้ตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะอย่าง
(แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ
(แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ
(แคซ'ซูอิสทรี) n. การใช้หลักศีลธรรมจรรยาในการตัดสินปัญหา, การใช้หลักศีลธรรมจรรยาที่ผิด, การเล่นสำนวนโวหาร, การเล่นลิ้น
ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
(ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
(คันคลูด') { concluded, concluding, concludes } vt. ลงเอย, สิ้นสุดลง, สรุป, ลงมติ, ตัดสินใจ. vi. สิ้นสุดลง, ลงเอย, ลงความเห็น, ตัดสินใจSyn.finish, infer, deduce
(คันคลู'เชิน) n. การลงเอย, การสิ้นสุดลง, การสรุป, บทสรุป, ผล, การตกลงขั้นสุดท้าย, การตัดสินใจครั้งสุดท้ายSyn.inference
(คันเดมน์') { condemned, condemning, condemns } vt. ประณาม, ตำหนิ, ตัดสินว่ามีความผิดSee Also:condemnable adj. ดูcondemn condemningly adv. ดูcondemnSyn.blame, censureAnt.praise, approve
(คอน'วิคทฺ) { convicted, convicting, convicts } n. ผู้ที่ถูกตัดสินว่ากระทำผิด, นักโทษ vt. (คัน วิคทฺ') พิสูจน์แล้วว่ากระทำผิด, ตัดสินว่าได้กระทำผิด, ทำให้รู้ว่ามีความผิดหรือมีโทษSee Also:convictable adj. ดู convictible adj. convictive adj. ดูconv
(คันวิค'เชิน) n. การลงโทษ, การตัดสินว่ากระทำผิด, ภาวะที่ถูกตัดสินว่ากระทำผิด, ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่นใจSyn.faithAnt.unbelief
(ดิไซดฺ') vt. ตกลงใจ, ตัดสินใจ, ตัดสิน, ชี้ขาด vi. ตัดสิน, ชี้ขาดSyn.determineAnt.waver
(ดิไซ'ดิด) adj. เด็ดขาด, แน่นอน, ตัดสินใจแล้วSee Also:ness n.
(ดิซิส'เชิน) n. การตัดสินใจ, สิ่งที่ได้ตัดสินใจ, ข้อตกลงใจ, ญัตติ, ความแน่วแน่Syn.resolve
(ดิไซ'ซิฟว) adj. ซึ่งมีลักษณะชี้ขาด, แน่วแน่, ซึ่งตัดสินใจแล้ว.See Also:decisiveness n.
(ดิเทอร์'มิเนท) adj. แน่นอน, ซึ่งได้กำหนดไว้, เด็ดขาด, ซึ่งได้ตัดสินใจแล้ว, ซึ่งมีค่าหรือจำนวนที่แน่นอนSyn.specific
(ดิเทอร์'มิเนทิฟว) adj. ซึ่งเป็นการกำหนด, เป็นการชี้ขาด, เป็นเครื่องตัดสิน n. ตัวชี้ขาด, ตัวกำหนด, ศัพท์ที่กำหนดไว้
(ดิเทอร์'มิน) vt. กำหนด, ตัดสินใจ, ตกลงใจ, ตั้งใจ, ยุติ, ทำให้สิ้นสุด vi. ตกลงใจ.See Also:determinable adj. determinability n.Syn.decide
(ดิเทอร์'มินดฺ) adj. แน่นอน, ซึ่งตัดสินใจแล้ว, ซึ่งตัดสินแล้วSee Also:determinedness n.Syn.resolved, fixed
n. การตัดสินอย่างยุติธรรม, การเล่นอย่างยุติธรรม, พฤติกรรมที่เที่ยงธรรม
(ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น.See Also:find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search
n. ความผิดพลาดในการตัดสินใจ
วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense
(อินดีซิส' เชิน) n. การไม่สามารถตัดสินใจ
(อินดีไซ' ซิฟว) adj. ไม่เด็ดขาด, ซึ่งตัดสินใจอย่างไม่เด็ดขาด, ลังเล, ไม่ชัดเจน
(อินดีเทอ' มิเนท) adj. ไม่แน่นอน, ไม่จำกัด, ไม่แน่ชัด, คลุมเครือ, ยังไม่ตกลงใจ, ยังไม่ตัดสิน, ซึ่งไม่สามารถวิเคราะห์ได้สมบูรณ์โดยหลักของวิชาสถิติศาสตร์ (statics) .See Also:indeterminateness n.Syn.unfixed, indefinite
(อินดีเทอมิเน' เชิน) n. ภาวะที่ไม่แน่นอน, ภาวะที่ยังไม่ตกลงใจหรือตัดสินใจ
Nontri Dictionary
(vt)ปล่อยตัว, ตัดสินให้พ้นโทษ, ปฏิบัติ, ชำระหนี้
(vt)พิพากษา, ตัดสิน, ชี้ขาด
(n)ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, ผู้ชี้ขาด
(n)อำนาจชี้ขาด, การตัดสิน, คำตัดสิน
(vt)ตัดสิน, ชี้ขาด
(n)การชี้ขาด, การตัดสิน, อำนาจชี้ขาด
(n)ผู้ชี้ขาด, ผู้ตัดสิน
(vt)ให้รางวัล, ตัดสิน, มอบรางวัล
(n)การตัดสินประหารชีวิต
(vi, vt)เลือก, คัดเลือก, เลือกสรร, สมัครใจ, ตัดสิน, ตกลงใจ
(vi, vt)จบ, ลงมติ, ตัดสินใจ, ลงเอย, สิ้นสุด, ปลงใจ, ทำเสร็จ
(n)การจบ, การตัดสินใจ, ข้อยุติ
(vt)กล่าวโทษ, ประณาม, ตำหนิ, ตราหน้า, ด่าว่า, ลงโทษ, ตัดสินความ
(n)การกล่าวโทษ, การประณาม, การตำหนิ, การลงโทษ, การตัดสินความ
(vt)ลงโทษ, ตัดสินว่าผิด
(n)ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่น, ความแน่ใจ, การลงโทษ, การตัดสินว่าผิด
(vi, vt)ตัดสินใจ, ชี้ขาด, ตกลงใจ
(n)การตกลงใจ, การตัดสินใจ, การปลงใจ, คำตัดสิน
(adj)ซึ่งตัดสินใจแล้ว, แน่นอน, เด็ดขาด, ตามที่กำหนดไว้
(vi, vt)ตกลงใจ, ตัดสินใจ, ตั้งใจ, กำหนด, แสดงผล
(adj)มั่นคง, แน่นอน, ซึ่งตัดสินใจแล้ว, ซึ่งตกลงแล้ว
(n)ความสุขุม, ความรอบคอบ, การตัดสินใจ, ดุลพินิจ, การไตร่ตรอง
(adj)ด้วยความสุขุม, ด้วยความรอบคอบ, เกี่ยวกับการตัดสินใจ
(n)คำพิพากษา, คำตัดสิน, เคราะห์กรรม, ความหายนะ, ความตาย, ชะตาขาด
(vt)พิพากษา, ตัดสิน, ลงโทษ, ชี้ชะตา
(n)คำสั่ง, คำพิพากษา, คำตัดสิน, พระบรมราชโองการ
(vi, vt)พบ, หา, ค้น, สืบหา, ประสบ, สืบสวน, ตัดสิน, ชี้ขาด, รู้, ทราบ, สำนึก
(adj)ไม่แน่นอน, ไม่ได้กำหนด, ไม่จำกัด, คลุมเครือ, ยังไม่ตัดสิน
(n)ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ
(vt)พิพากษา, ตัดสิน, พิจารณา, วิจารณ์, ลงความเห็น
(n)การตัดสิน, การพิจารณา, คำตัดสิน, คำพิพากษา
(vt)พิจารณาผิด, ตัดสินใจผิด, วินิจฉัยผิด
(vt)ตัดสินใจล่วงหน้า, กำหนดล่วงหน้า
(vt)ตัดสินใจล่วงหน้า, วินิจฉัยล่วงหน้า
(vt)ประกาศ, แถลง, อ่าน, กล่าว, วินิจฉัย, ตัดสินคดี
(n)ผู้ชี้ขาด, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน
(n)การลงมติ, การตกลงใจ, การตัดสินใจ, ความแน่วแน่
(vi, vt)แก้ปัญหา, ตกลงกัน, ตัดสินใจ, ลงมติ, กระจาย
(vt)ควบคุม, ชี้ขาด, ตัดสินใจ, ปกครอง, ขีดเส้น
(n)การตัดสินใจเอง
(n)คำตัดสิน, ประโยค, การพิพากษา, การลงโทษ, คติพจน์
(vt)พิพากษา, ตัดสิน, ลงโทษ
(n)ผู้ชี้ขาด, ผู้ตัดสิน, คนกลาง, กรรมการ
(vi, vt)ชี้ขาด, ตัดสิน
(n)คำตัดสิน, คำชี้ขาด, คำพิพากษา
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(ใช้เมื่อต้องสูญเสียเงินเป็นจำนวนมากเนื่องมาจากการตัดสินที่ไม่ดี) ให้คนโง่ใช้เงินอีกไม่นานเงินก็หมด
(n)คำตัดสิน (จะใช้ในกรณีการตัดสินคดีล้มละลาย)
(adj)ลังเล ตัดสินใจไม่ได้ รู้สึกครึ่งๆกลางๆ
(n)คำตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (ศัพท์กฎหมาย)
ตัดสินชี้ขาด
ค่าตัดสิน
(n)การตัดสินใจ
(n, vi)การตัดสินใจ, คำพิพากษา, การตัดสินใจ, สิ่งที่ได้ตัดสินใจ, ข้อตกลงใจ, ญัตติ, ความแน่วแน่ VT. ตัดสินใจ
ตัดสิน เช่น the court handed down the two-year sentence.
มีอำนาจตัดสินใจ (ในการทำบางสิ่ง)
(n)ศาลที่่มีขอบเขตในการตัดสินคดีทั่่วไป
(phrase, slang)การตัดสินใจผิด
[รีชิง อะ ดีซิชั่น](n)ถึงการตัดสินใจ
[รีชิง อะ ดีซิชั่น](n)ถึงการตัดสินใจ
(n)เป็นภาษาการตลาด หมายถึง การแนะนำเพื่อขายสินค้า หรือ บริการ ที่มีราคาสูงกว่าให้แก่ลูกค้าที่กำลังตัดสินใจซื้อสินค้า (หรือ บริการ) ส่วนมากจะเป็นสินค้า (หรือ บริการ) ที่มีคุณสมบัติเหนือกว่า หรือ ดีกว่า สินค้า (หรือ บริการ) ที่ลูกค้ากำลังตัดสินใจเลือกSee Also:up-sales
(n)เกรียน ในสมัยก่อนหมายถึงเด็กนักเรียนที่เรียนอยู่ในชั้น ประถม ถึง มัธยม แต่ในปัจจุบัน การกล่าวคำว่าเกรียนหมายถึง ผู้ใช้ อารมณ์ในการตัดสินปัญหา มากกว่าที่จะใช้ เหตุและผล ขาดความยั้งคิด และทำตัวเดือดร้อนให้แก่คนรอบข้าง มักพบได้ใน เด็ก ประถม ขึ้นไป
Longdo Approved JP-TH
[くふう, kufuu]การตรึกตรอง การไตร่ตรองในหลายๆด้านก่อนตัดสินใจ
[けってい, kettei](n)ตกลงใจ, ตัดสินใจ
[けつい, ketsui](n)การตัดสินใจ
[けつろん, ketsuron](n)การจบ, การตัดสินใจ, ข้อยุติ
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
判断
[はんだん, handan](n, vi, vt)การตัดสินใจ, ตัดสินใจ
所管
[しょかん, shokan](n, adj)อำนาจในการตัดสิน
審査
[しんさ, shinsa](vi)การพิจารณาตัดสิน หรือการพิจารณาคัดเลือก
引き合い
[ひきあい, hikiai](n)การพิจารณาก่อนการตัดสินใจ
即断
[そくだん, sokudan](n)การด่วนตัดสินใจ
Saikam JP-TH-EN Dictionary
下す
[くだす, kudasu] TH: ตัดสิน
下す
[くだす, kudasu] EN: to deliver
決意
[けつい, ketsui] TH: การตัดสินใจแน่วแน่
Longdo Approved DE-TH
(n)|die, pl. Entscheidungen| การตัดสินใจ
(n)|das, pl. Urteile| การพิพากษา, การตัดสิน
(n)|das, pl. Urteile| การตัดสินใจ
(n)|die| การตัดสิน
(phrase)ตัดสินใจ (เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง)See Also:entscheiden
(vi)|entschied, hat entschieden| ตัดสินใจ
(vi)|sich entschied, hat sich entschieden| ตัดสินใจเลือกสิ่งหรือคนใดคนหนึ่ง
(adj)เป็นตัวตัดสิน เช่น Das Tor ist entscheidend. การยิงฟุตบอลประตูนี้เป็นตัวตัดสินเกมส์นี้
(vt)|stimmte, hat gestimmt| ตัดสินใจในการออกเสียงหรือเลือกตั้งเพื่อหรือต่อต้านใครหรือสิ่งใด
(adv)เป็นที่เห็นได้ชัด (ตัดสินหรือคาดการณ์จากสิ่งที่เห็นหรือสังเกตได้) เช่น Sein Koffer ist nicht mehr da. Anscheinend ist er schon weggefahren. กระเป๋าเดินทางของเขาไม่อยู่แล้ว เขาคงจะออกเดินทางไปแล้วSee Also:scheinbarSyn.vermutlich
(n)|der, pl. Gutachter| ผู้ประเมิน, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน (ไม่ใช่ด้านกีฬา แต่เกี่ยวกับงานด้านวิชาการ เช่น กรรมการผู้ตัดสินงานเรียงความ ฯลฯ), ผู้เชี่ยวชาญ
(adj)มีความผิด, เป็นคนผิด เช่น Man hat den Mann verurteilt, dass er schuldig war. ผู้คนตัดสินว่าผู้ชายคนนี้มีความผิดSee Also:A. unschuldig
(adj)|zweifelhafter, zweifelhaftest-| ที่ยังไม่แน่นอน, ที่ยังไม่ได้ถูกตัดสินใจ เช่น Die Ergebnisse sind noch zweifelhaft. ผลลัพธ์นี้ยังเป็นที่ไม่แน่นอน
(vt)|bewertete, hat bewertet| ตัดสินระดับคุณภาพ, ประเมินค่า
(n)|die, pl. Bewertungen| การตัดสินระดับคุณภาพ, การประเมินค่า
(n)|der, pl. Schiedsrichter| กรรมการตัดสิน(กีฬา), กรรมการSyn.Ringrichter
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(vi, vt)| entscheidest mit, entschied mit, hat mitentschieden | (mit OBJ/ohne OBJ) <jmd. entscheidet mit> มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
(ซัสเพนซฺ') n. ภาวะจิตที่ไม่แน่นอน, ความใจจดใจจ่อ, ความไม่แน่นอนใจ, การไม่กล้าตัดสินใจ, ภาวะที่คาราคาซังอยู่., S. . suspenseful adj., S. anticipation, stressSee Also:stressSyn.S. . suspenseful adj., anticipation
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ