วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...)[เทคโนโลยีการศึกษา]
วีดิทัศน์, <br />วีดิทัศน์<br />มาจากคำว่า <br /><ul><li>วีติ หมายถึง รื่นเริง, ยินดี</li><li>ทัศน์ หมายถึง ความเห็น, การเห็น, การแสดง<br /></li></ul><br />[เทคโนโลยีการศึกษา]
การแสดงหนังสือ, นิทรรศการหนังสือ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การแสดงหนังสือ, นิทรรศการหนังสือ, Example:<p>ตัวอย่างการจัดนิทรรศการอ่านงานเขียนเรื่องสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ : <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/20091003-lib-exhibition-01.jpg" alt="Book exhibition"> <img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/20091003-lib-exhibition-02_0.jpg" alt="Book exhibition">[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
งานแสดงหนังสือ, งานนิทรรศการหนังสือ, Example:Book fair หมายถึง งานแสดงหนังสือ หรือ งานนิทรรศการหนังสือที่จัดขึ้นในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง หรือในสถานที่ที่ทีประชาชนสามารถไปร่วมงานได้โดยสะดวก <p> ความมุ่งหมายของงานนิทรรศการหนังสือเพื่อแสดงหนังสือใหม่ เพื่อเร้าใจให้ผู้ชมเกิดความสนใจในหนังสือได้รู้จักหนังสือใหม่ และอยากอ่านหนังสือต่างๆ มากยิ่งขึ้น อันจะเป็นการสร้างนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ต่อเนื่องให้เกิดกับผู้ชมต่อไป นอกจากนั้นในงานอาจมีการจำหน่ายหนังสือใหม่ และมีกิจกรรมอื่น ๆ ประกอบ เช่น การสนทนา การอภิปราย การโต้วาที การสาธิต การแสดงละคร การเล่าเรื่องหนังสือ เกมและการแข่งขันต่าง ๆ การทายปัญหา ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีงานนิทรรศการหนังสือที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีโดยสำนักพิมพ์ ผู้ผลิตหนังสือ และร้านหนังสือร่วมออกร้านเป็นจำนวนมาก เช่น งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ งานนิทรรศการหนังสือแฟรงค์เฟิร์ต ที่เป็นแหล่งตลาดสำคัญสำหรับสำนักพิมพ์ที่ต้องการซื้อและขายลิขสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิในการแปลและเอกสิทธิ์อื่น ๆ ให้กับต่างประเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
พระเสลี่ยงกลีบบัว ทำด้วยไม้ปิดทองประดับกระจกทั้งองค์ มีคานหาม ๒ คาน ขนาดกว้าง ๐.๘๒ เมตร ยาวรวมคาน ๔.๒๐ เมตร สูง ๑.๑๐ เมตร ลำคานเป็นไม้กลมกลึงทาสีแดง ปลายกลึงเป็นหัวเม็ดทรงมัณฑ์ปิดทองประดับกระจก ใช้สำหรับพระสงฆ์พระราชคณะสงฆ์สวดนำพระโกศเวียนรอบพระเมรุ[ศัพท์พระราชพิธี]
ไวรัสตัวแดงดวงขาว[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การแสดงออกของยีน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ธงสําหรับองค์สมเด็จพระยุพราช มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นธงมี ๒ สี รอบนอกสีขาว รอบในสีเหลืองกว้างยาวครึ่งหนึ่งของรอบนอก มีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง[ศัพท์พระราชพิธี]
นํ้าที่หลั่งในเวลาทําทานเพื่ออุทิศผลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือนํ้าที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ เช่นวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น[ศัพท์พระราชพิธี]
ดอกไม้ที่จัดแต่งขึ้นตามโครงรูปต่าง ๆ เช่น วงกลม วงรี มักมีใบไม้เป็นส่วนประกอบด้วย สําหรับวางที่อนุสาวรีย์ พระบรมรูป หรือศพ เป็นต้น เพื่อเป็นเกียรติหรือแสดงความเคารพ[ศัพท์พระราชพิธี]
สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็น บำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราช-อิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำ ความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด[ศัพท์พระราชพิธี]
ตัวเร่งปฏิกิริยาทองแดง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ระบบแสดงผลภาพสามมิติ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ยศอันยิ่งใหญ่, ยศที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ หมายถึง สกุลยศของพระราชวงศ์ที่ถือกำเนิดมาว่ามียศทางขัตติยราชสกุลชั้นใด เช่น เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า, ถ้าพระราชวงศ์พระองค์ใดได้ปฏิบัติราชการแผ่นดิน มีความดีความชอบ ก็อาจได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นเจ้าต่างกรมจึงต่อพระนามกรมไว้ท้ายพระ นามเดิม เช่น พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์[ศัพท์พระราชพิธี]
[ กฺลด ] น. ร่มขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ขอบร่มมีระบาย คันยาวกว่าก้านร่ม ใช้ถือกั้นเจ้านาย หรือพระภิกษุที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์, ราชาศัพท์ว่า พระกลด, เรียกร่มขนาดใหญ่มีด้าม สำหรับพระธุดงค์โดยเฉพาะ, เรียกดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ที่มีแสงสีรุ้งเป็นวงกลมล้อมรอบว่า ดวงอาทิตย์ทรงกลด ดวงจันทร์ทรงกลด. (ข. กฺลส).[ศัพท์พระราชพิธี]
การแสดงความเกี่ยวพันทางเศรษฐกิจ[เศรษฐศาสตร์]
การปฏิบัติตามข้อกำหนดงดเว้น[เศรษฐศาสตร์]
บาร์น, หน่วยพื้นที่ภาคตัดขวางของอะตอม นิวเคลียส อิเล็กตรอน และอนุภาคอื่นๆ ที่แสดงโอกาสในการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1 บาร์น มีค่าเท่ากับ 10–24 ตารางเซนติเมตร (ดู cross section ประกอบ)[นิวเคลียร์]
การเฝ้าสังเกตภาวะ, การสังเกต การวัด หรือแนวโน้ม ของตัวบ่งชี้ภาวะโดยเทียบกับพารามิเตอร์เสรี เช่น เวลาหรือรอบการทำงาน เพื่อแสดงว่า โครงสร้าง ระบบ หรือส่วนประกอบ สามารถใช้งานตามเกณฑ์ที่กำหนดได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต, Example: [นิวเคลียร์]
เครื่องนับรังสี, อุปกรณ์ตรวจหาการแผ่รังสี หรือเครื่องสำรวจรังสี ซึ่งตรวจหาและวัดการแผ่รังสี จากการแตกตัวเป็นไอออน โดยแสดงเป็นผลรวมสะสม หรืออัตราการแผ่รังสี[นิวเคลียร์]
ระดับต้องปฏิบัติกรณีฉุกเฉิน, อีเอแอล, เกณฑ์แสดงระดับปฏิบัติกรณีฉุกเฉินทางรังสี โดยกำหนดเป็นค่าเฉพาะเพื่อระบุระดับของเหตุการณ์ฉุกเฉินทางรังสี[นิวเคลียร์]
การวิเคราะห์ธาตุโดยการเรืองรังสีเอกซ์, การวิเคราะห์ธาตุในสารตัวอย่าง โดยพิจารณาจากสเปกตรัมซึ่งแสดงค่าพลังงานและความเข้มของรังสีเอกซ์ลักษณะเฉพาะที่เกิดขึ้นจากการเรืองรังสีเอกซ์ของธาตุนั้นๆ การวิเคราะห์นี้สามารถบอกชนิด และปริมาณธาตุได้ถึงระดับส่วนในล้านส่วน[นิวเคลียร์]
การเก็บรักษากากกัมมันตรังสี, การเก็บรักษากากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่จัดเก็บที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม โดยจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ มีการจำกัดเขต ติดป้ายแสดงสถานที่และระดับรังสีอย่างชัดเจน ผนังของสถานที่จัดเก็บมีความหนาเพียงพอต่อการกำบังรังสีให้อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก[นิวเคลียร์]
การเก็บรักษากากกัมมันตรังสี, การเก็บรักษากากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่จัดเก็บที่เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม โดยจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ มีการจำกัดเขต ติดป้ายแสดงสถานที่และระดับรังสีอย่างชัดเจน ผนังของสถานที่จัดเก็บมีความหนาเพียงพอต่อการกำบังรังสีให้อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก, Example: [นิวเคลียร์]
สเปกตรัม, กราฟหรือแถบแสดงความเข้มของรังสีที่เป็นฟังก์ชันกับความยาวคลื่น พลังงาน ความถี่ โมเมนตัม มวล หรือปริมาณอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับรังสีนั้น, Example: [นิวเคลียร์]
การเฝ้าสังเกตพิเศษ, การตรวจติดตามที่กำหนดขึ้นสำหรับสถานการณ์จำเพาะ ของสถานปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอที่แสดงให้เห็นว่ามีการควบคุมที่ดี โดยมากจะใช้ในขั้นตอนดำเนินการของสถานปฏิบัติการใหม่ ใช้ในกรณีที่มีการดัดแปลงที่สำคัญของสถานปฏิบัติการและวิธีปฏิบัติ หรือใช้กับปฏิบัติการภายใต้ภาวะผิดปกติ เช่น การเกิดอุบัติเหตุ การเฝ้าสังเกตพิเศษนี้ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการเฉพาะแห่ง, Example: [นิวเคลียร์]
เครื่องนับรังสีจากแสงวับ, อุปกรณ์ตรวจวัดรังสีชนิดก่อไอออน ประกอบด้วยวัสดุที่เปล่งแสงวับเมื่อถูกกระทำโดยรังสี หลอดทวีคูณแสง และเครื่องบันทึกสัญญาณ ที่แสดงปริมาณและพลังงานของรังสีที่ตรวจวัด[นิวเคลียร์]
การเฝ้าสังเกตประจำ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีอย่างต่อเนื่อง โดยมีความมุ่งหมายเพื่อแสดงว่า สภาพการปฏิบัติงาน รวมทั้งระดับของปริมาณรังสีรายบุคคล เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่กำหนด การเฝ้าสังเกตประจำ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือการเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ, Example: [นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก[นิวเคลียร์]
การถ่ายภาพทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์, เทคนิคการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ โดยให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วย และถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีในอวัยวะที่ต้องการ ตรวจด้วยเครื่องตรวจและสร้างภาพ เช่น Gamma camera หรือ Single Photon Emission Computed Tomography (SPECT) หรือ Positron Emission Tomography (PET) เพื่อแสดงขนาด รูปร่าง ตำแหน่ง และการทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยวิธีอื่น <br>ศัพท์ที่ใช้ทางการแพทย์และมีความหมายคล้ายกัน ได้แก่คำว่า radionuclide organ imaging, nuclear scanning</br>, Example: [นิวเคลียร์]
ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี[นิวเคลียร์]
มลพิษ, มลภาวะ, มลพิษ - พิษเกิดจากความมัวหมองหรือความสกปรก <p>มลภาวะ - ความมัวหมอง หรือความสกปรก ไม่แสดงว่ามีพิษ เป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดความเสียหาย น้ำตามลำคลองหรืออากาศโดยทั่ว ๆ ไปก็สกปรกแต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสียหาย[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กลุ่มอาการป่วยจากรังสี, กลุ่มอาการที่ปรากฏเมื่อมนุษย์ได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ มี 3 กลุ่มอาการขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ได้แก่ กลุ่มอาการทางไขกระดูกหรือกลุ่มอาการทางระบบเลือด กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ทุกกลุ่ม จะแสดงอาการเป็น 3 ระยะ คือ <br>-ระยะเริ่มต้น (prodromal stage) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย</br> <br>-ระยะแอบแฝง (latent stage) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ</br> <br>-ระยะแสดงอาการที่แท้จริง (manifest illness stage) มีอาการที่แสดงถึงความเสียหายของอวัยวะ</br> <br>(ดู bone marrow syndrome, cerebrovascular syndrome และ gastrointestinal syndrome ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี[นิวเคลียร์]
แสดงข้อความข่าวสารทางจอภาพ[คอมพิวเตอร์]
ตัวพร้อม เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS หากเครื่องของเรามีฮาร์ดิสก์ ข้อความสุดท้ายที่จะเห็นบนจอก็คือ C> ข้อความนี้ก็คือตัวพร้อม ซึ่งแสดงว่า DOS พร้อมรับคำสั่ง[คอมพิวเตอร์]
แปลงเป็นเลข การเปลียนแปลงภาพบนกระดาษให้เป็นสัญญาณเลข สำหรับบันทึก เก็บ และนำมาแสดงผลได้[คอมพิวเตอร์]
รูปภาพแสดงถึงการประดิษฐ์, รูปภาพแสดงถึงการประดิษฐ์, Example:มักประกอบในเอกสารการยื่นขอรับสิทธิบัตรของแต่ละฉบับ ส่วนใหญ่เป็นการประดิษฐ์ในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า สูตรทางเคมี [ทรัพย์สินทางปัญญา]
ตัวอักษรที่มักแสดงต่อท้ายตรงหมายเลขสิทธิบัตร เป็นการแสดงถึงสถานะของเอกสารสิทธิบัตรที่ยื่นขอ, ตัวอักษรที่มักแสดงต่อท้ายตรงหมายเลขสิทธิบัตร เป็นการแสดงถึงสถานะของเอกสารสิทธิบัตรที่ยื่นขอ, Example:ตัวอย่าง DE1234A1 หมายถึงคำโฆษณาที่ยื่นขอเปิดเผยให้สาธารณะตรวจสอบ ส่วน DE1234C1 หมายถึงเอกสารสิทธิบัตรที่ได้รับอนุมัติของสำนักงานสิทธิบัตรเยอรมนี[ทรัพย์สินทางปัญญา]
เพ็ต, เทคนิคการถ่ายภาพการทำงานของอวัยวะด้วยวิธีกราดวิเคราะห์โพซิตรอนที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีที่มีครึ่งชีวิตสั้นมากซึ่งผลิตจากไซโคลทรอนเข้าไปในกระแสเลือด เช่น การตรวจการทำงานของสมอง จะใช้กลูโคสซึ่งฝังตรึงด้วยสารกัมมันตรังสี ฟลูออร์-18 เพื่อแสดงการทำงานของสมองส่วนต่างๆ เป็นภาพสามมิติที่มีสีสันแตกต่างกัน ข้อดีของเทคนิคนี้ คือ สามารถแสดงผลได้รวดเร็วในเวลาน้อยกว่า 1 นาที นอกจากนี้ยังสามารถใช้วินิจฉัยด้านอื่นๆ ได้ด้วย เช่น โรคหัวใจร่วมหลอดเลือด เนื้องอก และด้านลิ่มเลือดหรือโรคลมต่างๆ[นิวเคลียร์]
สมการมวล-พลังงาน, สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน ของ แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ซึ่งอธิบายว่า “มวลของวัตถุก็คือมาตรวัดพลังงานที่มีอยู่ในวัตถุนั้น” ต่อมาได้รับการพิสูจน์ยืนยัน โดยการวัดค่าของมวลและพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ดังสมการ <br>E = mc<sup>2</sup></br> <br>เมื่อ E คือ พลังงาน</br> <br>m คือ มวลของวัตถุที่เปลี่ยนเป็นพลังงาน</br> <br>c คือ ความเร็วของแสงในสุญญากาศ</br> <br>สมการนี้บางครั้งเรียกว่า Einstein equation</br>[นิวเคลียร์]
อาหารฉายรังสี, อาหารที่ผ่านการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต และผู้ฉายรังสี วัน เดือน ปี ที่ฉายรังสี, Example: [นิวเคลียร์]
วีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง”[คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด]
ส่วนประสานกราฟิกกับผู้ใช้ ลักษณะการแสดงคำสั่ง โปรแกรม หรือสิ่งอื่ีนๆ เป็นภาพกราฟิก (เรียกว่า icon หรือ สัญรูป) บนจอภาพ[คอมพิวเตอร์]
กราฟิก ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับการแสดงภาพด้วยคอมพิวเตอร์[คอมพิวเตอร์]
เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูงบนข่ายสายทองแดง หรือคู่สายโทรศัพท์[คอมพิวเตอร์]
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์, ระบบคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลแผนที่แบบต่างได้อย่างแม่นยำ มีประโยชน์ในการ จัดทำ วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ พร้อมกับการแสดงผลข้อมูลชนิดอื่นๆ ที่ต้องอิงพื้นที่ อาจจะเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แผนที่อิเล็กทรอนิกส์[Assistive Technology]
ระบบแยกข้อมูลภาพจากดาวเทียมเป็นภาพหลายช่วงคลื่น, ระบบแยกข้อมูลภาพจากดาวเทียมเป็นภาพหลายช่วงคลื่น เพื่อแยกแยะลักษณะต่างๆบนพื้นดิน โดยทั่วไปจะใช้ ๗ ช่วงคลื่น และทำให้สามารถจำแนกชนิดของวัตถุบนพื้นดินได้งาน เช่น ดิน พืชพรรณ ความแข็งแรงของพืช ชนิดของพืชพรรณ ปริมาณของมวลชีวภาพ (biomass) จำแนกแหล่งน้ำ บอกความชื้นของดิน แยกระหว่างเมฆกับหิมะ แสดงแหล่งพลังงานความร้อน และจำแนกชนิดของหิน[Assistive Technology]