แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
289 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*เถียง*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: เถียง, -เถียง-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)disputeSee Also:debate, argue, wrangle, discussSyn.แย้ง, โต้แย้ง, ถกเถียง, โต้เถียงExample:ที่ประชุมยังคงเถียงกันอยู่ว่าโครงการนี้จะมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงไหน
(v)disputeSyn.โต้เถียง, โต้แย้งExample:คนงานก่อสร้างกลุ่มของทอนรวมหัวกันที่ร้านข้าวเหนียวส้มตำ ถกเถียงกันเรื่องที่ตั้งและขนาดของไร่Thai Definition:ยกเอาขึ้นมาพูดโต้แย้งกัน
(v)argueSee Also:debate, disputeExample:ผมเป็นคนค่อนข้างดื้อเอาการอยู่ ถึงแม้จะมีนิสัยค่อนข้างสงบ ไม่ชอบโต้เถียงกับใคร แต่ผมก็ถือว่าเรื่องนี้ค่อนข้างสำคัญThai Definition:เถียงกันไปมา
(v)argueSee Also:have an argument, have a row, quarrel, have an altercation, disputeSyn.โต้เถียง, เถียง, ถกเถียงExample:ทั้งคู่ทุ่มเถียงกันด้วยเรื่องไม่เป็นเรื่องThai Definition:โต้แย้ง หรือเถียงกันอย่างรุนแรง
(n)controversySee Also:dispute, disputation, debate, argument, discussionSyn.การถกเถียง, การเถียง, การโต้แย้งExample:การโต้เถียงกันของผู้ใหญ่เป็นตัวอย่างที่ไม่ดีกับเด็กๆ
(v)can't argueSee Also:argue without reason, lose the argument, be unable to reason with, fail to convinceSyn.เถียงไม่ออกExample:เหตุผลของเขาทำให้ผมเถียงไม่ขึ้นThai Definition:เถียงต่อไปไม่ได้ เพราะต้องยอมรับเหตุผลที่เขายกขึ้นอ้าง
(v)haggleSee Also:debate, controvert, argue against, keep arguing, argue back and forth, argue, talk back, dSyn.โต้เถียง, ทุ่มเถียง, เถียงAnt.สงบปากสงบคำExample:หลังจากที่เขาไม่สามารถหาเหตุผลมาอธิบายได้ เขาจึงพูดว่า ผมไม่อยากต่อล้อต่อเถียงกับผู้หญิงThai Definition:โต้เถียงกันไปมาไม่หยุดหย่อน
(v)argue incessantlySee Also:dispute every wordSyn.เถียงคอเป็นเอ็นExample:เด็กคนนี้เถียงคำไม่ตกฟาก เป็นเด็กที่ไม่น่ารักเลยThai Definition:เถียงไม่หยุด
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ว. โต้เถียงยอกย้อนกันไปมา.
ก. เถียงกันไปมา.
ก. ยกเอาขึ้นมาพูดโต้แย้งกัน.
ก. พูดโต้, พูดแย้ง, พูดโต้แย้ง
ขัดกัน เช่น เรื่องนี้ความตอนต้นกับตอนปลายเถียงกัน.
น. เรือนพักชั่วคราวในทุ่งนา สำหรับอยู่เฝ้าข้าว.
ก. เถียงกันรุนแรงอย่างทะเลาะ.
ว. ออกนอกแนวนอกเรื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล เช่น เถียงไปข้าง ๆ คู ๆ.
ก. มีนิสัยไม่ชอบทำงาน เช่น เด็กคนนี้ขี้เกียจ, เกียจคร้าน ก็ว่า, รู้สึกไม่อยากทำเพราะไม่เห็นประโยชน์เป็นต้น เช่น ขี้เกียจเถียง
มีเหตุผลสมควร เช่น ฟังขึ้น, ถ้าใช้ในความปฏิเสธ เช่น เถียงไม่ขึ้น หมายความว่า เถียงไม่ชนะ.
ว. อาการที่นิ่งอั้นเพราะเถียงไม่ขึ้นเป็นต้น
ว. ขึ้นเสียงเถียงโต้อย่างไม่ยอมลดละ, เถียงเก่ง, เช่น หวงแหนหึงผัวตัวเป็นเกลียว จนเสียงขุ่นเสียงเขียวคอเป็นเอ็น (คาวี).
ก. เกร็งแขนขัดกัน แล้วออกกำลังกดให้แขนอีกฝ่ายหนึ่งล้มลง, โดยปริยายหมายความว่า โต้เถียงกัน, มีความเห็นขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน.
ประเด็นสำคัญของเรื่องที่พูดหรือถกเถียงกันเป็นต้น เช่น พูดไม่ถูกจุด ตอบไม่ตรงจุด.
ว. อาการที่พูดหรือเถียงไม่หยุดปาก เช่น พูดฉอด ๆ เถียงฉอด ๆ.
ก. แนะนำชายหญิงให้รู้จักกันในฐานชู้สาว เช่น ถ้าเจ้าไช้ให้ข้าชักสื่อ ท่านว่าข้าเถียงเจ้ามิได้ อย่าให้ไหมทาษนั้นเลย (สามดวง), ภิกษุชักสื่อให้ชายหญิงเป็นผัวเมียกัน ต้องสังฆาทิเสส (นวโกวาท).
ก. ตรงทื่อ เช่น ถ้ามันโกรธกูจะกรูเข้าคร่า ถ้ามันด่ากูจะดื้อเข้าเดียง ถ้ามันเถียงกูจะเข้าถอง (ม. ร่ายยาว ชูชก)
ก. ตีลง, ทุบลง, ฟาดลง, เช่น ถ้ามันโกรธกูจะกรูเข้าคร่า ถ้ามันด่ากูจะดื้อเข้าเดียง ถ้ามันเถียงกูจะถูเข้าถอง (ม. ร่ายยาว ชูชก).
โดยปริยายใช้ในลักษณะที่พูดคำเถียงคำไม่หยุดปาก ว่า เถียงคำไม่ตกฟาก.
ก. เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่รู้จักจบ.
ดึงดัน เช่น ตะบันเถียง.
ว. คำประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบัน เถียงตะบัน, ตะบันราด ก็ว่า.
ว. คำประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบันราด เถียงตะบันราด, ตะบัน ก็ว่า.
ว. ซํ้า ๆ ซาก ๆ, ไม่รู้จักจบจักสิ้น, เช่น เถียงตะบี้ตะบัน.
ว. อาการที่พูดหรือเถียงเฉไฉหรือดันไปข้าง ๆ คู ๆ.
ก. กล่าว, โต้, เถียง.
ก. ทุ่มเถียงกันด้วยความโกรธ, โต้เถียงกัน, เป็นปากเป็นเสียงกัน.
น. ความแตกต่างระหว่าง ๒ ฝ่ายที่โต้เถียงกัน.
ว. พูดยืนยันหรือเถียงอย่างดื้อดันไม่ยอมจำนนข้อเท็จจริง.
ว. ชอบพูดจาหรือโต้เถียงด้วยถ้อยคำแข็งกร้าวไม่สุภาพ, ด่าเก่ง, ชอบพูดจาหยาบคาย.
ก. โต้เถียง, ทะเลาะ, ในคำว่า เป็นปากเสียง มีปากเสียง.
น. ผู้พูดหรือโต้เถียงแทน เช่น ผู้แทนราษฎรเป็นปากเสียงของประชาชน.
ก. โต้เถียง เช่น เป็นปากเสียงกัน, พูดหรือโต้เถียงแทน เช่น หนังสือพิมพ์เป็นปากเสียงของประชาชน, เป็นปากเป็นเสียง ก็ว่า.
(พันดะนะ) น. การทะเลาะ, การทุ่มเถียง, การแก่งแย่ง.
ก. ทะเลาะกัน, ทุ่มเถียงกัน.
ก. เถียง, มักใช้ในความปฏิเสธว่า อย่ามีเสียงนะ.
ว. ปิดบังไม่ให้คนอื่นรู้, อาการที่เถียงหรือบ่นโดยอ้าปากขึ้นลงเล็กน้อยไม่ให้ได้ยิน.
ก. ไม่ยอมผ่อนปรน เช่น เถียงไม่ลดราวาศอก.
ก. อ่อนข้อ, ยอมผ่อนปรนให้, เช่น เถียงกันไม่ลดราวาศอก เขาเป็นพี่ก็ต้องยอมลดราวาศอกให้เขาบ้าง.
ก. ทำหน้าเชิดไปมา, โดยปริยายหมายความว่า มีลักษณะอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ทำผิดแล้วยังมาลอยหน้าเถียงอีก.
ก. ยอมเว้นให้, ยอมหย่อนให้, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เถียงอย่างไม่ละลด, ลดละ ก็ว่า.
ก. เตรียมตัวพูดหรือโต้เถียงเต็มที่ เช่น ลับปากไว้คอยท่า(ไชยเชฐ), พูดจาโต้ตอบคารมบ่อย ๆ จนคล่องแคล่ว.
ว. ก้าวร้าวโต้เถียงไม่ลดละ เช่น ลิ้นกระด้างคางแข็งแกล้งว่าขาน (ขุนช้างขุนแผน)
ก. ท่องบ่น เช่น เล่าเรียนคาถาอาคม, ศึกษาหาความรู้ เช่น เขาเล่าเรียนมา อย่าไปเถียงเขา, เรียกเงินที่ต้องชำระเพื่อศึกษาหาความรู้ ว่า ค่าเล่าเรียน.
(วิกคะ-) น. การทะเลาะ, การโต้เถียง
การทุ่มเถียง, การโต้ตอบ
ก. นิ่ง, ไม่พูด, เช่น เขาเป็นคนสงบปากสงบคำ, ไม่โต้เถียง เช่น สงบปากสงบคำเสียบ้าง อย่าไปต่อล้อต่อเถียงเขาเลย.
ก. เถียงกัน เช่น สู้ปากเขาไม่ได้, สู้สีปาก ก็ว่า.
ว. อาการที่กล่าวออกมาอย่างยืนยันหนักแน่น เช่น เขาเถียงเสียงแข็งว่าเขาทำถูกต้องแล้ว
ว. อาการที่ใช้วาจาโต้เถียงกันเพราะมุ่งที่จะเอาชนะอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น แม่ค้าเถียงกันหน้าดำหน้าแดง.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การให้เหตุผล, การถกเถียง, ข้อโต้แย้ง[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
การกำหนดประเด็นข้อโต้เถียง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การต่อสู้คดี, ข้อโต้เถียง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อโต้เถียง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การโต้เถียง, การโต้แย้ง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ "[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
พวกเราทุ่มเถียงกัน ราวกับแมวเรื่องเธอWuthering Heights (1992)
ฉันไม่รู้ว่าพวกนายเถียงกันไปทำไม เพราะยังไงดีรีซ...Cool Runnings (1993)
แต่เราก็ยังคงมีเรื่องให้โต้เถียงกัน... ในบริเวณที่เป็นสีเทาของเราThe Joy Luck Club (1993)
สิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากที่คุณถกเถียงกันอยู่กับภรรยาของคุณThe Shawshank Redemption (1994)
คุณสามารถเถียงเขาต้องการทำมันไปประจบกับยามThe Shawshank Redemption (1994)
ไม่เถียง ยุโรป เอเชีย อเมริกา ผมไม่บอร์นไม่ใช่หรอThe Great Dictator (1940)
เถียงซักคำไหมThe Great Dictator (1940)
เราจะไม่โต้เถียงหากท่านชอบมันThe Great Dictator (1940)
เมื่อไม่มีผู้วิพากย์ และผู้โต้เถียงNight and Fog (1956)
ตกลงดู ขอหยุดการโต้เถียง เรากำลังเสียเวลาเพียง12 Angry Men (1957)
เธอจำได้ว่ารายละเอียดเล็กน้อย วิธีการที่คุณสามารถโต้เถียงกับที่?12 Angry Men (1957)
ฉันกำลังเถียงกับผู้ชายผมทำงานต่อไปเพื่อที่ธนาคารไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา12 Angry Men (1957)
ขอหยุดการโต้เถียงประมาณสองนาทีในการที่นี่12 Angry Men (1957)
ไม่เถียงกับเจ้าหน้าที่ที่เหนือกว่า ไม่มีการทรยศขี้ขลาดไม่มีไม่ได้ ข่มขืนมาก ฉันไม่ยอมข่มขืนHow I Won the War (1967)
- ใครจะเถียงได้ - สาธุคุณBlazing Saddles (1974)
อนิจจา ผมเถียงเขาไม่ได้The Little Prince (1974)
ฉันไม่เถียงกับคุณหรอก เลิกคุยกันดีกว่าJaws (1975)
ผมเถียงอย่างเดียวกันนี้ กับผู้จัดการเขตคนก่อนOh, God! (1977)
ผมไม่มีทางเถียงอะไรกับเขาได้Oh, God! (1977)
เธอชอบทะเลาะโต้เถียงเป็นประจำ, สร้างปัญหา.Suspiria (1977)
ส่วนไมค์ ไม่ต้องเถียงอะไรทั้งนั้นPhantasm (1979)
ไม่มีเวลามาเถียงกันแล้ว โยนรูปบูชามาให้ฉัน, แล้วฉันจะโยนแส้ให้.Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981)
มันเป็นเพียงห้องเต็มไปด้วยนัก ชีววิทยาทางทะเล เถียงกันเรื่องแพลงก์ตอน2010: The Year We Make Contact (1984)
ฉันจะไปทำอย่างอื่น ดีกว่านั่งฟังเด็กเถียงกัน เสร็จแล้วใช่มั้ย?Day of the Dead (1985)
พี่เดนนี่คือคนที่เขาสน แล้วไม่ต้องมาเถียงเลยนะStand by Me (1986)
ถัดมาข้างหน้าเขา มีชายสองคนโต้เถียงกันStand by Me (1986)
แต่ถ้าคุณต้องการที่จะเถียงไปที่อื่นกรุณาBloodsport (1988)
คนพวกเดิมถกเถียงกันเรื่องเดิม ๆBig (1988)
ฉันไม่เถียงเรื่องรูปแบบคนPunchline (1988)
แต่ในปี 58 ทีมด๊อดเจอร์ย้ายไปที่อื่น เราเลยต้องหาเรื่องอื่นมาเถียงกันField of Dreams (1989)
พันตรีโคสโลว่าทำให้การถกเถียง เรื่องส่งผู้หญิงไปสนามรบสิ้นสุดลงThe Jackal (1997)
อย่าเพิ่งเถียงกันตอนนี้นะจ๊ะNothing to Lose (1997)
อย่าเถียงแม่เสียนิสัย ผมทำอะไรผิดNothing to Lose (1997)
เถียงว่าฮิตเลอร์ เป็นฮีโร่ของสิทธิ์มนุษย์ชนAmerican History X (1998)
ฉันไม่เถียงหรอกว่า เด็กคนนั้นสับสน... และมีความฝังใจที่น่าขยะแขยง... แต่ฉันยังไม่ยอม ปัดเขาลงถังขยะหรอกAmerican History X (1998)
นี่จะไม่เถียงฉันหรอกหรอ?10 Things I Hate About You (1999)
อย่ามาต่อล้อต่อเถียงกับฉันนะAmerican Beauty (1999)
งั้นก็อย่ามาเถียงฉันBicentennial Man (1999)
ไม่ทราบว่าพวกคุณกำลังเถียงอะไรกันอยู่ค่ะ?GTO (1999)
ถ้าเถียงไม่ชนะ ก็โดดไปนำอีกฝ่ายซะThe Legend of Bagger Vance (2000)
ซึ่งอยู่ไกลถึงอาฟริกาตะวันออก ประเด็นการถกเถียงกันในวันนี้... คือทฤษฎีที่กล้าหาญและหนักแน่น...Malèna (2000)
แล้วพวกมันก็เถียงกัน ว่าจะปรุงเราเป็นอาหารอะไรดีThe Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001)
ไม่เข้าใจบ้างหรอ มัวเเต่เถียงกันนี่ ซอรอนอาคมเเก่กล้าขึ้นทุกทีThe Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001)
เราถึงได้มีข้อถกเถียงกันมากมายไงRock Star (2001)
คิดจะเถียงกับฉันเรื่องมวยปล้ำเหรอFailan (2001)
- อย่าเถียงกันน่าThe Pianist (2002)
ทำไมชอบเถียงกันจริงๆน่ะพวกนี้Sex Is Zero (2002)
ฟังก่อนนะ อย่า อย่าเพิ่งเถียงLove Actually (2003)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kān thokthīeng] (n) EN: controversy
[kān thokthīeng kan] (n, exp) EN: controversy
[kān tōthīeng] (n) EN: controversy ; dispute ; disputation ; debate ; argument ; discussion ; exchange  FR: discussion [ f ]
[kān tōthīeng kan] (n, exp) FR: dispute [ f ]
[kān tōthīeng yāng runraēng] (n, exp) EN: catfight ; controversy
[khø tōthīeng] (n, exp) EN: dispute ; argument ; controversy ; point of contention  FR: point de désaccord [ m ]
[khø tōthīeng kan] (n, exp) EN: point at issue
[phū chøp thīeng] (n, exp) FR: disputeur [ m ] (vx) ; disputeuse [ f ] (vx)
[thīeng] (v) EN: dispute ; debate ; argue ; wrangle ; discuss ; contradict ; talk back  FR: contester ; objecter ; répliquer ; discuter ; débattre
[thīeng kham mai tokfak] (v, exp) EN: argue incessantly ; dispute every word  FR: discuter sans relâche
[thīeng mai kheun] (v, exp) EN: can't argue ; argue without reason ; lose the argument ; be unable to reason with ; fail to convince
[thokthīeng] (v) EN: dispute ; argue ; discuss
[thumthīeng] (v) EN: have an argument ; have a row ; have a quarrel ; have an altercation  FR: débattre ; contester ; polémiquer ; avoir une altercation
[tokthīeng] (v) FR: discuter ; débattre
[tōthīeng] (v) EN: argue ; debate ; dispute  FR: polémiquer ; batailler ; disputer (vx - litt.)
Longdo Approved EN-TH
(n)การเปิดประเด็นเพื่อการถกเถียงและโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)การทุ่มเถียงSee Also:การทะเลาะวิวาทSyn.quarrel
(vi)โต้เถียงSee Also:โต้แย้ง, เถียงSyn.quarrel, dispute
(n)การโต้แย้งSee Also:การแย้ง, การโต้เถียงSyn.dispute, debate
(phrv)เถียงกลับSee Also:โต้กลับ, ย้อนกลับ
(phrv)ถกเถียงเพื่อต่อต้านSee Also:อภิปรายแย้ง, อภิปรายต่อต้าน
(phrv)เถียงกลับ (อย่างไม่พอใจหรือหยาบคาย)
(phrv)ถกเถียงเรื่องSee Also:อภิปรายเรื่อง
(phrv)โต้เถียงเรื่องSee Also:ถกเถียงเรื่อง
(phrv)ทะเลาะกันเรื่องSee Also:ถกเถียงเรื่อง, โต้เถียงเรื่องSyn.argue about
(n)เสียงทะเลาะ (คำไม่เป็นทางการ)See Also:เสียงโต้เถียงกัน
(vi)โต้เถียงSyn.squabble
(n)ต้นเหตุที่ทำให้เกิดการโต้เถียงSee Also:สาเหตุที่ทำให้ทะเลาะกันSyn.controversy
(n)การถกเถียงอย่างเปิดเผย
(vi)ถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหาSyn.confer
(adj)เกี่ยวกับการถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหา
(vi)เถียงSee Also:ทะเลาะ
(n)การทุ่มเถียงSee Also:ทะเลาะ
(vi)ทะเลาะเบาะแว้งSee Also:ทุ่มเถียง, ทะเลาะวิวาทSyn.fight
(n)การโต้เถียงรุนแรง
(idm)โต้แย้งกันอย่างแรงSee Also:โต้เถียงกันอย่างแรง
(phrv)ทะเลาะกันเรื่องSee Also:เถียงกันในเรื่องSyn.quarrel about
(phrv)ทะเลาะกันเรื่องSee Also:เถียงกันในเรื่องSyn.quarrel about
(idm)หยุดต่อสู้See Also:เลิกโต้เถียง
(n)การโต้เถียงอย่างรุนแรง (โดยเฉพาะระหว่างผู้หญิง)Syn.quarrel
(n)คนที่เถียงกันSee Also:คนที่โต้แย้งกัน
(vi)โต้เถียงSyn.argue, debate, fence
(adj)ซึ่งโต้เถียงกันSee Also:ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันSyn.quarrelsom, argumentative
(adj)ซึ่งก่อให้เกิดการโต้แย้งSee Also:เกี่ยวกับการโต้เถียงSyn.arguable, controvertible, debatable
(n)การโต้เถียงอย่างรุนแรงSyn.contention, debate, quarrel
(vt)โต้แย้งSee Also:โต้เถียงSyn.refute, rebut
(phrv)โต้เถียงเกี่ยวกับSee Also:ทะเลาะกันในเรื่อง
(phrv)ขัดแย้งกันในเรื่องSee Also:โต้เถียงกันในเรื่อง
(phrv)ขัดแย้งกันกับSee Also:โต้เถียงกันกับ
(phrv)ขัดแย้งกันในเรื่องSee Also:โต้เถียงกันในเรื่อง
(phrv)ขัดแย้งกันกับSee Also:โต้เถียงกันกับ
(phrv)โต้แย้งกับSee Also:เถียงกับ
(adj)ซึ่งโต้แย้งได้See Also:ซึ่งยังถกเถียงกันอยู่Syn.arguable, questionable, disputable
(vt)กล่าวแย้งSee Also:โต้เถียงSyn.deny, contradictAnt.confirm, admit
(adj)ที่โต้แย้งได้See Also:ที่ถกเถียงได้
Hope Dictionary
(อะแนล'โชไจซ) vt., vt. ใช้วิธีการอุปมาเปรียบเทียบในการอธิบายหรือโต้เถียง, ทำการอุปมาในลักษณะเหมือนกัน
(อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n.Syn.debate
(อาร์'กิวเมินทฺ) n. การโต้เถียง, การโต้คารม, การอ้างเหตุผล, ขบวนการให้เหตุผล, ข้อโต้เถียง, เรื่อง, ข้อสรุป, หลักฐาน, ข้อพิสูจน์
(อาร์กิวเมนเท'เชิน) n. ขบวนการโต้เถียงการให้เหตุผล, การอภิปราย, การถกเถียง, บทความเชิงอภิปราย, ข้อพิสูจน์, ข้อสรุป, ข้ออนุมานSyn.discussion
(อาร์กิวเมนเท'ทิฟว) adj. ชอบโต้เถียง, เกี่ยวกับโต้เถียง, ขัดแย้งSyn.disputatious, contentiousAnt.amenable
(บิเล'เบอะ) { belabored, belaboured, belaboring, belabouring, belabors, belabours } vt. ถกเถียง, พูดมากเกินไปเกี่ยวกับ, กล่าวหา, เหยียดหยาม, ตีแรง
(บิเล'เบอะ) { belabored, belaboured, belaboring, belabouring, belabors, belabours } vt. ถกเถียง, พูดมากเกินไปเกี่ยวกับ, กล่าวหา, เหยียดหยาม, ตีแรง
(บิค'เคอะ) { bickered, bickering, bickers } vt., n. (การ) ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง, เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว, สั่น, ระยิบระยับSee Also:bicker n. ดูbicker
(โบล'อัพ) n. การระเบิด, การถกเถียงอย่างรุนแรง, อารมณ์ระเบิด, การขยายออกSyn.explosion
n. การถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหา
(ชอพ) v.ตัด, ผ่า, สับ, โค่น, ฟัน, ถาง, ฟัน, ตัดขาด, เปลี่ยนทิศทางอย่างฉับพลัน, โต้เถียง -n. การตัด, การผ่า, ชิ้นที่ตัดออก, ชิ้นเนื้อ, การสับเปลี่ยน -Phr. (chop chop adv., interj. เร็ว !.เร็วเข้า !)
n. การโต้เถียงที่อ้างเหตุผลผิด ๆ
(คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น
(คันเทนดฺ') { contended, contending, contends } vi. แข่งขัน, ต่อสู้ vt. ยืนยัน, โต้เถียง.See Also:contendingly adv. ดูcontend
(คันเทน'เชิน) n. การแข่งขัน, การดิ้นรนต่อสู้, การโต้เถียงSyn.struggle
(คันเทน'เชิส) adj. ชอบทะเลาะ, ชอบโต้เถียง, ชอบต่อสู้.See Also:contentiousness n. ดูcontentious
(n. คอน'เทสทฺ, -v. คันเทสทฺ') n. การต่อสู้กัน, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง. vt. ต่อสู้, ดิ้นรน, โต้แย้ง, โต้เถียง. vi.แข่งขัน, โต้เถียงSee Also:contester n.Syn.strive
(คอนเทสเท'เชิน) n. การแข่งขัน, ความขัดแย้ง, การโต้เถียง
(คอนทระดิคทฺ') { contradicted, contradicting, contradicts } vt. โต้แย้ง, เถียง, ปฏิเสธ. vi. กล่าวแย้ง.See Also:contradicter n. ดูcontradict contradictor n. ดูcontradict
(คอนทระดิค'เชิน) n. การโต้แย้ง, การเถียง, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน
(คันทระเวอ'เชิล) adj. เกี่ยวกับการโต้เถียง, เกี่ยวกับการขัดแย้ง, See Also:controversialism n. controversialist n.Syn.disputatious
(คอน'ทระเวอซี) n. การโต้เถียง, การโต้ความ, การทะเลาะวิวาทSyn.discussion
(คอน'ทระเวิร์ท) vt. โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย.See Also:controverter n. ดูcontrovert controvertible adj. ดูcontrovertSyn.oppose, deny
(ดิเบ'ทะเบิล) adj. เป็นที่ถกเถียงกัน, เป็นปัญหา
(ดิเบท') { debated, debating, debates } vt., n. (การ) ถกเถียง, อภิปราย, พิจารณา, ชิงชัย, ต่อสู้Syn.argue
(ดิเรน') vt. โต้เถียง
(ดิสพิว'ทะเบิล) adj. ซี่งโต้แย้งได้, เถียงได้, เป็นปัญหา.See Also:disputability n.
(ดิสพิว'เทินทฺ) n.ผู้โต้เถียง, ผู้โต้แย้ง, ผู้อภิปราย. -adj. ซึ่งโต้เถียง, ซึ่งโต้แย้ง
n. การโต้เถียง, การอภิปราย, การทะเลาะSyn.dispute
(ดิสพิวเท'ชัส) adj. ซึ่งเป็นการโต้เถียง, ชอบโต้เถียง.
(ดิสพิวทฺ') vi., vt., n. (การ) โต้เถียง, โต้แย้ง, ทะเลาะSee Also:disputer n. ดูdisputeSyn.debate, argument
n. การตรวจสอบและถกเถียงเกี่ยวกับปริญญานิพนธ์
(แฟลคฺ) n. การยิงปืนต่อสู้อากาศยาน, การวิจารณ์ที่รบกวน, การต่อต้านที่รบกวน, การโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อน, การอภิปรายอย่างเผ็ดร้อน.Syn.flack
(กิฟว) { gave, given, giving, gives } vt., vi. ให้, มอบให้, เอาให้, แจก -Phr. (give in ยอมแพ้, หยุดสู้, หยุดเถียง) . -Id. (give (something) out แจกจ่าย) . n. สภาพที่ยืดหยุ่นได้, ความเด้งได้
(แฮก'เกิล) vi. ทะเลาะ, เถียง, ต่อล้อต่อเถียง. vi. ตัดหรือฟันอย่างอุตลุด, เสียงรบกวน. n. การเถียง, การต่อล้อต่อเถียง.See Also:haggler n.
(แฮส'เซิล) vi., n. (การ) โต้เถียง, ทะเละ, วิวาท, รบกวนSyn.quarrel, squabble, irritate
(เฮอเมท'ทิคคัล) adj. ว่าด้วยผีสางหรือการใช้อาคม, ลมเข้าไม่ได้ (โดยการเชื่อม) , เถียงไม่ได้, ลึกลับSee Also:hermeticism n.
(เฮอเมท'ทิคคัล) adj. ว่าด้วยผีสางหรือการใช้อาคม, ลมเข้าไม่ได้ (โดยการเชื่อม) , เถียงไม่ได้, ลึกลับSee Also:hermeticism n.
(อินอาร์' กิวอะเบิล) adj. ซึ่งถกเถียงไม่ได้, ซึ่งแย้งไม่ได้.See Also:inarguably adv.
(อิช'ชิว) n. การปล่อยออกมา, การออกคำสั่ง, การตีพิมพ์ออกมา, สิ่งที่ปล่อยออก, สิ่งตีพิมพ์, จำนวนหรือปริมาณที่ปล่อยออกมาแต่ละครั้ง, ฉบับ, ชุด, คราว, ปัญหา, ผลที่เกิดขึ้น, บุตร, ทายาท, ทางออก, ผลผลิต, ผลกำไร. -Phr. (at issue ที่กำลังเป็นปัญหา ที่กำลังถกเถียงกัน) vt., vi. ไหล
(ลิทิจ'เจิส) adj. เกี่ยวกับการฟ้องร้อง, เกี่ยวกับการดำเนินคดี, ชอบฟ้องร้อง, ชอบโต้แย้ง, ชอบถกเถียง.See Also:litigiousness n. ดูlitigious litigiosity n. ดูlitigiousSyn.quarrelsome
(มูท) adj. น่าสงสัย, ไม่จริง, เป็นสมมุติฐาน vt. ถกเถียง n. ศาลากลาง, การถกเถียง, การอภิปรายSyn.debatable, academic
(พอล'เทอะ) vi. พูดเล่น ๆ , ทำเล่น ๆ , ต่อรอง, ต่อล้อต่อเถียงSee Also:palterer n.
(เพท'ทะฟอก) vi. โต้เถียงในเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ , เป็นหมอความเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ , ใช้เล่ห์เหลี่ยมของทนายความ, โยเย, เล่นลิ้นSee Also:pettifogger n. pettifoggery n.
(พะเลม'มิคซฺ) n. ศิลปะการโต้เถียงหรือโต้แย้ง
(ควอ'เริล) { quarrel (l) ed, quarrel (l) ing, quarrels } vi., n. (การ) ทะเลาะ, วิวาท, ถกเถียงด้วยความโกรธ, บ่น, โทษ, จับผิดSee Also:quarreler, quarreller n.Syn.argument
(สพาร์) n. หินแร่ผลึก, เครื่องเสาหรือไม้กลมที่ใช้ค้ำยึด (เช่นเสากระโดงเรือ, ไม้ใบเรือ) , โครงปีกเครื่องบิน vt. จัดให้มีเครื่องเสาหรือโครงดังกล่าว vi., n. (การ) ต่อยมวย, ชกมวย, ซ้อมมวย, ตั้งหมัด, ต่อยหมัด, (ไก่) ต่อสู้กัน, ทะเลาะ, โต้เถียง.
(สควอบ'เบิล) vi., n. (การ) ทะเลาะ, เถียงกัน, มีปากเสียงกัน, ต่อล้อต่อเถียงSyn.dispute, wrangle
(แทง'เกิล) vi., vt. (ทำให้) ยุ่งเหยิง, พัวพัน, ต่อสู้, โต้เถียง. n. เรื่องยุ่งเหยิง, การต่อสู้, การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง, ความสับสน, ความพัวพัน.See Also:tanglement n. tangler n. tangly adv.
(ทิลทฺ) vt. ทำให้เอียง, ทำให้กระดก, ทำให้ตะ-แคง, โจมตี, โถมเข้าใส่, ถือหอกเตรียมแทง. vi. เอียง, กระดก, ตะแคง, โถมเข้าใส่ด้วยหอก, โจมตี n. การเอียง, การกระดก, ตำแหน่งเอียง, ที่ลาด, การต่อสู้, การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, การโจมตีด้วยหอก, -Phr. (full tilt เต็มแรง เต็มที่
Nontri Dictionary
(vi, vt)โต้แย้ง, เถียง, ถกเถียง, โต้เถียง, โต้คารม
(n)การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การโต้คารม, การถกเถียง
(adj)ชอบโต้แย้ง, ชอบโต้เถียง, ชอบเถียง, ชอบขัดแย้ง
(n)การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง
(vi)ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง
(n)การระเบิด, การขยายออก, การถกเถียงอย่างแรง
(n)การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง, การต่อสู้, การแข่งขัน
(adj)ชอบทะเลาะวิวาท, ชอบต่อสู้, ชอบโต้เถียง, ชอบแย้ง
(n)การต่อสู้, การต่อกร, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง
(vt)ต่อสู้, ต่อกร, แข่งขัน, โต้แย้ง, โต้เถียง
(vt)เถียง, แย้ง, โต้แย้ง
(n)การโต้แย้ง, การเถียง, การแย้ง, ความตรงกันข้าม
(adj)ซึ่งแย้งกัน, ที่เถียงกัน, เกี่ยวกับการโต้เถียง
(n)ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การเถียง, การโต้คารม
(vi, vt)แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย
(adj)ซึ่งยังไม่ตกลงกัน, เป็นปัญหา, เป็นที่ถกเถียงกัน
(n)การถกเถียง, การอภิปราย, การโต้แย้ง, การโต้วาที
(vt)ถกเถียง, โต้แย้ง, ต่อต้าน, ชิงชัย, โต้วาที, อภิปราย
(n)ผู้ถกเถียง, ผู้อภิปราย, ผู้โต้วาที
(vt)อภิปราย, สาธยาย, พิจารณา, โต้เถียง, โต้ตอบ, สนทนา
(n)การอภิปราย, การพิจารณา, การสนทนา, การโต้เถียง, การโต้ตอบ
(adj)ยังเป็นปัญหาอยู่, โต้แย้งได้, เถียงได้, แย้งได้
(n)ผู้โต้แย้ง, ผู้ถกเถียง, ผู้โต้เถียง
(n)การโต้เถียง, การโต้แย้ง, การถกปัญหา, การอภิปราย
(vt)โต้เถียง, แย้ง, ค้าน, ทะเลาะ, ต่อต้าน, อภิปราย
(n)การถกเถียง, การตรวจสอบ, การค้นคว้า, การบรรยาย, ปาฐกถา
(vi)ต่อราคา, ต่อล้อต่อเถียง, มีปากเสียง, ทุ่มเถียง, ทะเลาะ
(adj)แย้งไม่ได้, เถียงไม่ได้
(adj)โต้แย้งไม่ได้, เปลี่ยนไม่ได้, เถียงไม่ได้
(adj)โต้แย้งไม่ได้, เถียงไม่ได้, โต้ตอบไม่ได้
(n)เสียงห้าว, การทะเลาวิวาท, การโต้เถียง
(vt)วิวาท, ทะเลาะ, โต้เถียง, พูดเสียงห้าว
(adj)เป็นที่สงสัย, เป็นที่ถกเถียง, เป็นทฤษฎี
(vi, vt)โต้เถียง, เสนอปัญหา, ถกเถียง, ดำริ
(vi)พูดต่อล้อต่อเถียง, พูดเล่น, พูดหลบหลีก
(n)การโต้เถียง, การถกเถียง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง
(adj)โต้เถียง, ถกเถียง, ทะเลาะ, โต้แย้ง
(vi)วิวาท, ทะเลาะ, ถกเถียง
(n)การประดาบ, การรบกันประปราย, การโต้เถียงเล็กน้อย
(vi)ประดาบ, รบกันประปราย, โต้เถียงเล็กน้อย
(n)การต่อล้อต่อเถียง, การทะเลาะกัน
(vi)ต่อล้อต่อเถียง, ทะเลาะกัน
(vi)พันกันยุ่ง, ยุ่งเหยิง, โต้เถียง, ต่อสู้
(adj)ตอบไม่ได้, เถียงไม่ได้, แย้งไม่ได้
(adj)ไม่มีปัญหา, ไม่เถียง
(n)การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง, การถกเถียง
(vi)ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง, ถกเถียง
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(vt)ถกเถียง, โต้แย้งSee Also:disputeSyn.argue
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
議論
[ぎろん, giron](n)การอภิปราย การโต้แย้ง การถกเถียง
口論
[こうろん, kouron](n)การโต้เถียงกัน การทะเลาะกัน
争い
[あらそい, arasoi]โต้เถียง, ขัดแย้ง, โต้แย้ง, ทะเลาะ
Saikam JP-TH-EN Dictionary
争う
[あらそう, arasou] TH: โต้เถียง
争う
[あらそう, arasou] EN: to dispute
争議
[そうぎ, sougi] TH: การถกเถียง
争議
[そうぎ, sougi] EN: dispute
Longdo Approved DE-TH
(vi)|diskutierte, hat diskutiert, mit jmdm. über etw.(A)| ถกเถียงเกี่ยวกับประเด็นหรือปัญหาใดๆ เช่น Der Chef diskutiert gern über die Politik. เจ้านายชอบถกเถียงเรื่องการเมือง
(vi)|argumentierte, hat argumentiert, gegen/für etw.| โต้เถียง, ให้เหตุผล, ถกเถียง
(n)|die, pl. Auseinandersetzungen, über eine Sache| การอภิปรายถกเถียง, การโต้แย้ง, การเถียงกันSee Also:StreitSyn.Diskussion
(adj)ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เช่น Neubauten in Schweinheim sind umstritten. Bürger fürchten zusätzliche Belastungen durch die Erweiterung des Reha-Zentrums und das "Haus am Stadtwald".Syn.fraglich
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ