แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
325 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*มีอำนาจ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: มีอำนาจ, -มีอำนาจ-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)authoritarianSee Also:autocrat, despot, tyrant, dictatorExample:ลูกน้องกระจอกอย่างเขาต้องเกรงกลัวผู้มีอำนาจที่จะสั่งให้เขาทำอะไรก็ได้Unit:คนThai Definition:บุคคลที่มีอิทธิพลที่จะบังคับให้ผู้อื่นต้องยอมทำตาม ไม่ว่าจะด้วยความสมัครใจหรือไม่ หรือเป็นบุคคลที่สามารถบันดาลให้เป็นไปตามความประสงค์
(n)powerSee Also:influence, authority, jurisdictionExample:นักเลงอาศัยความมีอำนาจของตนข่มเหงชาวบ้าน
(n)person in authorityExample:พนักงานเหล่านี้ล้วนเป็นผู้มีอำนาจตามกฎหมายUnit:คนThai Definition:ผู้ที่มีสิทธิตามที่กฎหมายกำหนด
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น.
น. กฎเกณฑ์ที่ผู้มีอำนาจตราขึ้นเพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามเป็นการทั่วไป ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามย่อมได้รับผลร้าย กฎหมายอาจตราขึ้นเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ หรือเพื่อใช้ในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันก็ได้.
(กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น.
น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น
น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ และการค้ากับต่างประเทศ รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความเกี่ยวข้องด้วยพระราชทรัพย์หลวง และคดีความต่างประเทศ, พระคลัง หรือ พระคลังกรมท่า ก็เรียก
(กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อยในราชธานีและปริมณฑล ปราบปรามโจรผู้ร้าย รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความอุกฉกรรจ์และดูแลคุก (เรือนจำ) มหันตโทษ, เวียง หรือ กรมพระนครบาล ก็เรียก
(กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่รักษาพระราชมนเทียร พระราชวังชั้นนอก พระราชวังชั้นใน บริหารกิจการในพระราชสำนัก และบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับสมใน ได้แก่ ศาลแพ่งวัง ศาลอาชญาวัง และศาลนครบาลวัง รวมทั้งบังคับบัญชาศาลมรดก
ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ
ก. มี, มีมาก, เช่น นาย ก เป็นผู้มีอำนาจและกอบด้วยเมตตา, ประกอบด้วย ก็ว่า.
ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่ผู้เดียวตามกฎหมาย และไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือให้สัตยาบัน รวมทั้งการคํ้าประกันหนี้ของส่วนราชการ องค์การของรัฐ สถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจ.
น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศ.
น. ชื่อหนึ่งของพระอุมา ชายาพระอิศวร เรียกว่า เจ้าแม่กาลี, ปรกติสร้างรูปเป็นหญิงผิวดำ (ส. กาลี ว่า หญิงดำ), และว่ามีอำนาจเสมือน กาล (เวลา) ที่ไม่มีผู้ใดเอาชนะได้.
ตำแหน่งพนักงานฝ่ายปกครองซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปกครองราษฎรที่อยู่ในเขตตำบล.
ก. รับของสมนาคุณที่เขาเอามาให้โดยไม่ได้เรียกร้อง (มักใช้แก่เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจ).
น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร การเศรษฐกิจการเกษตร การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร การชลประทาน การประมง การปศุสัตว์ การป่าไม้ การพัฒนาที่ดิน และการสหกรณ์.
น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน (photon) ที่มีพลังงานสูงมาก มีช่วงคลื่นสั้นมาก มักเรียกกันว่า รังสีแกมมา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๓๐๐, ๐๐๐ กิโลเมตร/วินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้สูง สามารถเจาะทะลุแผ่นตะกั่วหนาหลายเซนติเมตรได้ เกิดจากการเสื่อมสลายของสารกัมมันตรังสี เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุโคบอลต์-๖๐ หรือเกิดจากการที่อนุภาคบีตาพุ่งชนอะตอมของธาตุ ใช้ประโยชน์ในการแพทย์รักษาโรคมะเร็งและในการเกษตร.
(ขฺลัง) ว. มีกำลังหรืออำนาจที่อาจบันดาลให้เป็นไปได้, มีอำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่เชื่อกันว่า อาจบันดาลให้สำเร็จได้ดังประสงค์.
สิ่งที่มีอำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่เชื่อกันว่าอาจบันดาลให้สำเร็จได้ดังประสงค์, ของขลัง ก็ว่า.
น. สิ่งที่มีอำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่เชื่อกันว่าอาจบันดาลให้สำเร็จได้ดังประสงค์, ของ ก็ว่า.
น. คณะบุคคลที่มีอำนาจหน้าที่และรับผิดชอบร่วมกันในการปกครองอำเภอ ปัจจุบันได้ถูกยุบเลิกไปแล้ว โดยโอนอำนาจและหน้าที่ไปเป็นของนายอำเภอ.
น. ผู้มีอำนาจในคณะ, ผู้ปกครองคณะ, เรียกภิกษุผู้ทำหน้าที่ในด้านการปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่ผู้ช่วยเจ้าอาวาสขึ้นไป ว่า พระคณาธิการ.
น. ผู้ที่มียศหรือมีอำนาจ เช่น งานนี้เขาเชิญแต่คนใหญ่คนโต.
ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการคมนาคม การขนส่ง การพาณิชยนาวี การสื่อสาร และการอุตุนิยมวิทยา.
ก. มีอำนาจเหนือ บังคับให้เป็นไปตาม เช่น กิเลสครอบงำ.
น. ความผิดอาญาที่ยอมความกันไม่ได้ และพนักงานสอบสวนมีอำนาจสอบสวนดำเนินคดีได้แม้ผู้เสียหายไม่ร้องทุกข์.
ก. อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุก จึงพาลล้มกระดานเลิกเล่นกันโดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานให้กระจัดกระจายหรือเทตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานเห็นว่าจะคุมเสียงในการประชุมไม่อยู่ เลยสั่งปิดประชุมเป็นการคว่ำกระดานเสีย, ล้มกระดาน ก็ว่า.
น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ.
เกาะกุมตัวไว้ไม่ให้หนี เช่น จับผู้ร้าย, (กฎ) เกาะกุมตัวไว้โดยเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมาย, จับกุม ก็ว่า
ก. เกาะกุมตัวไว้ไม่ให้หนี เช่น จับกุมผู้ร้าย, (กฎ) เกาะกุมตัวไว้โดยเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมาย, จับ ก็ว่า.
โดยปริยายหมายความว่า ผู้ที่ได้รับยกย่องให้เป็นประธานหรือเป็นใหญ่ แต่ไม่มีอำนาจ เช่น ประธานไม่ได้เป็นเจว็ด ต้องมีสิทธิ์พิจารณาเรื่องที่เสนอได้
น. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจหน้าที่ควบคุมและตรวจตราการเดินเรือ การใช้เรือ การจอดเรือ ร่องนํ้า ทางเดินเรือ และกิจการท่าเรือ.
น. บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายหรือแต่งตั้งโดยผู้มีอำนาจตามกฎหมายให้ปฏิบัติราชการหรือให้ใช้อำนาจรัฐ.
น. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไว้ เพื่อคุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล.
น. ผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปฏิบัติงานให้แก่รัฐหรือในหน่วยงานของรัฐ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานองค์การมหาชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กฎหมายบางฉบับก็ขยายไปถึงสมาชิกสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติด้วย.
ขัดขวางผู้มีอำนาจย่อมได้รับความเดือดร้อน.
น. ผู้มีอำนาจ ในความว่า ช้างสารชนกัน หญ้าแพรกก็แหลกลาญ.
ไม่ว่าผู้มีอำนาจจะว่าอย่างใด ผู้น้อยก็ต้องคล้อยตามไปอย่างนั้นเพราะกลัวหรือประจบ.
ก. เอาอาหารเป็นต้นไปไหว้หรือสังเวยผีหรือเจ้า เช่น เซ่นผี เซ่นเจ้า, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ วัก เป็น เซ่นวัก, ใช้ว่า เซ่นวักตั๊กแตน ก็มี, (ปาก) เอาเงินทองหรือสิ่งของไปให้ผู้ที่มีอำนาจเพื่อหวังประโยชน์ เช่น งานนี้ถ้าจะให้สำเร็จต้องมีของไปเซ่นหัวหน้าเสียก่อน.
น. ลำดับตำแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามทำเนียบ เช่น พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา เป็นฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นสามัญ พระครูปลัด พระครูสมุห์ พระครูใบฎีกา เป็นฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป.
ศักดิ์ที่พระราชาคณะมีอำนาจตั้งฐานานุกรมได้.
น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม.
น. ตราที่ทำด้วยยางสำหรับประทับบนกระดาษเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจแต่ลงนามอนุมัติตามที่มีผู้อื่นเสนอมาโดยไม่ได้ตัดสินใจเอง.
ชื่อสัญญาซึ่งให้บุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ตัวแทน มีอำนาจทำการแทนบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ตัวการ และตัวแทนตกลงจะทำการนั้น
บุคคลผู้มีอำนาจทำการแทนบุคคลอื่นตามกฎหมาย.
น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี.
ก. ยกให้มีตำแหน่งสูงขึ้นแต่มักมีอำนาจน้อยลง.
ก. บังคับม้าให้ไปในทางที่ต้องการ โดยใช้มือกระตุกบังเหียนที่สวมปากม้า, โดยปริยายหมายความว่า มีอำนาจบังคับบัญชาให้เป็นไปในทางที่ต้องการ.
(ทะ-) น. ผู้รับใช้, ผู้แทนนาย, (ใช้แก่ผู้มีอำนาจ)
น. ผู้ซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจหน้าที่ว่าต่างแก้ต่างแทนคู่ความในคดี, เรียกสั้น ๆ ว่า ทนาย
น. ส่วนราชการและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่มีสภาพเป็นนิติบุคคล และมีอำนาจหน้าที่ในทางปกครอง เช่น กระทรวง ทบวง กรม เทศบาล.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ผู้มีอำนาจเต็ม (ทางการทูต)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ผู้มีอำนาจเต็ม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจมาก (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจน้อย (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การไม่มีอำนาจพิจารณาคดี[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การมีอำนาจเหนือประเทศอื่น, การมีอำนาจเหนือประเทศราช[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความเป็นใหญ่เหนือประเทศราช, การมีอำนาจเหนือประเทศราช[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจมาก (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การมีอำนาจตรากฎหมายได้เอง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กระทำโดยไม่มีอำนาจ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ศาลที่มีอำนาจพิจารณาในเขตหลายท้องที่, ศาลเคลื่อนที่[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การมีอำนาจบังคับให้พยานให้การ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผู้เข้าจัดการมรดกโดยไม่มีอำนาจ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ถิ่นที่ศาลมีอำนาจพิจารณาคดี, ประเทศที่ศาลมีอำนาจพิจารณาคดี (ก. ธรรมนูญศาล)๒. ที่ประชุมสาธารณะ (ก. ปกครอง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การจับกุมโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผู้เข้าจัดการมรดกโดยไม่มีอำนาจ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การมีอำนาจแต่ผู้เดียว, อำนาจสิทธิ์ขาดจำเพาะ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ขาดความสามารถ (ก. แพ่ง)๒. ไม่มีอำนาจหน้าที่ (ก. ปกครอง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผู้ที่ได้รับเลือกสรร (โดยผู้มีอำนาจ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ไม่มีผู้ใดมีอำนาจตัดสินคดีของตนเอง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ไม่มีอำนาจ, ไม่ได้รับมอบอำนาจ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีมีอำนาจน้อย (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
กลุ่มอาการทางไขกระดูก, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ)[นิวเคลียร์]
กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ)[นิวเคลียร์]
กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ)[นิวเคลียร์]
รังสีเอกซ์, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438[นิวเคลียร์]
รังสีเรินต์เก็น, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438[นิวเคลียร์]
กลุ่มอาการป่วยจากรังสี, กลุ่มอาการที่ปรากฏเมื่อมนุษย์ได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ มี 3 กลุ่มอาการขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ได้แก่ กลุ่มอาการทางไขกระดูกหรือกลุ่มอาการทางระบบเลือด กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ทุกกลุ่ม จะแสดงอาการเป็น 3 ระยะ คือ <br>-ระยะเริ่มต้น (prodromal stage) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย</br> <br>-ระยะแอบแฝง (latent stage) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ</br> <br>-ระยะแสดงอาการที่แท้จริง (manifest illness stage) มีอาการที่แสดงถึงความเสียหายของอวัยวะ</br> <br>(ดู bone marrow syndrome, cerebrovascular syndrome และ gastrointestinal syndrome ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
นิวทริโน, อนุภาคมูลฐานที่มีมวลน้อยมาก ไม่มีประจุไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูง และมีปฏิสัมพันธ์กับสสารน้อย ทำให้ตรวจหาได้ยาก พบได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์หลายชนิด เช่น การสลายแบบให้อนุภาคบีตา รวมทั้งอนุภาคจากดวงอาทิตย์ที่ผ่านมายังโลกExample: [นิวเคลียร์]
กลุ่มอาการทางระบบเลือด, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่าง กายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ)[นิวเคลียร์]
กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามExample:คำที่มักเขียนผิด คือ กฏหมาย[คำที่มักเขียนผิด]
กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 10 เกรย์ขึ้นไป มีอาการท้องร่วง คลื่นไส้ และอาเจียนอย่างรุนแรง และจะเสียชีวิตภายใน 2 สัปดาห์[นิวเคลียร์]
แต่งตั้งให้ไปประจำ หมายถึง การแต่งตั้งมอบหมายให้หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไปประจำยังประเทศอื่น และมีอำนาจดูแลประเทศนั้นหรือเขตอาณาต่าง ๆ ซึ่งในกรณีนี้เรียกว่า Accredited Ambassador[การทูต]
เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว[การทูต]
เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว[การทูต]
ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ[การทูต]
คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว?[การทูต]
กรรมสารสุดท้าย คือคำแถลงหรือคำสรุปอย่างเป็นทางการจากเรื่องราวการ ประชุม คำแถลงนี้จะระบุสนธิสัญญาและอนุสัญญาที่ได้มีการลงนามกันอันเป็นผลจากการ ประชุม และในบางกรณีจะผนวกความเห็นหรือข้อเสนอแนะหรือความปรารถนาจากที่ประชุมไว้ ด้วย ผู้แทนที่มีอำนาจเต็มเท่านั้นจะเป็นผู้ลงนามในกรรมสารสุดท้าย ในตอนสุดท้ายของการประชุม[การทูต]
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่[การทูต]
บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ?[การทูต]
ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment[การทูต]
คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย[การทูต]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น[การทูต]
นิติกรณ์ " กระบวนการรับรองความถูกต้อง คำแปลหรือลายมือชื่อผู้มีอำนาจ ลงนามในเอกสาร โดยเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ สถานทูต สถานกงสุล หรือหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้ได้รับการยอมรับและสามารถนำไปใช้ได้ในทางการระหว่างประเทศ "[การทูต]
นิติกรณ์ กระบวนการรับรองความถูกต้อง คำแปลหรือลายมือชื่อผู้มีอำนาจลงนามในเอกสาร โดยเจ้าหน้าที่กระทรวงการต่างประเทศ สถานฑูต สถานกงสุล หรือหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้ได้รับการยอมรับและสามารถนำไปใช้ได้ในทางการระหว่างประเทศ[การทูต]
ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง[การทูต]
คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม[การทูต]
หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า[การทูต]
คือสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสมัชชาตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ตามที่องค์การต้องการหน้าที่สำคัญของเลขาธิการสหประชา ชาติ คือ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การ นำเรื่องใดก็ตามเสนอต่อคณะมนตรีความมั่นคง ซี่งตามทรรศนะของเลขาธิการเห็นว่าเป็นภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคง ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ทำรายงานประจำปี และรายงานเพิ่มเติมใด ๆ ที่จำเป็นเสนอต่อสมัชชาสหประชาชาติ เกี่ยวกับงานขององค์การ สหประชาชาติคณะเจ้าหน้าที่ที่ทำงานช่วยเหลือเลขาธิการนั้น ถือเป็นเจ้าหน้าที่ระหว่างประเทศ ประกอบด้วยชนชาติต่าง ๆ ในการเกณฑ์เจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าทำงานกับสหประชาชาติ จะคัดแต่ผู้ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถ และความซื่อสัตย์ในระดับสูงสุด และคำนึงถึงเขตภูมิศาสตร์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการทำงานตามหน้าที่ ทั้งตัวเลขาธิการและคณะเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมงาน จะต้องไม่แสวงหรือรับคำสั่งจากรัฐบาลใด ๆ หรือจากผู้มีอำนาจหน้าที่อื่นใดที่อยู่นอกเหนือองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกัน สมาชิกของสหประชาชาติได้ตกลงยอมรับนับถือความรับผิดชอบที่มีลักษณะระหว่าง ประเทศของสำนักเลขาธิการ และจักไม่แสวงใช้อิทธิพลใด ๆ ต่อสำนักเลขาธิการ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบเหล่านั้น[การทูต]
อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1961 สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้ตกลงให้จัดการประชุมระหว่างผู้แทนผู้มีอำนาจเต็ม จากประเทศสมาชิก เพื่อทำหน้าที่พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล และได้ประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อต้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1963 ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม ถึงวันที่ 22 เมษายน มีประเทศสมาชิกเข้าร่วมประชุม เป็นจำนวน 92 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ส่วนประเทศโบลิเวีย กัวเตมาลา ปละปารากวัย ได้เข้าร่วมประชุมด้วยในฐานะผู้สังเกตการณ์ (Observers)มีข้อน่าสังเกตว่า ในข้อ 73 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างอนุสัญญานี้ว่า จะไม่มีผลกระทบต่อความตกลงระหว่างประเทศอื่น ๆ ที่ใช้บังคับระหว่างรัฐภาคีแห่งความตกลงดังกล่าว และไม่มีข้อความใดในอนุสัญญานี้ที่จะตัดหนทางของรัฐในการทำความตกลงระหว่าง ประเทศ เพื่อยืนยันหรือเติมต่อหรือยืดขยายบทแห่งอนุสัญญานี้ออกไปอีก[การทูต]
อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1959 ให้จัดการประชุมระหว่างผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากประเทศสมาชิก เพื่อพิจารณาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการติดต่อและการคุ้มกันทางการทูต และได้เริ่มต้นประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม ถึงวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1961 มีรัฐบาลของประเทศสมาชิกส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมร่วมด้วย 81 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทยด้วย อนุสัญญาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1964[การทูต]
อำนาจความรับผิดชอบ, อำนาจ, ผู้มีอำนาจ[การแพทย์]
สารที่สามารถเรียกเม็ดเลือดขาว, สารเคมีที่มีอำนาจดึงดูดได้, คุณสมบัติเป็นสารคีโมแทคติค[การแพทย์]
การเลื่อนตำแหน่งไปในที่ไม่มีอำนาจสั่งการ[การแพทย์]
สารที่มีอำนาจแม่เหล็ก[การแพทย์]
รังสีแกมมา, รังสีชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีความยาวคลื่นสั้นมาก มีอำนาจในการผ่านทะลุสูงกว่ารังสีแอลฟาและรังสีบีตา[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รังสีบีตา, รังสีชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี ธาตุกัมมันตรังสีบางธาตุแผ่รังสีบีตาที่เป็นอิเล็กตรอน แต่ธาตุกัมมันตรังสีบางธาตุแผ่รังสีบีตาที่เป็นโพซิตรอน มีอำนาจการทะลุผ่านสูงกว่ารังสีแอลฟา[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รังสีแอลฟา, รังสีชนิดหนึ่งแผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี  เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวก คือ เป็นนิวเคลียสของ อะตอมของธาตุฮีเลียม ประกอบด้วย 2 โปรตอน และ 2 นิวตรอน มีอำนาจทะลุผ่านน้อยมาก[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ความรู้สึกว่าตัวเองมีอำนาจหรือมีความสำคัญ[การแพทย์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เป็นงานของฉัน ท่านผู้มีอำนาจ ท่านไม่เคยมีเพื่อน ไม่เคยมีเพื่อนAladdin (1992)
เมื่อข้าได้เป็นราชินี ข้าจะมีอำนาจพอที่จะเล่นงานเจ้าAladdin (1992)
คุณสนุกกับการมีอำนาจควบคุมBasic Instinct (1992)
แต่ข้างในตัวเธอ ผมเชื่อว่า... ...เธอโอนเอนอยู่ระหว่าง ความรู้สึกในการมีอำนาจเหมือนพระเจ้า... ...และสัมผัส ที่เธอไม่มีตัวตน...Basic Instinct (1992)
ฆาตรกรที่มีอำนาจสุดเซ็กซี่ กับสัญญาของสำนักพิมพ์แรนดอมเฮ้าส์Basic Instinct (1992)
ผมกำลังศึกษาเกี่ยวกับมัน "การติดความเสี่ยงภัยและการมีอำนาจ"Basic Instinct (1992)
มันเป็นแค่นิยาย คุณหมอ หรือ บางที ฉันเป็นผู้มีอำนาจจริงๆBasic Instinct (1992)
หนังสือนี่ทำมาจากหนังมนุษย์... ประกอบไปด้วยการปรุงยาที่มีอำนาจมากและคถาของซาตาน."Hocus Pocus (1993)
วิสามัญผู้มีอำนาจค่อนข้าง ในระบอบประชาธิปไตยIn the Name of the Father (1993)
แม่ไม่รู้ว่าแม่มีอำนาจเหนือตัวหนูขนาดไหนThe Joy Luck Club (1993)
เรามีอำนาจฆ่า... เขาถึงกลัวSchindler's List (1993)
ไม่ใช่... เรามีอำนาจที่จะฆ่าSchindler's List (1993)
พวกนี้มีอำนาจเหมือนเชื้อโรคSchindler's List (1993)
ผมไม่มีอำนาจเข้าไปก้าวก่ายที่นี่ ขนาดฟาร์เบ็น ผมยังช่วยไม่ได้Schindler's List (1993)
- ใคร ? ฉันไม่เข้าใจ - ใครบางคนที่มีอำนาจเหนือกว่าDeep Throat (1993)
เพื่อมีอำนาจเหนือตระกูลอื่นทั้งหมด และเพื่อเจ้าทั้งสองเองยังมีนี่อีกRapa Nui (1994)
และมีอำนาจมากกว่าจักรวาลIn the Mouth of Madness (1994)
คุณไม่เข้าใจ ควินน์มีอำนาจมากนะAce Ventura: When Nature Calls (1995)
นี่ลาสเวกัส คุณไม่มีอำนาจที่นี่Heat (1995)
ในอนาคตทุกคนจะโหยหา รัฐบาลที่มีอำนาจเด็ดขาดThe Great Dictator (1940)
คุณมีอำนาจ ที่จะสร้างแรงผลักดัน อำนาจที่จะสร้างความสุขThe Great Dictator (1940)
คุณมีอำนาจที่จะทำให้ ชีวิตมีอิสระและสวยงาม ที่จะทำให้ชีวิตนี้ มีเรื่องเล่าที่ยอดเยี่ยมThe Great Dictator (1940)
ในชื่อของประชาธิปไตย ทุกคนจะมีอำนาจThe Great Dictator (1940)
ที่เป็นผู้สูงศักดิ์ มีอำนาจในแคมป์Night and Fog (1956)
เมื่อความเร้นลับมันมีอำนาจล้นเหลือ คนเราย่อมไม่กล้าลบหลู่The Little Prince (1974)
ผู้ที่แสดงเป็นผู้มีอำนาจSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
และแน่นอนที่สุดครับ ทุกคนนั้นมีอำนาจ เก่งกาจ ทุกคนศักดิ์สิทธิ์กันทั้งนั้น ดวงวิญญาณผู้ยิ่งใหญ่Oh, God! (1977)
เขาเป็นเจ้านาย หัวหน้า ผู้ มีอำนาจAirplane! (1980)
พวกเรามีวงมีอำนาจเพียงพอฉี่แพะเป็นน้ำมันThe Blues Brothers (1980)
พวกเขาไม่เห็นว่าจะต้อง ภักดีต่อคนรวยและมีอำนาจ ผู้หวังสืบทอดบทบาทจากพวกอังกฤษ โดยอ้างเสรีภาพGandhi (1982)
อังกฤษ มีอำนาจมากGandhi (1982)
แล้วจะทำให้ไวซ์รอยคนใหม่เห็นว่า อังกฤษไม่มีอำนาจในอินเดียอีกแล้วGandhi (1982)
มันทำให้เขามีอำนาจ และเสรีภาพในการพูดGandhi (1982)
มีไฟไม่มีไม่มีอำนาจ2010: The Year We Make Contact (1984)
ที่ขณะนี้มีมหาราชาใหม่ และอีกครั้งในวังมีอำนาจของความมืดแสงIndiana Jones and the Temple of Doom (1984)
ดังนั้นคุณผู้มีอำนาจในพื้นที่ที่?Indiana Jones and the Temple of Doom (1984)
"นายจะขอบใจฉัน..." นั่นไง ถนน Dushanbe ที่เราจะได้รับการติดต่อครั้งต่อไป เรามีอำนาจดำเนินการเต็มที่ ตราบเท่าที่ประธานาธิบดีเห็นชอบSpies Like Us (1985)
หูย หนูที่รวยที่สุด มีอำนาจที่สุดในเมืองAn American Tail (1986)
เจ้าไม่มีอำนาจเหนือข้าLabyrinth (1986)
เจ้าไม่มีอำนาจเหนือข้าLabyrinth (1986)
เจ้าไม่มีอำนาจเหนือข้าLabyrinth (1986)
เด็กที่มีอำนาจ อำนาจไหนLabyrinth (1986)
- คุณมีอำนาจเหนือมันได้ เหนือสิ่งที่เป็นไม่ได้Gattaca (1997)
ปืนนี่มีอำนาจการยิงสูงมากเลยนะThe Jackal (1997)
มันเป็นแรงเฉื่อยของชีวิต พุ่งไปข้างหน้า ฉันไม่มีอำนาจหยุดมันไว้Titanic (1997)
สวีนีย์ เป็นนิโกรนะ / ทำตัวมีอำนาจAmerican History X (1998)
แต่แทนที่จะเป็นแบบนั้น / เขาทำร้ายร่างกายตำรวจ... แล้ว จากนั้น / มันก็มีอำนาจข้ามอเมริกา... แล้วเรื่องทั้งหมดนี่ / เรื่องของไอหน้าตัวเมียนี่American History X (1998)
มีทางเดียว ที่ข้าจะมีอำนาจApril Story (1998)
เธอมีอำนาจประหลาด.Ringu (1998)
คุซาโนะ ฉันขอโทษ ฉันไม่ได้มีอำนาจใด ๆGTO (1999)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[mī amnāt] (adj) EN: powerful ; masterful  FR: puissant
[mī amnāt māk] (adj) EN: powerful
[phū mī amnāt] (n, exp) EN: powerful person ; boss ; authorities
[phū mī amnāt] (n, exp) EN: authoritarian ; autocrat ; despot ; tyrant ; dictator
[phū mī amnāt tām kotmāi] (n, exp) EN: person in authority
[phū mī amnā tem] (n, exp) EN: plenipotentiary  FR: personne qui a pleins pouvoirs [ f ]
[phūthaēn phū mī amnāt] (n, exp) EN: authorized representative
[seung mī amnāt sanapsanun] (adj) EN: authoritative
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(adv)ที่มีอำนาจมากกว่า
(adj)ซึ่งมีอำนาจไม่จำกัดSyn.all-powerful
(n)ผู้ที่มีอิทธิพลSee Also:ผู้ที่มีอำนาจ
(adj)ซึ่งมีอำนาจสนับสนุนSee Also:ซึ่งแสดงถึงอำนาจSyn.well-supported
(n)ผู้มีอำนาจเด็ดขาดSee Also:ผู้ปกครองที่มีอำนาจเด็ดขาดSyn.dictator, despot, absolute ruler
(adj)ที่มีอำนาจเด็ดขาดSyn.dictatorial, tyrannical, authoritarian
(n)ห้องประชุมผู้มีอำนาจเบื้องหลัง
(n)บุคคลที่มีอำนาจSyn.tycoon
(adj)มีพลังมากSee Also:ทรงพลัง, มีอำนาจสูง
(n)ตำแหน่งบาทหลวงที่มีอำนาจปกครองบาทหลวงอื่นๆSee Also:แต่มีชั้นต่ำกว่า archbishop ซึ่งเป็นตำแหน่งบาทหลวงสูงสุดSyn.prelate
(idm)ยังคงเป็นผู้นำSee Also:ยังมีอำนาจ, ยังคงควบคุบSyn.stay on
(idm)ทำให้กลายเป็นผู้นำหรือมีอิทธิพลSee Also:ทำให้มีอำนาจSyn.come to
(adj)มีอำนาจสูงสุดSyn.foremost, highest
(n)สิ่งที่ใหญ่โตหรือมีอำนาจมากSee Also:สิ่งที่มีความสำคัญมาก
(vi)ควบคุมSee Also:มีอำนาจเหนือSyn.order, direct, decree, bid, rule, govern
(adj)ที่มีอำนาจกดดัน
(phrv)มีอำนาจเหนือSee Also:มีอิทธิพลเหนือ, ควบคุมSyn.domineer over
(phrv)มีอำนาจเหนือSee Also:มีอิทธิพลเหนือ, ควบคุมSyn.dominate over
(vt)ถ่ายโอนอำนาจไปยังคนที่มีอำนาจน้อยกว่าSee Also:ถ่ายโอนความรับผิดชอบไปยังคนที่มีความรับผิดชอบน้อยกว่าSyn.commit, entrust, offer a post
(adj)ที่มีอำนาจครอบครองSee Also:ที่มีอำนาจเหนือกว่า
(n)การมีอำนาจเหนือกว่า
(vt)ให้อำนาจSee Also:ทำให้มีอำนาจSyn.authorize, grant, permit
(n)คนที่ไม่มีอำนาจ (คำไม่เป็นทางการ)See Also:คนที่ไม่มีคามสามารถ
(n)มัดไม้ที่หุ้มขวานที่มีใบขวานโผล่ออกมาSee Also:สัญลักษณ์การมีอำนาจของผู้ปกครองชั้นสูงของกรุงโรมโบราณ
(n)หัวหน้าแต่ในนาม (แต่ไม่ได้มีอำนาจแท้จริง)See Also:หุ่นเชิดที่ไร้อำนาจSyn.dummy
(n)คนหรือสิ่งที่มีอำนาจหรืออิทธิพล
(phrv)มีอำนาจเหนือ
(phrv)แจ้ง (ตำรวจหรือผู้มีอำนาจ) ให้ทราบSee Also:รายงานให้รู้Syn.grass on, peach on, rat on, shit on, tell of, tell on
(phrv)แจ้ง (ตำรวจหรือผู้มีอำนาจ) ให้ทราบSee Also:รายงานให้รู้Syn.inform against
(n)คนหรือสิ่งที่มีอำนาจมากSee Also:ผู้มีร่างกายใหญ่โตมากSyn.giant, jumbo
(n)นกเทพยดาที่เชื่อว่ามีอำนาจทำให้ทะเลและคลื่นสงบได้
(n)ความมีอำนาจ (คำทางการ)See Also:ความมีอิทธิพลเหนือกว่า
(adj)ยิ่งใหญ่มากSee Also:ซึ่งมีอำนาจสูงสุดSyn.supreme
(adv)โดยมีอำนาจดูแลแทนพ่อแม่ (คำทางการ)See Also:โดยอำนาจของผู้ปกครองSyn.by delegated authority
(adj)ซึ่งมีอิทธิพลต่อSee Also:ซึ่งมีอำนาจชี้ขาดSyn.authoritative, powerful, significantAnt.unpersuasive, unconvincing
(n)ผู้มีอิทธิพลSee Also:ผู้มีอำนาจ
Hope Dictionary
(แอดไว' ซะรี) adj., n. ซึ่งแนะนำ, มีอำนาจหรือหน้าที่แนะนำ, รายงานSyn.giving
(แอลแคล' ดี) n., (pl. -des) นายกเทศมนตรีที่มีอำนาจพิจารณาคดี.Syn.alcade
(ออลไม' ที) adj. ซึ่งมีอำนาจทุกอย่าง, ซึ่งมีความสามารถทุกอย่าง, ซึ่งมีอำนาจหรืออิทธิพลมาก, น่ากลัว, สุดขีด. -n. -Almighty พระ-เจ้า -almightiness n.Syn.all-powerful
(อะเพล'เลท) adj. เกี่ยวกับการอุทธรณ์, ซึ่งมีอำนาจพิจารณารับการอุทธรณ์
(อะเซน'เดินซี) n. ภาวะขึ้นครองตำแหน่ง, ภาวะมีอำนาจ.Syn.ascendency, ascendance, ascendence
(อะเซน'เดินทฺ) n. ตำแหน่งที่ครอง, อิทธิพล, อำนาจ, บรรพบุรุษ. -adj. รุ่งเรือง, มีอำนาจ, ฐานะได้เปรียบ, ก้าวหน้า, มีอิทธิพลเหนือ
(อะเซน'เดินทฺ) n. ตำแหน่งที่ครอง, อิทธิพล, อำนาจ, บรรพบุรุษ. -adj. รุ่งเรือง, มีอำนาจ, ฐานะได้เปรียบ, ก้าวหน้า, มีอิทธิพลเหนือ
(ออธอ'ริเททิฟว) adj. ซึ่งมีอำนาจ, เชื่อถือได้, มีหลักฐานพิสูจน์ได้, เผด็จการ
(ออธอ'ริที) n. เจ้าหน้าที่, อำนาจ (ในหน้าที่ตำแหน่ง) , ผู้มีอำนาจ, ผู้เป็นต้นตำรับ, ทางราชการ, แหล่งข้อมูลหรือคำแนะนำที่เชื่อถือได้, ความเชื่อถือได้, ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง, อำนาจทางนิตินัย, อำนาจการเป็นตัวแทน, ความเชี่ยวชาญ, พยาน, การให้การ (คำที่มีความหมายเหมือนก
(ออทอค'คระซี) n. อัตตาธิปไตย, เอกาธิปไตย, ผู้มีอำนาจเด็ดขาด, การปกครองโดยผู้มีอำนาจเด็ดขาด, ราชาธิปไตยแบบกษัตริย์ที่มีอำนาจเด็ดขาด, ระบบเผด็จการ. autocratic (al) adj.
ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
(ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
n. สิ่งที่ใหญ่โต มหึมาหรือมีอำนาจมาก
(คะมานดฺ') { commanded, commanding, commands } v. บัญชา, สั่ง, สั่งการ, ควบคุม, มีอำนาจเหนือ, ควรได้รับ -n. การออกคำสั่ง, คำสั่ง, อำนาจสั่ง, ตำแหน่งบัญชาการ, คนในบังคับบัญชา, อักษรหรือสัญลักษณ์ที่ใช้สั่งเครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานSyn.order
(คันเคอ'เรินทฺ) adj. ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันหรือร่วมกัน, พร้อมเพรียง, ซึ่งเห็นด้วย, ซึ่งมีอำนาจเท่ากัน, ซึ่งมีจุดร่วม, ซึ่งตัดกันที่จุดเดียวกัน. n. ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน, สิ่งสนับสนุน, คู่แข่งSyn.coexistent, compatible
(คันโทรล') { controlled, controlling, controls } vt., n. (การ) ควบคุม, มีอำนาจเหนือ, บังคับ, บังคับบัญชา, ยับยั้งSee Also:controllability n. ดูcontrol controllableness n. ดูcontrolSyn.hold, rule, restraint
(เคราน์) n. มงกุฎ, มาลัย, มาลัยสวมศีรษะ, เครื่องประดับสำหรับศีรษะ, เกียรติยศจากผลงานที่ดีเด่น, -Phr. (the Crown ผู้มีอำนาจสูงสุด) , รัฐาธิปัตย์, เหรียญเงินตราที่มีรูปมงกุฎ, กษัตริย์, เหรียญเงินของอังกฤษสมัยก่อนที่เท่ากับ 5 ชิลลิงส์, ส่วนที่โผล่ขึ้นมา, สิ่งประดับบนยอด
(ดี'ละชิพ) n. อำนาจในการขาย, ตัวแทนจำหน่ายที่มีอำนาจดังกล่าว
(ดิครี'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับหรือมีอำนาจออกคำสั่ง.
(เดม'มะกอก) n. ผู้ที่มีอำนาจหรือชื่อเสียงจากการปลุกปั่นประชาชน, ผู้นำฝูงชน vi. ปลุกปั่น, ล่อหลอกSee Also:demagoguery n. ดูdemagog
(เดม'มะกอก) n. ผู้ที่มีอำนาจหรือชื่อเสียงจากการปลุกปั่นประชาชน, ผู้นำฝูงชน vi. ปลุกปั่น, ล่อหลอกSee Also:demagoguery n. ดูdemagog
(ดิสพอท'ทิค) adj. ซึ่งกดขี่, เผด็จการ, ซึ่งมีอำนาจเด็ดขาด, ตามอำเภอใจSee Also:despoticness n. ดูdespotic despotism n. ดูdespotic
(ดอม'มะเนินซฺ) n. การปกครอง, การมีอำนาจเหนือ, การครอบงำ, ภาวะที่ถูกครอบงำ.See Also:dominancy n. ดูdominanceSyn.command, power, rule, authority
(ดอม'มะเนินทฺ) adj. ซึ่งครอบงำ, มีอำนาจเหนือ, ซึ่งเป็นส่วนสำคัญ, ซึ่งมีบทบาทสำคัญ, ซึ่งปกครอง, เด่น n. ตัวสำคัญSyn.superior, major
(ดอม'มะเนท) vt., vi. ครอบงำ, มีอำนาจเหนือ, มีอิทธิพลเหนือ, ปกครอง, อยู่เหนือ.See Also:dominatingly adv. ดูdominate dominator n. ดูdominate
(ดอมมะเน'เชิน) n. การครอบงำ, การมีอำนาจเหนือ, การมีอิทธิพลเหนือ, การปกครอง, การควบคุมSyn.jurisdiction
(ดวอร์ฟ) n. คนแคระ, สัตว์หรือพืชที่เตี้ยแคระ, เทวดาเตี้ยมีอัปลักษณ์และมีอำนาจมาก (ในนิทาน) . -adj. แคระ. vt. ทำให้แคระ, ทำให้แกร็น.vi. เตี้ยเล็กลง, แกร็น.See Also:dwarfishly adv. ดูdwarf dwarfishness n. ดูdwarf
(เฟท'ทิช) เครื่องราง, สิ่งที่เชื่อว่ามีอำนาจเวทมนตร์, สิ่งที่นับถือทางไสยศาสตร์.Syn.fetich, talisman, amulet
n. หัวหน้าในนาม (ไม่มีอำนาจ) , รูปแกะสลักของเรือ
(ฟอร์ซฺ'ฟูล) adj. มีอำนาจ, มีพลัง, เข้มแข็ง, แข็งขัน, เด็ดเดี่ยว, โน้มใจ.See Also:forcefuly adv. forcefuness n.Syn.vigorous
(ฟอร์'มิดะเบิล) adj. น่ากลัว, ยาก, ลำบาก, ซึ่งเอาชนะยาก, เหนือกว่ามาก, ใหญ่โต, มีอำนาจมาก, มีกำลังมาก.See Also:formidableness, formidability n. formidably adv.Syn.awesome
(แฮล'เซียน) n. นกเทพยดาที่เชื่อว่ามีอำนาจทำให้ทะเลและคลื่นสงบได้
(ฮิล) n. เนินเขา, ภูเขาลูกเล็ก ๆ , เขาเตี้ย ๆ -Phr. (over the hill ผ่านพ้นสมัยรุ่งเรืองหรือสมัยมีอำนาจ) . vt. ล้อมรอบเนินเขา, กลายเป็นเนิน
(อิมพอร์' เทินทฺ) adj. สำคัญ, มีความหมาย, เด่น, โอหัง, ยะโส, มีอิทธิพลมาก, มีอำนาจมาก, มีฐานะสูง, ใหญ่โต, มากมาย.See Also:importantly adv.Syn.subtantial, serious
(อิน'ฟลูเอินซฺ) n. อิทธิพล, อำนาจชักจูง, สิ่งชักจูง, ผู้มีอิทธิพลโน้มน้าว. vt. มีอิทธิพลต่อ, มีอำนาจโน้มน้าว.See Also:influenceable adj. influencer n.Syn.control, power
(อินฟลูเอน'เชิล) adj. มีอิทธิพล, มีอำนาจชักจูง, มีผลสะท้อน.Syn.weighty
(อิน'นิง) n. สมัยมีอำนาจ, ตาทำแต้มในการแข่งขัน, โอกาส.See Also:innings ตาลีลูกคริดเก๊ต, การเรียกคืนที่ดินที่เป็นหนองหรือน้ำท่วม
(จูวะเนส'ซันทฺ) adj. เยาว์, อ่อนวัย, เป็นหนุ่มเป็นสาว, ซึ่งมีอำนาจทำให้เป็นหนุ่มเป็นสาวหรืออ่อนวัย.See Also:juvenescence n.
(ลิไว'อะเธิน) n. สัตว์ทะเลขนาดใหญ่เช่นปลาวาฬ, สิ่งใหญ่โตที่มีอำนาจมาก (เช่น เรือเดินสมุทร)Syn.giant
(ไลว) adj. มีชีวิต, เกี่ยวกับชีวิต, มีสิ่งมีชีวิต, เต็มไปด้วยพลัง, ขะมักเขม้น, มีชีวิตชีวา, ทันสมัย, สด, กำลังเล่น, ขับเคลื่อน, มีอำนาจ, ยังคงใช้กันอยู่, ประกอบด้วยผู้คนจริง ๆ adv. (รายการ) สด.See Also:liveness n. ดูlive
(ลอร์ด) n. เจ้าศักดินา, ขุนนาง, เจ้าของที่ดิน, ท่านลอร์ด, สมาชิกสภาขุนนาง, ผู้นำในการค้า, เจ้านาย, เจ้าเหนือหัว, พระผู้เป็นเจ้า, พระเยซูคริสต์, ดาวนพเคราะห์ที่มีอิทธิพลครอบงำ. -interj. คำอุทานแสดงความประหลาดใจ. vi. มีอำนาจหรืออิทธิพล, ตั้งตัวเป็นเจ้าเหนือหัว
(ลินชฺ) vt. แขวนคอหรือประหารชีวิตโดยศาลเตี้ยจากกลุ่มคนที่ไม่มีอำนาจ ทางกฎหมาย.See Also:lyncher n. ดูlynch
(มะเจส'ทิค) adj. สง่าผ่าเผย, สูงส่ง, ตระหง่าน, มีอำนาจ, น่าเกรงขามและน่าเคารพนับถือ, ใหญ่โตSee Also:majestically adv.Syn.grand, splendid
(แมจ'เจสที) n. ความสง่าผ่าเผย, ความมีอำนาจ, ความใหญ่โต, อำนาจสูงสุด, ความศักดิ์สิทธิ์, พระเจ้าแผ่นดิน, ในหลวง, คำยกย่องที่ใช้เรียกพระเจ้าแผ่นดินSyn.grandeur, sovereignty
(มาส'เทอะ, แมส'เทอะ) n. นาย, เจ้านาย, นายจ้าง, กัปตันเรือสินค้า, กัปตันเรือ, ผู้บังคับการ, หัวหน้าครอบครัว, เจ้าบ้าน, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีชัย, ผู้มีอำนาจ, คนเก่ง, ผู้ช่วยผู้พิพากษา, มหาบัณฑิต, ผู้สำเร็จปริญญาโท adj. เป็นนาย, เป็นหัวหน้า, เป็นผู้นำ, เกี่ยวกับการควบคุม, เกี่ยวกับการนำ, วางอำนาจ, ใหญ่ยิ่ง, เชี่ยวชาญ
(มาส'เทอะฟูล) adj. มีความเป็นนาย, มีอำนาจ, วางอำนาจ, ครอบงำ, เชี่ยวชาญ, เก่ง.See Also:masterfully adv. masterfulness n.
(มาส'เทอะชิพ) n. ความเป็นนาย, ความมีอำนาจ, การควบคุม, การบังคับบัญชา, ความสามารถ, ความรอบรู้, ความเก่ง
(ไมทฺ) n. อำนาจ, ความสามารถ, ประสิทธิภาพ, กำลังกาย, แรง, อำนาจหรือกำลังที่เหนือกว่า -Phr. (with might and main มีอำนาจเต็มที่) v. อดีตกาลของ may-
(โม'เกิล, โมเกิล') n. ชาวมองโกลผู้พิชิตอินเดียที่ตั้งอาณาจักรขึ้นในสมัย ค.ศ.1526-1857, ผู้สืบเชื้อสายชาวมองโกลดังกล่าว, ชาวมองโกล, บุคคลที่สำคัญมีอำนาจหรือมีอิทธิพล
n. บิดา, สามี, ผู้มีอำนาจ, หัวหน้า, กัปตันหรือ
Nontri Dictionary
(adj)ยิ่งใหญ่, มีอานุภาพ, มีอำนาจมาก, มีอิทธิพล
(vi, vt)ขึ้นไป, มีอำนาจ, เฟื่องฟู
(adj)สูงขึ้น, เฟื่องฟู, รุ่งเรือง, มีอำนาจ, มีอิทธิพลเหนือ
(adj)เผด็จการ, มีอำนาจ
(n)ผู้มีอำนาจเด็ดขาด
(adj)เผด็จการ, มีอำนาจเด็ดขาด
(n)ผู้มีอิทธิพล, ผู้มีอำนาจ, บุคคลสำคัญ
(vt)ควบคุม, บังคับบัญชา, บังคับ, บงการ, มีอำนาจเหนือ
(n)การครอบงำ, ความมีอำนาจเหนือ, การปกครอง, ความเด่น
(adj)ซึ่งมีอำนาจเหนือ, ซึ่งมีบทบาทสำคัญ, เด่น, มีอิทธิพลต่อ
(vt)ครอบครอง, ปกครอง, ครอบงำ, มีอำนาจเหนือ, อยู่เหนือ
(n)โอกาส, ช่วงที่มีวาสนา, คราว, สมัยที่มีอำนาจ
(n)ขุนนาง, ผู้มีอำนาจเหนือ, เจ้าของคฤหาสน์, เจ้าของที่ดิน
(vt)บังคับบัญชา, ปกครอง, มีอำนาจเหนือ, มีอิทธิพล
(adj)เป็นนาย, เก่ง, มีอำนาจ, ครอบงำ, เชี่ยวชาญ
(n)การปกครอง, ความเชี่ยวชาญ, ความเป็นนาย, ความมีอำนาจ
(adv)อย่างมีอำนาจมาก, อย่างมหึมา, อย่างพิลึก, รุนแรง, อย่างมีกำลัง
(adj)มีกำลัง, มีอำนาจ, มหึมา, พิลึกกึกกือ
(n)ผู้มีอำนาจ
(adj)มีอำนาจทุกอย่าง, สามารถทุกทาง
(vt)มีอำนาจเหนือ, มีกำลังเหนือ, ใช้กำลัง, ทำให้หมดกำลัง
(adj)ครบองค์, มีอำนาจเต็ม
(n)ทูตผู้มีอำนาจเต็ม
(n)คนที่มีอำนาจ, คนมั่งคั่ง, คนมั่งมี
(adj)มีอำนาจ, มีกำลัง, มีพลัง, แข็งแรง, สามารถ
(n)ผู้ปกครอง, ผู้มีอำนาจ, กษัตริย์
(adj)มีกำลัง, มีอำนาจ, แข็งแรง, มีอานุภาพ, มีสมรรถภาพสูง
(adj)ไร้กำลัง, ไม่มีอำนาจ, ไม่สามารถ, สิ้นท่า, หมดหนทาง
(n)ความเด่น, ความมีอำนาจเหนือกว่า
(n)ความเหนือกว่า, ความเป็นเยี่ยม, ความมีอำนาจ
(adj)มีพละกำลัง, มีแรง, มีกำลัง, มีอำนาจ
(n)คนมีอำนาจขึ้นโดยฉับพลัน, คนเห่อ, คนห่าม, คนทะลึ่ง
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n, phrase)เจ้าพนักงานผู้รับคำสาบาน, ผู้มีอำนาจจัดให้มีคำสาบาน
(n)มีอำนาจ
(adj)ทำให้มีอำนาจ, ทำให้ถูกต้องมากขึ้น, ทำให้เป็นตัวของตัวเองมากขึ้น
มีอำนาจตัดสินใจ (ในการทำบางสิ่ง)
(n)มุขยรัฐ หมายถึงรัฐผู้นำที่มีอำนาจครอบงำรัฐอื่น
(vt)มีอำนาจเหนือ, มีอิทธิพลเหนือ
(adj)มีอำนาจในการสะกดจิต
(n)คลื่นซึนามิขนาดใหญ่ ที่นักวิทยาศาสตร์คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งคลื่น mega tsunami อาจมีความสูงหลายร้อยเมตร มีอำนาจการทำลายล้างมากกว่า Tsunami หลายสิบเท่า
[over right](n, phrase)ถือสิทธิเหนือกฎความถูกต้องอื่นใด หรือมีอำนาจกระทำอย่างไดอย่างหนึงออกนอกกฎเกณฑ์ปกติ มีอิทธิพลมากกว่าเงื่อนไขใดๆที่กำหนดไว้ เมื่อแสดงสิทธินี้แล้วทุกอย่างที่เป็นข้อจำกัดจะเป็นไปตามที่ผู้ถือสิทธิต้องการ
(n)องค์อธิปัตย์ เป็นเจ้าชายซึ่งมีอำนาจปกครองราชรัฐในขอบขัณฑสีมาของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
反映
[はんえい, han'ei](n)(อิน'ฟลูเอินซฺ) n. อิทธิพล, อำนาจชักจูง, สิ่งชักจูง, ผู้มีอิทธิพลโน้มน้าว. vt. มีอิทธิพลต่อ, มีอำนาจโน้มน้าว., S. . influenceable adj. influencer n., S. control, power
Saikam JP-TH-EN Dictionary
強い
[つよい, tsuyoi] TH: มีอำนาจ
強い
[つよい, tsuyoi] EN: powerful
Longdo Approved DE-TH
(adj)|zu etwas befugt sein| มีสิทธิหรืออำนาจในการกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Ich bin nicht dazu befugt, Ihnen Aufkunft zu geben. ฉันไม่มีอำนาจในการให้ข้อมูลคุณ
(adj)ที่มีพละกำลัง, ที่มีอำนาจSee Also:kraftvollSyn.stark
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(vt)มีอำนาจเหนือ, ครอบงำ
ลันเดสแฮร์ เป็นตำแหน่งเจ้าศักดินาในยุคกลาง มีอำนาจเฉกเช่นเจ้าแผ่นดินเหนือดินแดนหนึ่ง ดินแดนนั้นอาจมีสถานะเป็นรัฐอิสระ หรือรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ได้
Longdo Unapproved FR-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
eminence grise
(jargon)ผู้มีอำนาจ อิทธิพล โดยไม่มีตำแหน่งอย่างเป็นทางการ
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ