337 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*มติ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: มติ, -มติ-
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
militia
(n)กลุ่มติดอาวุธ
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)resolutionSyn.ความเห็น, ความเห็นชอบExample:ที่ประชุมมีมติให้ใช้การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเรียงเบอร์ ซึ่งจะขจัดการใช้เงินซื้อเสียงUnit:เสียงThai Definition:ข้อวินิจฉัยญัตติที่เสนอต่อที่ประชุม, ข้อตกลงร่วมกันNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(v)voteSee Also:come to / reach the conclusion, resolveSyn.ลงความเห็นExample:ที่ประชุมก.ค. มีมติให้ตั้งคณะกรรมการพิจารณาหาแนวทางในการปรับอัตราเงินเดือนครู
(v)voteSee Also:cast one's vote, decide or determine by voteSyn.โหวต, โหวตเสียง, ลงความเห็นExample:คณะรัฐมนตรีลงมติเห็นชอบมาตรการป้องกัน และปราบปรามการลักลอบนำเข้าสินค้าเกษตร
(v)supposeSee Also:take for granted, assume, presumeSyn.สมมุติ, ตี๊ต่างAnt.ตามจริงExample:คอมพิวเตอร์ไม่ใช้คน เราจะสมมติว่ามันรู้เท่าคนไม่ได้Thai Definition:คิดเรื่องที่มิได้เป็นจริงเสมือนว่าเป็นจริง
(n)suppositionSee Also:presumption, assumptionSyn.การถือเอาว่าExample:ใบเสมาเป็นสัญลักษณ์แห่งการสมมติกำหนดเขตขัณฑสีมาThai Definition:การรู้สึกนึกเห็นอย่างต่างว่า
(n)assumptionSee Also:hypothesis, presupposition, presumptionSyn.สมมติฐานAnt.ข้อเท็จจริงExample:ข้อสมมติเกี่ยวกับมนุษย์ต่างดาวยังต้องการข้อพิสูจน์เพิ่มเติมอีกมากUnit:ข้อ, ประการThai Definition:ประเด็นที่ตั้งขึ้นโดยยังไม่มีข้อพิสูจน์
(n)referendumSee Also:public opinion, plebisciteSyn.มติมหาชนExample:ผลการหยั่งประชามติเมื่อเร็วๆ นี้สนับสนุนเธอขึ้นมาเป็นผู้นำประเทศมากถึง 75%Thai Definition:มติของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศที่แสดงออกในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือที่ใดที่หนึ่ง
(n)public opinionSyn.มติสาธารณชนExample:มติมหาชนส่งผลให้เขาได้รับตำแหน่งประธานาธิบดีThai Definition:ความคิดเห็นหรือท่าทีของประชาชนกลุ่มใหญ่ที่เห็นพ้องต้องกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
(n)hypothesisSyn.สมมุติฐานExample:ผลจากการสังเกต เขาจะนำมาสร้างสมมติฐานขึ้นUnit:ข้อ, เรื่องThai Definition: ข้อสมมุติที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหาเหตุผล การทดลอง หรือการวิจัย
(v)supposeSee Also:assumeExample:นักศึกษาต้องตั้งสมมติฐานให้สอดคล้องกันกับวัตถุประสงค์Thai Definition:คิดข้อสมมุติที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหาเหตุผล การทดลอง หรือการวิจัย
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง.
น. ชื่อพัดชนิดหนึ่งที่คลี่ได้พับได้, ด้ามจิ้ว ก็ว่า.
ก. การที่คู่ความฝ่ายที่อ้างพยานซักถามพยานอีกครั้งหนึ่ง เมื่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งถามค้านพยานเสร็จแล้ว.
น. ความที่สมมุติขึ้นในกฎหมาย.
(บุกคนนิติสมมด) น. นิติบุคคล.
น. มติของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศที่แสดงออกในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือที่ใดที่หนึ่ง. (อ. plebiscite)
มติของประชาชนที่รัฐให้สิทธิออกเสียงลงคะแนนรับรองร่างกฎหมายสำคัญที่ได้ผ่านสภานิติบัญญัติแล้ว หรือให้ตัดสินในปัญหาสำคัญในการบริหารประเทศ. (อ. referendum)
ดู การออกเสียงประชามติ ประกอบ.
(มะติ) น. ความเห็น, ความคิดเห็น, เช่น ที่ประชุมลงมติ มติของข้าพเจ้า, ความรู้
ข้อวินิจฉัยญัตติที่เสนอต่อที่ประชุม.
น. มติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด ที่ได้ลงมติด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่ต่ำกว่าสามในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน.
น. ความคิดเห็นหรือท่าทีของประชาชนกลุ่มใหญ่ที่เห็นพ้องต้องกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง.
ก. ลงความเห็นร่วมกันอย่างใดอย่างหนึ่ง.
(สมมด, สมมด, สมมดติ-, สมมุด, สมมุดติ-) ก. รู้สึกนึกเอาว่า เช่น สมมติให้ตุ๊กตาเป็นน้อง.
(สมมด, สมมด, สมมดติ-, สมมุด, สมมุดติ-) สัน. ต่างว่า, ถือเอาว่า, เช่น สมมุติว่าได้มรดกสิบล้าน จะบริจาคช่วยคนยากจน สมมุติว่าถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ จะไปเที่ยวรอบโลก.
(สมมด, สมมด, สมมดติ-, สมมุด, สมมุดติ-) ว. ที่ยอมรับตกลงกันเองโดยปริยาย โดยไม่คำนึงถึงสภาพที่แท้จริง เช่น สมมติเทพ.
(สมมดติ-, สมมุดติ-) น. ข้อคิดเห็นหรือถ้อยแถลงที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหาเหตุผล การทดลอง หรือการวิจัย.
น. เทวดาโดยสมมติ หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน.
น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางและขนาดใหญ่ชนิด Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp. ในวงศ์ Rubiaceae ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ตามลำกิ่งและระหว่างก้านใบมีหูใบรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมติดกับกิ่งทั้ง ๒ ด้าน ดอกเป็นช่อกลมสีเหลืองอ่อน หอม เนื้อไม้เหลืองหรือขาว ใช้ทำเสากระดาน และเยื่อกระดาษชนิดเลวได้, กระทุ่มบก ตะกู หรือ ตะโกส้ม ก็เรียก.
ว. มีปุ่มป่ำมาก เช่น ดูกระปุ่มกระปิ่มตุ่มติ่มเต็ม (นิ. เพชร).
น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา.
น. ปลอกแขนสีดำสำหรับสวมติดแขนเสื้อข้างซ้ายเป็นการแสดงความไว้อาลัยต่อคนตาย.
น. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด.
ความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช่น มอบฉันทะ.
น. ศูนย์กลางคู่สายโทรศัพท์ และเป็นที่ที่สายโทรศัพท์หมายเลขต่าง ๆ เชื่อมติดต่อกัน.
ข้อเสนอเพื่อลงมติ เช่น ผู้แทนราษฎรเสนอญัตติเข้าสู่สภาเพื่อขอให้ที่ประชุมลงมติว่าจะเห็นชอบด้วยหรือไม่
น. ชื่อพัดชนิดหนึ่งที่คลี่ได้พับได้, ด้ามติ้ว ก็ว่า.
เชื่อมติดกันหรือประสานกัน เช่น ต่อเหล็ก ๒ ท่อนให้ติดกัน กระดูกต่อกันสนิท
ก. เย็บลูกกระดุมติดกับเสื้อผ้า, กลัดกระดุม.
ก. ห้อมล้อมติดตามไป.
น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Gekkonidae หัวโต ลำตัวยาว มีลายเป็นจุดสีต่าง ๆ กระจายอยู่ด้านบนของตัวเปลี่ยนสีได้ หางค่อนข้างยาว ตีนมีลักษณะพิเศษสามารถเกาะตามพื้นเรียบได้ ไข่กลมติดตามผนัง หลายชนิดร้องเสียงดัง ออกหากินในเวลากลางคืน ตุ๊กแกที่พบบ่อยตามบ้านเรือนและในป่า ได้แก่ ตุ๊กแกใหญ่ [ Gekko gecko (Linn.) ] บางชนิดร่อนตัวได้ ได้แก่ ตุ๊กแกบินหางเฟิน ( Ptychozoon lionatum Annandale), พายัพเรียก ต๊กโต, อีสานเรียก กับแก้.
น. นม เช่น แสงสอดลอดในพระไทรพราย เดือนบ่ายต้องเต้าเจ้าวันทอง (ขุนช้างขุนแผน), บัวตูมติดขั้วบังใบ บังใบท้าวไท ว่าเต้าสุดาดวงมาลย์ (อนิรุทธ์)
(บอริพาน) น. ผู้แวดล้อม, ผู้รับใช้หรือผู้ห้อมล้อมติดตาม.
(ปฺระชาทิปะไต, ปฺระชาทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่, การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่.
น. ผ้า ๒ ผืนที่เย็บข้างต่อริมติดกันให้กว้างออก.
ก. จมหรือทำให้จมลงไปจากระดับพื้นจนมิดทั้งหมดหรือมิดแต่บางส่วน เช่น ฝังศพ ฝังทรัพย์ ฝังเสา, ทำให้จมติดแน่นอยู่ในสิ่งต่าง ๆ เช่น ฝังเพชร ฝังลาย, โดยปริยายหมายถึง ลักษณะอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝังใจ ฝังหัว.
น. ชื่อไม้ทำรูปเหมือนใบมะตูมติดที่โรงพิธี.
ก. ต่อท้าย, ตามติด, เติมเข้ามา, เช่น ขอพ่วงไปด้วยคน.
น. ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลัง ในวงศ์ Balanidae เปลือกหุ้มตัวเป็นแผ่นหินปูน ๖ แผ่น ประกบกันมีลักษณะคล้ายภูเขาไฟ ส่วนฐานเชื่อมติดกับวัตถุ ปากเปิดด้านบน เช่น ชนิด Balanus variegates Darnin, สนับ หรือ สนับทึบ ก็เรียก.
น. คนจำนวนมาก, คนส่วนใหญ่, ชนจำนวนมาก เช่น มติมหาชน, ประชาชนทั่วไป, เรียกกฎหมายที่เกี่ยวกับประชาชนทั่วไป ว่า กฎหมายมหาชน.
ก. พยายามติดต่ออย่างเต็มที่เพื่อขอความสนับสนุนช่วยเหลือในกิจที่ต้องประสงค์ เช่น วิ่งเต้นฝากงาน.
น. วิหารที่ด้านท้ายเชื่อมติดกับพระสถูปเจดีย์หรือพระปรางค์ เช่น วิหารหลวงวัดพระศรีรัตน-มหาธาตุ ตำบลเชลียง อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย.
ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ ๑. สูติ วิชาฟังเสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกา วิชากายบริหาร ๙. ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์.
(สะหฺว่าน) น. เครื่องมือช่างไม้ปลายเป็นเกลียวแหลมสำหรับเจาะไช มี ๒ ชนิด คือ ชนิดหนึ่งเป็นเหล็กปลายเป็นเกลียวแหลมในตัวสำหรับเจาะไชสิ่งเล็ก ๆ หรือบาง ๆ อีกชนิดหนึ่งมีรูปร่างคล้ายลูกดาล ๒ อันต่อกัน ปลายด้านบนมีแป้นสำหรับมือกด ตรงกลางมีที่สำหรับมือจับหมุนให้ดอกสว่านซึ่งสวมติดกับปลายอีกด้านหนึ่งเจาะไชสิ่งที่ค่อนข้างใหญ่หน้าหนา.
ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก.
โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงแตกแยก เช่น เรื่องนี้ยังลงมติไม่ได้ เพราะในที่ประชุมยังมีเสียงแตกกัน.
น. สาระสำคัญที่ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ เช่น คณะกรรมการลงมติรับหลักการตามที่มีผู้เสนอ.
น. ชื่อสัตว์น้ำขาปล้องหลายชนิด ในวงศ์ Argulidae เมื่อโตขึ้นเกาะติดตามหัว ลำตัว เหงือก และครีบของปลา ขนาดยาว ๔-๑๑ มิลลิเมตร ลำตัวกลมใส แบน โค้งคว่ำ มีแผ่นแข็งคลุมส่วนหัวและอกซึ่งเชื่อมติดกัน ส่วนอกมีขา ๔ คู่ ใช้ว่ายน้ำ ส่วนท้องแบนเล็กและสั้น ปลายแยกเป็น ๒ แฉก ด้านล่างบริเวณหัวมีอวัยวะเป็นรูปถ้วย ๑ คู่ ใช้เกาะกับปลา ปากเป็นชนิดแทงดูด กินเลือดและของเหลวจากปลา ที่พบบ่อยในน้ำจืด เช่น ชนิด Argulus indicus Weber, A. siamensis Wilson ที่พบในทะเล เช่น ชนิด A. alosae Gould, เห็บน้ำ ก็เรียก.
(อัดตะ-) น. ความเห็นส่วนตัว, ความเห็นโดยลำพังตน, เช่นในคำว่า อัตโนมัตยาธิบาย คือ อธิบายตามความเห็นของตน. (ป. อตฺตโน ว่า ของตน + มติ ว่า ความเห็น).
น. เหตุขัดข้อง, อุปสรรค, ความติดขัด.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
มติมหาชน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติมหาชน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การไล่ตามติดพัน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การออกเสียงประชามติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การลงประชามติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เชื่อมติดหลายกลุ่ม [ ก้านชูอับเรณู ][พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
๑. ภาวะย้อมติดหลายสี๒. ภาวะเม็ดเลือดแดงติดสีต่างกัน [ มีความหมายเหมือนกับ polychromasia ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. ภาวะย้อมติดหลายสี๒. ภาวะเม็ดเลือดแดงติดสีต่างกัน [ มีความหมายเหมือนกับ polychromasia ๒ ][แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การสำรวจมติมหาชน (แบบแกลลัป)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ยอดรวมติดพัน[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ลงมติผ่านร่างกฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การออกกฎหมายโดยทางตรง, การออกกฎหมายโดยประชามติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เรื่องสมมุติทางกฎหมาย, นิติสมมติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มติร่วม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การเพิกถอนมติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติธรรมดา (ของสภา) (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การเพิกถอนมติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถามติง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การลงประชามติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การขอประชามติ, การลงประชามติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติ, ข้อมติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติ, ข้อมติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มติพ้อง (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติธรรมดา (ของสภา) (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
นักวิมตินิยม, นักกังขาคติ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
วิมตินิยม, กังขาคติ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
การเชื่อมติด [ มีความหมายเหมือนกับ cohesion ๒ ][พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
นักวิมตินิยม, นักกังขาคติ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
วิมตินิยม, กังขาคติ[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ลวดเชื่อมติด[การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
รายชื่อผู้ต้องห้ามติดต่อค้าขาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สีย้อมติดได้หลากสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
บริเวณเชื่อมติด[การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
มติพิเศษ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มติสามัญ, มติธรรมดา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ความคิดเห็น, ความเห็น๒. มติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติฝูงชน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติกลุ่ม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติมหาชน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มติมหาชน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เพื่อขอประชามติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เชื่อมติดเป็นกลุ่ม [ ก้านชูอับเรณู ][พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
๑. การรับข้อเสนอ, การมีมติเห็นชอบ๒. การรับบุตรบุญธรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เชื่อมติด [ โครงสร้างต่างกัน ][พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
มติร่วม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
โดยมติพิเศษ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สังหาริมทรัพย์ย่อมติดอยู่กับบุคคล[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สีย้อมติดได้หลากสี[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เทเลเมติกส์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สถานที่สำหรับพระสงฆ์สวดพระอภิธรรมในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพมีจำนวน ๔ หลัง อยู่ที่มุมติดกับรั้วราชวัติ ๒ หลัง และที่มุขด้านทิศเหนือและทิศใต้อย่างละ ๑ หลัง[ศัพท์พระราชพิธี]
การทดสอบสมมติฐาน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
โปรแกรมติดตั้ง[คอมพิวเตอร์]
โปรแกรมติดตั้งเพื่อคลายโปรแกรมกลับสู่รูปแบบที่จะนำมาดำเนินการได้[คอมพิวเตอร์]
นิวแมติกส์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
แบเรี่ยมติตาเนต[TU Subject Heading]
ไซเมติดิน[TU Subject Heading]
มติมหาชนต่างประเทศ[TU Subject Heading]
สมมติฐาน[TU Subject Heading]
สื่อมวลชนกับมติมหาชน[TU Subject Heading]
แมธิแมติกา (ภาษาคอมพิวเตอร์)[TU Subject Heading]
การควบคุมแบบนิวแมติก[TU Subject Heading]
นิวแมติกส์[TU Subject Heading]
มติมหาชน[TU Subject Heading]
การสำรวจมติมหาชน[TU Subject Heading]
การลงประชามติ[TU Subject Heading]
การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ[TU Subject Heading]
เทเลแมติกส์[TU Subject Heading]
วิมติวิโนทนีฏีกา[TU Subject Heading]
การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก[การทูต]
เขตการค้าเสรีอาเซียน จัดตั้งขึ้นตามมติของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 4 เพื่อส่งเสริม การค้าเสรีระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยให้มีการลดอัตราภาษีศุลกากรที่เท่ากันตามระยะเวลาที่กำหนด เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 โดยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ลดอัตราภาษีศุลกากรให้เหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี พ.ศ. 2546 และมีระยะเวลาผ่อนผันสำหรับประเทศสมาชิกใหม่อีก 4 ประเทศ ตามช่วงเวลาก่อน/หลังที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน[การทูต]
การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่[การทูต]
องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว[การทูต]
เขตการค้าเสรีอาหรับ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 โดยมติที่ประชุมสุดยอดอาหรับที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ (มิถุนายน 2539)[การทูต]
กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต "[การทูต]
ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ "[การทูต]
แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด[การทูต]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น[การทูต]
เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว[การทูต]
ฉันทามติ หมายถึง แนวปฏิบัติในการตัดสินใจที่จะมีมติดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยแม้ทุกฝ่ายจะมิได้เห็นพ้องร่วมกัน แต่ก็ไม่มีผู้ใดคัดค้าน[การทูต]
เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น[การทูต]
ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ[การทูต]
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที[การทูต]
กองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1264 (1999) เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2542 มีภารกิจหลัก 3 ประการ คือ ฟื้นฟูสันติภาพและเสถียรภาพในติมอร์ตะวันออก ป้องกันและสนับสนุนงานของเจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติ และอำนวยความสะดวกในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม กองกำลังนานาชาติปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกจนถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543[การทูต]
เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ[การทูต]
คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย[การทูต]
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น[การทูต]
คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[การทูต]
คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล[การทูต]
การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น[การทูต]
โครงการน้ำมันเพื่ออาหาร " เป็นโครงการภายใต้ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ที่ 986 (พ.ศ. 2538) ซึ่งอนุญาตให้อิรักนำรายได้จากการขายน้ำมันดิบไปซื้อสินค้าทางด้านมนุษยธรรม เพื่อแจกจ่ายแก่ประชาชนอิรัก "[การทูต]
ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน[การทูต]
คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์[การทูต]
ข้อมติ[การทูต]
เขตการค้าเสรีในเอเชียใต้ ภายใต้ SAARC เป็นไปตามมติของที่ประชุมสุดยอดของ SAARC ครั้งที่ 10 ที่กรุงโคลัมโบ เมื่อปี พ.ศ. 2541[การทูต]
การคว่ำบาตร (ในกรอบสหประชาชาติ) " หมายถึง มาตรการลงโทษที่คณะมนตรีความมั่นคง ใช้ต่อประเทศสมาชิกที่มีการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ รวมทั้งเป็นภัยต่อสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศโดยการจำกัด หรือห้ามประเทศสมาชิกอื่น ๆ ติดต่อในด้านต่าง ๆ (เช่น ด้านการค้า การคมนาคมขนส่ง) อย่างเป็นทางการกับประเทศนั้น ๆ เพื่อบีบบังคับให้มีการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคง มาตรการห้ามการ ติดต่อเหล่านี้ บางครั้งเรียกว่า ปิดล้อม (embargo) เช่น ปิดล้อมด้านอาวุธ ปิดล้อมด้านการค้า เป็นต้น "[การทูต]
การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ[การทูต]
ความตกลงพิเศษทางการค้าในภูมิภาคเอเชียใต้ ของ SAARC เป็นไปตามมติของที่ประชุมสุดยอดของ SAARC ครั้งที่ 8 ที่กรุงนิวเดลี เมื่อปี พ.ศ. 2538[การทูต]
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
สมมติในกรณีที่แย่ที่สุดอ่ะนะHero (1992)
สมมติว่า...Of Mice and Men (1992)
ฉันบอกว่า... สมมติจอร์จเข้าไปในเมืองคืนนี้ แล้วนายก็ไม่ได้ข่าวเขาอีกเลยOf Mice and Men (1992)
สมมติว่าเขาบาดเจ็บหรือถูกฆ่า และเขากลับมาไม่ได้Of Mice and Men (1992)
แค่สมมติน่ะ สมมติว่าเขาไม่กลับมา นายจะทำยังไงต่อไปOf Mice and Men (1992)
- ก็แค่สมมติOf Mice and Men (1992)
- แล้วนายสมมติมาทำไมOf Mice and Men (1992)
นายมีจอร์จอยู่ สมมติว่านายไม่มีใครOf Mice and Men (1992)
สมมติว่านายไปบ้านพักและเล่นรัมมี่ไม่ได้ เพราะนายเป็นคนดำOf Mice and Men (1992)
สมมติว่านายต้องนั่งกับลา และอ่านหนังสือOf Mice and Men (1992)
เพราะฉะนั้นอย่าไปไหน ตามติดความตื่นเต้นของพิธีเปิด... การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 15 จาก คาลการี่ อาลเบอร์ทา ประเทศแคนาดาCool Runnings (1993)
- - ขวาทั้งหมดขอลงมตินั้นIn the Name of the Father (1993)
สมมติว่าถ้าฉันกินสลัด ส่วนเขากินจานหลักสามจานล่ะThe Joy Luck Club (1993)
ผมติดตามร่องรอยคดีนี้ ตั้งแต่ มันมาถึงสำนักงาน Boise เดือนที่แล้วSqueeze (1993)
ที่สมมติว่าบลัทช์ยังคงมีThe Shawshank Redemption (1994)
เขาพยายามติดต่อเธอDon Juan DeMarco (1994)
หวัดดี โทษทีที่มาสาย ผมติดงานอยู่น่ะThe One with the Sonogram at the End (1994)
"นิสัยที่ผมติดมาจากอินเดีย"The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
สมมติว่าสวัสดีกับฟิกาโร สวัสดี ฟิกาโรPinocchio (1940)
ตอนนี้สมมติว่าคุณบอกฉันว่ามันพิสูจน์12 Angry Men (1957)
แต่ถ้าทุกคนลงมติไม่ผิดเราจะอยู่ที่นี่และพูดมันออกมา12 Angry Men (1957)
ตั้งแต่ผู้หญิงที่เห็นการฆ่าผ่านสุดท้ายรถสองคัน เราสามารถสมมติว่าร่างกายกระแทกพื้นเช่นเดียวกับที่รถไฟผ่านไป12 Angry Men (1957)
ให้เราสมมติว่าเด็กจริงๆไม่ฆ่า12 Angry Men (1957)
ผมคิดว่าเราสามารถสมมติเด็กวิ่งออกมาในสถานะของความหวาดกลัวที่มีเพียงแค่ฆ่าพ่อของเขา12 Angry Men (1957)
เขาตามติดฉันแจหยั่งกับรู้ว่าฉันกำลังจะไปPhantasm (1979)
ผมติดตามเรื่องของเขามานานแล้วGandhi (1982)
นี่... ผมติดต่อใครไม่ได้มา 2 อาทิตย์แล้วThe Thing (1982)
แต่สมมติว่าเพียงแค่คิดว่ามัน มีสิ่งที่จะทำอย่างไรกับหินใหญ่ ก้อนเดียว?2010: The Year We Make Contact (1984)
เดี๋ยวก่อนนะ สมมติว่าใครคนหนึ่งในเราเป็นฆาตกรClue (1985)
แค่สมมติว่า ฉันบอกเรื่องนี้นะStand by Me (1986)
ดูคน, L รู้ว่ามีเหตุการณ์เต็มติดต่อเป็นความลับ ... ... ถูกจัดขึ้นในฮ่องกงในไม่กี่วันถัดไปBloodsport (1988)
คุณมีมัสตาดชิ้นเบ้อเริ่มติดอยู่..Big (1988)
เขาเลยเลิกเขียนหนังสือ เขาเริ่มเขียนบทกวีเกี่ยวกับ ปลาวาฬอะไรพวกนั้น จากนั้นเขาเริ่มเล่นพวกคอมพิวเตอร์ และเขาก็เริ่มติดมันField of Dreams (1989)
ให้ดอกไม้พวกเขา, แล้วพวกเขาจะตามติดไปทุกที่Indiana Jones and the Last Crusade (1989)
คำตัดสินให้จิมมี่กับผมติดคุกสิบปีGoodfellas (1990)
เราพยายามติดต่อท่านครับThe Young Indiana Jones Chronicles (1992)
-สมุมติว่ามีคลื่นพลังหลุดออกมาจากแกนปั่น มันจะไปบิดเบนห้วงเวลาทำให้จัสตินดูเหมือนหายไปEvent Horizon (1997)
คงจะเป็นเรื่องจิ๊บจ๊อย ถ้าจะให้เงินผมติดกระเป๋าสัก 200 ก่อนGood Will Hunting (1997)
ดูฉันสิ ฉันไม่ยอมติดคุกหรอกNothing to Lose (1997)
ผมติดตามผ่านประวัติประกันภัยTitanic (1997)
- ว่ามา นายจะต้องตามติดกับเรื่องนี้ไปตลอดจน - สุดเส้นทาง ที่ฉันจะต้องไปRushmore (1998)
ไม่ครับ พ่อผมติดงานน่ะRushmore (1998)
สมมติฐานใหม่ :Pi (1998)
ผู้รู้สึกเหมือนว่าผมติดหนี้เครื่องบรรณาการกับคุณBrokedown Palace (1999)
ทำไมคุณไม่ให้ผมติดต่อเอนเทนน่าeXistenZ (1999)
ผมติดเชื้อ เดี๋ยวก่อนeXistenZ (1999)
"เชื้อในเกม" ผมติดเชื้อจริงๆ เหรอeXistenZ (1999)
ใช่ คอร์ทิคอล ซิสเต็มเมติคส์eXistenZ (1999)
ผมติด คุณเยี่ยมมากeXistenZ (1999)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[cheūam tit kan] (adj) EN: adnate
[kān long prachāmati] (n, exp) EN: referendum  FR: référendum [ m ] ; consultation populaire [ f ]
[kān øksīeng prachāmati] (n, exp) EN: referendum  FR: référendum [ m ] ; consultation populaire [ f ]
[kān samrūat prachāmati] (n, exp) EN: public opinion survey  FR: sondage d'opinion [ m ] ; enquête publique [ f ]
[kān sommot saphāp thī lēorāi thīsut] (n, exp) EN: worst-case scenario
[khainēmētik] (n) EN: kinematics  FR: cinématique [ f ]
[khem tit seūa] (n, exp) EN: brooch
[longmati] (v) EN: vote ; cast one's vote ; decide ( by vote) ; resolve ; pass a resolution ; come to a decision  FR: approuver une résolution
[longmati mai waiwāngjai] (v, exp) EN: censure  FR: voter la confiance
[mati] (n) EN: resolution ; decision  FR: résolution [ f ] ; décision [ f ]
[mati] (n) EN: opinion ; view ; sense  FR: opinion [ f ] ; conviction [ f ] ; point de vue [ m ]
[Matichon] (tm) EN: Matichon  FR: Matichon [ m ]
[mati mahāchon] (n, exp) EN: public opinion  FR: opinion publique [ f ]
[mati sāthāranachon] (n, exp) EN: public opinion
[nām sommati] (n, exp) EN: fictitious name  FR: nom fictif [ m ] ; nom d'emprunt [ m ]
[nitisommot] (n, exp) EN: presumption of law
[niyāi sommot] (n, exp) FR: mythologie [ f ]
[phoēkthøn mati] (v, exp) EN: revoke a decision
[prachāmati] (n) EN: referendum ; public opinion ; plebiscite  FR: référendum [ m ] ; opinion publique [ f ]
[sommot = sommotti] (v) EN: suppose ; make up ; invent ; imagine ; feign ; concoct
[sommot = sommotti] (adj) EN: fictitious  FR: fictif
[sommotsatja] (n) EN: conventional truth
[sommottithān] (n) EN: hypothesis  FR: hypothèse [ f ]
[tam tit jaē] (v, exp) EN: follow close behind ; tail
[thāmting] (v) EN: reexamine ; do a re-direct examination
[thāmting phayān] (v, exp) EN: reexamine a witness
Longdo Approved EN-TH
(n)ฉันทามติ, ข้อตกลงร่วมกันของกลุ่ม ไม่ได้หมายถึงการรับผิดร่วมกัน
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)สมมติฐานที่ว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้จากสิ่งไม่มีชีวิต
(vt)ลงมติยอมรับSyn.affirm
(n)การเชื่อมติดกันSyn.connection, linking
(n)สมมติฐานSee Also:ข้อสมมติฐานSyn.hypothesis, premise
(n)สร้อยคอที่สวมติดรอบลำคอ
(vi)เชื่อมติดกัน
(n)สิ่งที่เชื่อมติดกันSyn.bond, link
(n)ครึ่งโลกด้านตะวันออก (ด้านตะวันออกของเส้นสมมติ Greenwich) ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลียและส่วนใหญ่ของยุโรป
(adj)ไม่ใช่ที่ประดิษฐ์ขึ้นมาSee Also:ปลอม, กุขึ้นเอง, ที่ทำด้วยฝีมือมนุษย์, ที่สมมติSyn.artificial
(vi)ติดไม้เข้าด้วยกันSee Also:เชื่อมติดไม้เข้าด้วยกัน
(vt)ติดไม้เข้าด้วยกันSee Also:เชื่อมติดไม้เข้าด้วยกัน
(n)การขัดขวางการผ่านญัตติหรือมติในสภาSyn.delaying tactic, hindrance, interference
(vi)พยายามหยุดยั้งการผ่านญัตติหรือมติในสภา
(vt)พยายามหยุดยั้งการผ่านญัตติหรือมติในสภา
(phrv)เริ่มมีนิสัยSee Also:เริ่มติดนิสัย
(idm)จ่ายค่าสินค้า (เพราะไม่ยอมติดหนี้หรือลงบัญชีไว้ก่อน)See Also:จ่ายสด, จ่ายเงิน
(adj)ซึ่งติดแน่นSee Also:ซึ่งย้อมติดสีSyn.ineradicable, rooted, deeply infused
(n)เส้นใยที่ถูกย้อมติดสีก่อนนำไปทอ
(n)สารที่ช่วยให้สีย้อมติดเนื้อผ้าหรือวัสดุอื่น
(n)เครื่องประดับที่ใช้สวมติดคอหรือพอดีคอ
(n)ผู้สำรวจประชามติSyn.canvasser
(vi)เสนอสมมติฐานSyn.presuppose, suppose
(n)ประชามติSee Also:มติมหาชนSyn.plebiscite, vote
(n)การลงมติ
(n)สมมติฐานSyn.hypothesis
Hope Dictionary
(อะโซชีเอ'เชิน) n. สมาคม, บริษัท, การร่วมกัน, ความสัมพันธ์, สันนิบาตพันธมิตร, สหภาพ, การเชื่อมติดกัน, ความคิดเห็นร่วมกัน, กลุ่มของพืชที่อยู่ร่วมกัน, เกมฟุตบอล, การสังสรรค์Syn.fellowship, organization, link
(ไบน์'ดิง) n. การผูก, การมัด, สิ่งผูกมัด, การเข้าปกหนังสือ, การเย็บเล่มหนังสือ, การทำให้ท้องผูก, สายมัด, สายพัน, ยาเชื่อมติด adj. จำเป็น, ผูกพันSyn.compelling
n. ขบวนรถไฟที่วิ่งเชื่อมติดกับเรือเพื่อถ่ายผู้โดยสาร
(บอนดฺ) { bonded, bonding, bonds } n. ข้อผูกมัด, ข้อตกลงในสัญญา, สิ่งผูกมัด, พันธนาการ, สลัก, ตรวน, โซ่, การคุมขัง, การติดคุก, พันธบัตร, ใบกู้ยืม, ใบหุ้นกู้, พันธุกรรม, พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุล vi., vt. (ทำให้) ผูกมัดเข้าด้วยกัน, เชื่อมติด, ผนึกเข้าด้วยกัน adj. เกี่ยวกับควา
(คะโพท) n. เสื้อคลุมยาวที่มีหมวกคลุมติดอยู่, ประทุนรถ
(ซิเมนทฺ') { cemented, cementing, cements } n. ซีเมนต์, ปูนซีเมนต์, น้ำยายางสำหรับเชื่อมติดสิ่งของ, สิ่งยึดเหนี่ยว, พันธะ vt. ยึดเกาะ, พอกด้วยน้ำปูนซีเมนต์, ใช้น้ำปูนซีเมนต์ฉาบ, ผนึก. เป็นส่วนที่หุ้มเนื้อฟันที่รากฟันSee Also:cementer n.Syn.sealAnt.separate
(โคแอพท) { coapted, coapting, coapts } vt. เชื่อมติดกัน, ปะให้เชื่อมติดกัน
(คอฟ, ควาฟ) { coifed, coifing, coifs } n. หมวกสวมติดแน่นศีรษะ, หมวกสีขาวที่ทนายอังกฤษสวมในศาล. vt. ใส่หมวกดังกล่าว, แต่งผม
(คันคลูด') { concluded, concluding, concludes } vt. ลงเอย, สิ้นสุดลง, สรุป, ลงมติ, ตัดสินใจ. vi. สิ้นสุดลง, ลงเอย, ลงความเห็น, ตัดสินใจSyn.finish, infer, deduce
(คันเซน'ซัส) n., (pl. -suses) ความสอดคล้องกัน, ความลงรอยกัน, ความคิดเห็นของส่วนใหญ่, มติมหาชนSyn.unanimity
(คอนทะกิว'อิที) n. การเชื่อมติดกัน, การประชิดกัน, การติดต่อ, สิ่งที่ต่อเนื่องกันSyn.contact
(คัพ'เพิล) { coupled, coupling, couples } n. คู่, สอง, คู่สามีภรรยา vt. ผูกมัด, เชื่อมติด, ติดต่อ, พ่วง, ทำให้เป็นสามีภรรยากัน vi. ร่วมเป็นคู่, ร่วมประเวณีSee Also:couplement n. -Conf. pairSyn.link, join
(ดีดีพี) ย่อมาจาก distributed data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูลแบบกระจาย) หมายถึง การประมวลข้อมูลในหน่วยงานที่มีหลายสาขา และ การทำงานเป็นแบบต่างคนต่างทำ ต่างคนต่างมีข้อมูล แต่อาจมีการเชื่อมติดต่อกันโดยการสื่อสารข้อมูล (data communications) <คำย่อ> ดีดีพี ย่อมาจาก Drug Data for Pharmacist
adj. ซึ่งแยกออก, ไม่ปะติดปะต่อ, ไม่เชื่อมติดกัน, ไม่ต่อกัน, ซึ่งไร้เหตุผล, ไม่เป็นระเบียบ.Syn.rambling
การตรวจสอบ (โปรแกรม) นอกเครื่องหมายถึง การตรวจสอบดูชุดคำสั่งในเชิงตรรกะ และการใช้รหัสคำสั่งจากผังงาน (flowchart) และคำสั่งข้อเขียน เพื่อดูว่า ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นถูกต้องหรือไม่ก่อนที่จะนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์ อาจใช้ตัวเลขสมมติใส่เข้าไปก็ได้ ในบางครั้ง ใช้คำว่า การไล่สอบบนโต๊ะทำงาน (desk check)
(เฟ) n. เทวดา, นางฟ้า, ภูตน้อย vt., vi. ติด, เชื่อมติด
จำนวนเต็มหมายถึง เลขที่มีจุดทศนิยม (สมมติ) ตายตัว หรือที่เรียกว่า เลขจำนวนเต็ม (integer) ตรงข้ามกับ floating point number ซึ่งหมายถึงเลขทศนิยมที่จะกำหนดให้มีเลขตามหลังจุด ทศนิยมกี่หลักก็ได้ตามที่ต้องการ
(เฟาลฺ'อัพ) n. ความสับสนวุ่นวาย, ความติดขัด, อุปสรรค
n. การทดสอบมติมหาชนในสหรัฐอเมริกาที่ริเริ่มโดยGeorge Gallup
n. มติร่วม, มติร่วมของสภา
(นิท) vt. ถัก, ชุน, ขมวด, เชื่อมต่อ, ประสาน, ย่น. vi. เชื่อมติดกัน, ย่น.See Also:knittable adj. ดูknit knitter n.Syn.unite, weave
(ออร์'เดอะ) n. คำสั่ง, ใบสั่ง, ตั๋วแลกเงิน, ธนาณัติ, หนังสือมอบอำนาจ, ระดับ, ลำดับ, ขั้น, นิกาย, คณะสงฆ์, อนุกรม, ชนิด, แบบแผน, ระเบียบ, สมณศักดิ์, เครื่องอิสริยาภรณ์, การลงมติในที่ประชุมนิติบัญญัติ. -Phr. (in order เหมาะสม, เป็นระเบียบ) -Phr. (in order that เพื่อว่า) vt.ออกคำสั่ง, สั่งซื้อ, ทำให้เป็นระเบียบ, บรรพชา, แต่งตั้งให้เป็นพระ
(พาส'เซอะ) n. ผู้ผ่าน, ผู้ลงมติให้ผ่านได้
(โพล'สเทอะ) n. ผู้สำรวจประชามติ.Syn.polltaker
n. มติมหาชน, ความเห็นโดยทั่วไปของสาธารณชน
n. การสำรวจมติมหาชน
(เรฟฟะเรน'ดัม) n. ประชามติ, การลงประชามติ, คะแนนเสียงที่ประชาชนลง pl. referendums, referenda
(รีซอล'ยะเบิล) adj. แก้ไขใหม่ได้, ลงมติใหม่ได้, ละลายใหม่ได้See Also:resolubility n. resolubleness n.
(เรซซะลู'เชิน) n. ความแน่วแน่, ความเด็ดเดี่ยว, การยืนหยัด, การตัดสินใจแล้ว, มิติ, การลงมติ, การแก้ปัญหา, การยุบลงของส่วนที่บวมหรืออักเสบ , ความคมชัดหมายถึง ความละเอียดของภาพ โดยจะนับจุดเล็ก ๆ ในภาพนั้น ยิ่งมีมากจุดต่อนิ้วก็ยิ่งแสดงว่าภาพนั้นมีความคมชัด เช่น อาจใช้วัดประสิทธิภาพของเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) ว่า สามารถพิมพ์ได้ 300 - 600 จุดต่อนิ้ว เป็นต้น ถ้าเป็นชนิดดีมากควรจะพิมพ์ได้ถึง 2, 400 จุดต่อนิ้ว ส่วนความละเอียดของจอภาพ มักจะวัดทั้งความกว้างและยาว เช่น 320 X 200 แสดงว่าจุดมีขนาดใหญ่ แต่ถ้าเป็น 1240 X 800 แสดงว่าจุดมีขนาดเล็ก หมายความว่า ภาพคมชัดกว่า เมื่อใช้อธิบายถึงภาพสี คำ resolution ใช้บอกจำนวนสีที่สามารถแสดงได้ในแต่ละครั้ง ถ้าความคมชัดต่ำ จะแสดงสีได้ครั้งละมาก ๆ ซึ่งทำให้มีความรู้สึกเหมือนกับว่า ภาพนั้นมีความคมชัดมาก ภาพที่มีความคมชัดมากจริง ๆ จะแสดงสีได้น้อยสีในคราวเดียวกัน โดยปกติ มักใช้คำ high res และ low res เป็นคำย่อว่า ความคมชัดมากหรือน้อยดู high resolutution และ low resolution ประกอบSyn.resolve, determination
(รีซอลว') vt., vi., n. (การ) ตกลงใจ, ตัดสินใจ, มีมติ, แยกออก, แยกวิเคราะห์ แยกสลาย n. การตกลงใจ, การตัดสินใจ, ความแน่วแน่, มต'Syn.determine
(รีซัลทฺ') vi. เป็นผล, ลงเอย, n. ผล, ผลลัพธ์, ผลที่ตามมา, คำตอบ, มติ
(วี'โท) n. อำนาจยับยั้ง, ลัทธิยับยั้ง, การใช้สิทธิยับยั้ง, เอกสารแสดงการใช้สิทธิยับยั้งและเหตุผลที่ยับยั้ง, การยับยั้ง, การห้าม, การออกเสียงยับยั้งของสมาชิกหนึ่งในห้าเสียงของสมาชิกถาวรของสภาความมั่นคง (ในสหประชาชาติ) สามารถยับยั้งการปฎิบัติการหรือมติของที่ประชุมไ
(โว'ทะเบิล) adj. ลงคะแนนได้, มีสิทธิเลือกตั้ง, นำไปลงมติได้.
(โวทฺ) n. การออกเสียง, การเลือกตั้ง, คะแนนเสียง, บัตรคะแนนเสียง, สิทธิการออกเสียง, จำนวนคะแนนเสียง, มติ vt., vt. ออกเสียง, ลงคะแนนเสียง, เลือกตั้ง, ลงมติ, เสนอ
Nontri Dictionary
(vt)ผูกมัด, ผูกพัน, เชื่อมติด
(vt)ติดต่อกับ, ใกล้กับ, เชื่อมติดกับ
(n)การคว่ำบาตร, การห้ามติดต่อ
(vt)คว่ำบาตร, ไม่ติดต่อด้วย, ห้ามติดต่อ
(vi, vt)จบ, ลงมติ, ตัดสินใจ, ลงเอย, สิ้นสุด, ปลงใจ, ทำเสร็จ
(n)ความลงรอยกัน, ความสอดคล้อง, ความเห็นส่วนใหญ่, มติมหาชน, เอกฉันท์
(n)ความใกล้ชิด, การประชิด, การเชื่อมติด, การติดต่อกัน
(adj)ใกล้ชิด, ติดกัน, ติดต่อกัน, เชื่อมติด, ประชิด
(vt)ผูกมัด, เชื่อมติด, ติดต่อ, รวมเป็นคู่, ผูกเข้าคู่กัน, พ่วง
(n)เหรียญใหญ่, รูปแกะสลักกลมติดผนัง
(n)เหตุผล, ความสำนึก, สัมปชัญญะ, มติ
(n)การลงประชามติ, คะแนนเสียง
(n)การแก้ปัญหา, มติ, ความเด็ดเดี่ยว, ความแน่วแน่
(n)การลงมติ, การตกลงใจ, การตัดสินใจ, ความแน่วแน่
(vi, vt)แก้ปัญหา, ตกลงกัน, ตัดสินใจ, ลงมติ, กระจาย
(n)คำตอบ, ผลลัพธ์, มติ
(vt)บัดกรี, เชื่อมติดกัน, ประสาน
(vi, vt)ลงคะแนนเสียง, ลงมติ, เลือกตั้ง
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)สมมติฐาน
[วุ้น-ถั่ว-เหลือง-ทริป-ติ-เคส](n, name)วุ้นถั่วเหลืองทริปติเคส (Trypticase soy agar) หรือเรียกสั้นๆว่า (TSA) เป็นอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย ประกอบด้วยเคซีนและถั่วเหลืองที่ถูกย่อยด้วยเอนไซม์ซึ่งเป็นแหล่งของกรดอะมิโนและธาตุอาหารอื่นๆ มีเดกซ์โตสเป็นแหล่งคาร์บอน มีโซเดียมคลอไรด์เพื่อรักษาแรงดันออสโมติก และไดโพแทสเซียมฟอสเฟตเป็นบัฟเฟอร์ อาหารนี้อาจจะเพิ่มเลือดหรือยาปฏิชีวนะตามแต่ความต้องการในการเลี้ยงเชื้อ อาหาร 1 ลิตรประกอบไปด้วย 15 g (ทริปโตน) 5 g (ซอยโตน — ถั่วเหลืองที่ย่อยด้วยเอนไซม์) 5 g (NaCl หรือโซเดียมคลอไรด์) 15 g (วุ้น)
Longdo Approved JP-TH
[かけつ, kaketsu](vt)(สภา ที่ประชุม) มีมติเห็นชอบ (ให้ผ่าน)
[ひけつ, hiketsu](vt)(สภา ที่ประชุม) มีมติไม่เห็นชอบ
[もし, moshi](prep)ถ้า..., สมมติว่า...
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
溶着
[ようちゃく, youchaku](n)การเชื่อมติด
公準
[こうじゅん, koujun]สมมติฐาน
仮に
[かりに, karini](adv)สมมติว่า
Saikam JP-TH-EN Dictionary
結びつく
[むすびつく, musubitsuku] TH: เชื่อมติดกัน
結びつく
[むすびつく, musubitsuku] EN: to join together
Longdo Approved DE-TH
(n)|das, pl. Referenda/Referenden| การลงมติเสียงของประชาชน
(n)|der, pl. Anträge| ข้อเสนอที่ต้องลงมติในที่ประชุม เช่น Ich stelle den Antrag, daß die Fakultät keine ausländische Studenten mehr aufnimmt. ผมขอเสนอให้ทางคณะไม่รับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาอีก
(n)|der, pl. Konsense| มติเอกฉันท์, การเห็นพ้อง
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ