(แอด' ดิเควท) adj. เพียงพอ, เหมาะสม, สามารถพอที่จะทำได้, สามารถถึงขีด
(แอมฟิบ' เบียน) n. สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก, พืชที่อยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก, เครื่องบินวิ่งบนน้ำและบนบกได้. -adj. เกี่ยวกับ amphilbia, กระทำได้ทั้งบนน้ำและบนบก
ส่วนวงเสียหมายถึงส่วนวงในร่องที่ใช้บันทึกข้อมูลบนแผ่นจานบันทึกเสีย ทำให้ไม่สามารถอ่านข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงไปเก็บได้ คอมพิวเตอร์จะแสดงข้อความนี้บนจอภาพเมื่อสั่งให้อ่านหรือบันทึกข้อมูล แล้วไม่สามารถทำได้ เพราะเกิดกรณีนี้ขึ้น
การสลับชิปไปมาหมายถึง การสลับไปมาของการใช้ชิปในหน่วยความจำเดิมที่ติดมากับเครื่อง กับหน่วยความจำที่เพิ่มภายหลัง ที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จนกระทั่งทำให้รู้สึกเสมือนว่า หน่วยความจำทั้งสองนั้นเป็นหน่วยความจำเดียวกัน เช่น บริษัทไอบีเอ็มผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกมาขายในตลาดโดยมีหน่วยความจำติดมาภายในตัวเครื่องเพียง 640 เคไบต์ แต่เรานำไปเพิ่มหน่วยความจำเป็นถึง 16 เมกกะไบต์ การที่จะทำให้หน่วยความจำเดิมกับหน่วยความจำที่เพิ่มมาใหม่ทำงานสลับกันไปมาได้ ก็จะต้องอาศัยการสลับชิปไปมานี้ อย่างไรก็ตาม หากเราเป็นเพียงผู้ใช้เครื่อง (user) ก็ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องนี้เท่าไรนัก เป็นหน้าที่ของช่างฝ่ายเทคนิคที่จะต้องติดตั้งหรือจัดการทำให้
(ไบทฺ) { bit, bitten/bit, biting, bites } v. กัด, กิน, ตอด, กินอาหาร, ต่อย (แมลง) , ยึดแน่น, เกาะแน่น, โกง, มีผลต่อ, งับ, ติดเหยื่อ, ยึด, ติด, ทำได้ผล n. การกัด, แผลกัด, ความคม, ความได้ผล, ชิ้นอาหาร, มื้อน้อย ๆ, Syn.nibble
(บูท) { booted, booting, boots } n. รองเท้าหุ้มข้อเท้า, รองเท้าบู๊ท, เครื่องหุ้มคล้ายปลอก, ฝาครอบป้องกัน, ปลอกหุ้มเบาะ, โครงรถ, เครื่องรัดทรมานข้อเท้า, การเตะ, การถีบ, การปลดออก vt. สวมรองเท้าบู๊ท, เตะ, ถีบ เริ่มต้นใหม่เริ่มเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เริ่มต้นทำงาน (ว่ากันว่า คำ "boot" นี้ มาจากคำว่า "bootstrap" เบื้องหลังการใช้คำ ๆ นี้ อยู่ที่การขู่ว่า ถ้าไม่ทำงานแล้วละก็ โดนรองเท้าบู๊ตแน่ ๆ เลย) การเริ่มเครื่องใหม่นั้น โดยปกติ เมื่อกดสวิตช์เปิดแล้ว คอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นทำงานด้วยการอ่านจานบันทึกในหน่วยบันทึก A: ถ้าในหน่วยบันทึก A: ไม่มีจานบันทึก ก็จะไปอ่านจานบันทึก C: (จะไม่สนใจหน่วยบันทึก B: เลย) ถ้ามีจานบันทึกใน A: จานบันทึกนั้นจะต้องมีคำสั่งระบบ (แฟ้มข้อมูล command.com) อยู่ คอมพิวเตอร์จึงจะเริ่มต้นทำงานต่อไปได้ ถ้าจานบันทึกใน A: ไม่มีคำสั่งระบบ จะมีรายงานบนจอภาพว่าเป็น "non-system disk" ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยน แผ่น A: หรือดึงแผ่น A: ออก แล้วเริ่มต้นใหม่จาก หน่วยบันทึก C: (ถ้ามี) อนึ่ง การเริ่มเครื่องใหม่นั้น ทำได้ 2 วิธี วิธีแรกเริ่มด้วยการเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ได้อธิบายแล้ว เรียกว่า "cold boot" อีกวิธีหนึ่งที่ใช้เมื่อมีการเปิดเครื่องอยู่ก่อนแล้ว แต่ต้องการเริ่มเครื่องใหม่ หรือเครื่องเกิดขัดข้องหรือค้าง (hang) ให้ กดแป้น CTRL +ALT +DEL เรียกว่า "warm boot"
(บรา'โว) interj. , n., v. (การ) ทำได้ดี!เก่งจริง!, ดี!, มือสังหารรับจ้าง
(บูล'ลี) { bullied, bullying, bullies } n. คนพาล, แมงดา, คนลวง, เนื้อวัวกระป๋อง vt. ขู่, ขู่เข็ญ, คุกคาม, ทำให้กลัว vt. เป็นอันธพาล, รังแก. adj. ดีมาก, ดีเลิศ, ร่าเริง. interj. ดี, ทำได้ดี, เอาเลย
(แค?) { cached, caching, caches } n. ที่ซ่อน, ที่เก็บ, สิ่งที่ซ่อนไว้ vt. ซ่อน, เก็บ หน่วยความจำแคชหมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก ในการโฆษณาขายเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีบ่งบอกไว้ด้วยเสมอว่า หน่วยความจำแคชนี้มีขนาดความจุเท่าใด เช่น 256 K cache เป็นต้น เพราะเป็นการแสดงถึงประสิทธิภาพของเครื่องอย่างหนึ่ง บางทีเรียก cache memory
(ซีเออี) ย่อมาจาก computer-aided engineering (งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล
เครื่องอ่านบัตรหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้การอ่านรูที่เจาะในบัตรแล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านั้นทำได้ด้วยการใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นส่งเข้าไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อนำไปประมวลผลต่อไป
(แคส'เคด) { cascaded, cascading, cascades } n. น้ำตกเล็กที่ตกจากหน้าผาที่สูงชัน, น้ำตกเป็นหลั่น ๆ , การต่อไฟฟ้าเป็นหลั่น ๆ , การเชื่อมโยง, ใบพะเนียด vt., vi. ตกลงมาเหมือนน้ำตก, ต่อเนื่องกันเป็นขั้นบันได, Syn.cataract แบบต่อเรียงการจัดเรียงวินโดว์บนจอภาพนั้น สามารถทำได้ 2 แบบ คือให้เป็นแบบต่อเรียง ซึ่งจะทำให้สามารถมองเห็นชื่อของแต่ละวินโดว์ที่เรียงต่อกัน หรือแบบแผ่เรียง tile ซึ่งจะทำให้มองเห็นทุกวินโดว์บนจอพร้อม ๆ กันในขนาดเล็ก ๆ ก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่คำสั่งของผู้ใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ ว่าจะสั่งให้เป็นแบบ cascade หรือ tileดู tile เปรียบเทียบ
สัญญาณวีดิทัศน์คอมโพสิตหมายถึง สัญญาณวีดิทัศน์ที่ใช้กับเครื่องรับโทรทัศน์ โดยปกติแล้ว ใช้สายไฟสายเดียว ตรงข้ามกับสัญญาณอื่น เช่น สัญญาณ RGB (Red Green Blue) ซึ่งจะใช้แต่ละสาย สำหรับแต่ละสี คือมีสายสีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน เป็นต้น ฉะนั้น หากเราต้องการภาพ เลือน ๆ ให้ปรากฏบนจอภาพ เครื่องรับโทรทัศน์ของเรา ก็ทำได้โดยส่งสัญญาณนี้แทน
งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล
(ดิฟอลทฺ') v., n. (การ) ไม่ยอมชำระหนี้, ไม่เข้าร่วมแข่ง, แพ้การแข่งขันเนื่องจากไม่มาแข่ง, ไม่ปฏิบัติตามสัญญา, แพ้คดีเพราะไม่ยอมมาศาล, ทางเลือกก่อนเมื่อไร้ทางเลือก, Syn.failure ค่าโดยปริยายค่าเริ่มต้นหมายถึง ค่าค่าหนึ่งที่กำหนดไว้ในโปรแกรมสำเร็จ ทุกโปรแกรม ให้เป็นค่าที่ใช้ในตอนเริ่มต้นโปรแกรม ทุกครั้งที่เรียกโปรแกรมนี้ใช้ คอมพิวเตอร์ก็จะใช้ค่าที่ตั้งไว้นี้ เช่น ในโปรแกรม Page Maker กำหนดค่าเริ่มต้นไว้ว่า ให้ขนาดของหน้าเป็น A4 ทุกครั้งที่มีการเรียกใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ก็จะกำหนดขนาดของหน้ามาเป็น A4 ก่อนเสมอ หากต้องการเปลี่ยนแปลงภายหลัง ก็ย่อมทำได้
นำ (แฟ้มข้อมูล) มาต่อกันในฮาร์ดดิสก์นั้น เมื่อมีการสั่งบันทึกข้อมูลลงไปแล้วมาสั่งลบภายหลัง จะทำให้มีที่ว่างเกิดขึ้นเป็นหย่อม ๆ ฉะนั้น เมื่อมีการนำแฟ้มข้อมูลใหม่บันทึกลงไป คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการแบ่งข้อมูลใหม่นี้ให้ได้สัดส่วนพอดีกับช่องที่ว่างอยู่ก่อน ทำให้แฟ้มข้อมูลเดียวถูกเก็บเป็นหย่อม ๆ การเก็บแฟ้มข้อมูลในลักษณะนี้ เรียกว่า เป็นการกระจาย (fragmentation) โปรแกรมระบบดอสรุ่น 6.0 จึงมีคำสั่ง "defrag" ซึ่งจะช่วยจัดการนำแฟ้มข้อมูลเดียวกันมาเรียงให้ติดต่อกัน เพื่อให้การค้นคืนแฟ้มทำได้รวดเร็วขึ้น ในระบบวินโดว์ ก็จะต้องสั่งให้มีการนำแฟ้มมาต่อกันนี้เป็นครั้งคราวเสมอ
(ดิสคฺ) { disked, disking, disks } n. แผ่นกลม, แผ่นเสียง, จานกลม. vt. พรวนดินด้วยคราดกลม., Syn.disc, circle จานบันทึกหมายถึง อุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มีลักษณะกลม เหมือนจาน มีอยู่ 3 ชนิด1. จานอ่อน floppy disk มีลักษณะอ่อน บรรจุในซองกระดาษ มีขนาด 5.25x5.25 นิ้ว การเก็บรักษาค่อนข้างยาก จุข้อมูลได้ประมาณสามแสนหกหมื่นถึงหนึ่งล้านสองแสนตัวอักษร 2. จานบันทึกอีกชนิดหนึ่งมีลักษณะแข็งกว่าเพราะห่อหุ้มด้วยพลาสติกแข็ง มีขนาดเล็กกว่าแบบแรก มักเรียกกันว่า diskette มีขนาด 3.5x3.5 นิ้ว จุข้อมูลได้สูงสุดถึง 1.44 ล้านตัวอักษร ปัจจุบันเป็นที่นิยมมากกว่าแบบแรก เพราะเก็บรักษาได้ง่ายกว่า3. จานบันทึกแข็งหรือที่นิยมเรียกว่า ฮาร์ดดิสก์ hard disk มักจะบรรจุไว้ในกล่องพร้อมกับหน่วยขับ drive แล้วเก็บอยู่ภายในตัวเครื่องเลย ฮาร์ดดิสก์นั้นมีความจุสูงมากประมาณ 100-800 ล้านตัวอักษร เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เพราะมีประสิทธิภาพสูงและราคาลดลงทุกวัน ปัญหาเรื่องการเก็บรักษาเกือบจะไม่มีเลย แต่อาจจะมีปัญหาเรื่องเกี่ยวกับไวรัสได้นอกจาก 3 ชนิดที่ได้กล่าวถึงมาแล้ว ก็ยังมีอีกหลายชนิด เช่น จานบันทึกที่นำมาใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ mainframe ที่เรียกว่าชุดจานบันทึก disk pack ซึ่งจะมีแกนยึดติดกันตรงกลาง, จานแสงหรือจานเลเซอร์ optical or laser disk, จานวีดิทัศน์ vedio disk, จานบันทึกอัดแน่น compact disk ซึ่งล้วนแต่มีความจุสูงมาก ปัจจุบันจานบันทึกได้รับความนิยมมากกว่าสื่อบรรจุข้อมูลอื่น เพราะราคาถูก ใช้ซ้ำได้ และการค้นคืนข้อมูลทำได้รวดเร็วกว่าสื่อชนิดอื่น
(อีรอม) ย่อมาจาก electrically alterable read - only memory แปลว่า หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดแก้ไขได้) เป็นรอม (ROM) ชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถนำมาลบและบันทึกใหม่ได้โดยไม่ต้องย้ายออกมาจากแผงวงจร การบรรจุโปรแกรมใหม่ทำได้โดยใช้กระแสไฟฟ้า และทำได้สะดวกกว่า อีพรอม (EPROM) มากดู ROM และ EPROM ประกอบ
ย่อมาจาก electrically erasable read only memory (แปลว่า หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดลบได้ด้วยกระแสไฟฟ้า) เป็นรอมชนิดหนึ่งซึ่งสามารถนำมาลบและบันทึกใหม่ได้โดยไม่ต้องย้าย ออกมาจากแผงวงจร การบรรจุโปรแกรมใหม่ทำได้โดยใช้กระแสไฟฟ้า และทำได้สะดวกกว่า อีพรอม (EPROM) มาก มีความหมายเหมือน EAROMดู ROM และ EPROM ประกอบ
หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวชนิดแก้ไขได้ใช้ตัวย่อว่า EAROM (อ่านว่าอีรอม) เป็นรอม (ROM) ชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถนำมาลบและบันทึกใหม่ได้โดยไม่ต้องย้ายออกมาจากแผงวงจร การบรรจุโปรแกรมใหม่ทำได้โดยใช้กระแสไฟฟ้า และทำได้สะดวกกว่าอีพรอม (EPROM) มากดู ROM และ EPROM ประกอบ
(ฟี'ซะเบิล) adj. กระทำได้, เป็นไปได้, ดำเนินการได้, เหมาะสม., See Also:fessability, feasibleness n. feasibly adv., Syn.practicable, Ant.unworkable
คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่เริ่มมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ มนุษย์ได้พัฒนาเครื่องมือนี้ติดต่อกันมาตลอด ทำให้มีการแบ่งวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ออกเป็นยุค (generation) พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ยุคแรกถือว่าเริ่มตั้งแต่ ค.ศ.1951 ถึงต้น ค.ศ.1960 คอมพิวเตอร์สมัยนั้นสามารถเก็บโปรแกรมได้ ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยความจำ ทำให้มีขนาดใหญ่ กินเนื้อที่มาก ระหว่างทำงาน จะทำให้เกิดความร้อนสูงตลอดเวลา การทำงานจะทำได้ทีละอย่าง และจะเรียงกันไปตามลำดับคำสั่งอย่างเคร่งครัด ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมก็มีแต่ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ดู generation ประกอบ
(ไฟล'อิง) adj. ซึ่งบิน, เกี่ยวกับการบิน, ล่องลอย, เหมือนบิน, แกว่งไปมา, ปลิว, สะบัด, เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว, แพร่กระจาย, เร่งรีบ, สั้น, ชั่วประเดี๋ยว. n. การบิน. adv. ซึ่งทำได้รวดเร็ว, ไม่เฉไม่เฉียง, Syn.speedily, swiftly
ฟรีแวร์ของฟรีหมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่แม้จะจดทะเบียนลิขสิทธิ์เอาไว้ แต่ก็ยินยอมให้มีการคัดลอกเอาไปใช้ได้อย่างเสรี โดยไม่คิด เงิน (ต่างกับ public domain ซึ่งไม่มีการจด ทะเบียนใด ๆ เลย ใครจะคัดลอกหรือนำไปใช้ ก็สามารถทำได้ทั้งสิ้น)
ภาษาแนวมนุษย์หมายถึงภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ เขียนได้ง่าย เข้าใจง่าย และกระทัดรัด สะดวกในการใช้งาน ภาษานี้มีลักษณะเหมือนภาษาหนังสือ ใช้เขียนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่คอมพิวเตอร์จะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อนจึงจะเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ1. ภาษาระดับสูง (high level language) 2. ภาษาระดับต่ำ (low level language) การใช้ภาษามนุษย์เขียนชุดคำสั่งนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่าย มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่าย เขียนได้สั้น เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลายคำสั่งในภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดีตรงที่สามารถใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่าเพราะไม่เสียเวลาในการแปลดู computer language ประกอบดู machine language เปรียบเทียบ
เครื่องพิมพ์แบบกระทบเป็นเครื่องพิมพ์ชนิดหนึ่งที่พิมพ์ข้อความลงบนกระดาษ โดยใช้ฆ้อนตอกผ่านผ้าหมึกพิมพ์ลงบนกระดาษ ทำให้เกิดเป็นรูปตัวอักขระต่าง ๆ มีหลายชนิด เช่น เครื่องพิมพ์แบบจาน (daisy wheel) เครื่องพิมพ์แบบดรัม (drum printer) และเครื่องพิมพ์แบบสายโซ่ (chain printer) การพิมพ์แบบนี้ อาจทำได้ทีละหลายชุดพร้อม ๆ กัน โดยใช้กระดาษก๊อปปี้ (เครื่องพิมพ์เลเซอร์ทำไม่ได้)
แฟ้มดรรชนีหมายถึง แฟ้มพิเศษต่างหากที่บอกตำแหน่งที่อยู่ของระเบียนต่าง ๆ ที่เก็บ ไว้ในแฟ้มฐานข้อมูล (database file) การหาข้อมูลด้วยวิธีนี้ จะทำได้เร็วมาก
เครื่องปลายทางฉลาดเครื่องปลายทางเชิงปัญญาหมายถึง เครื่องปลายทางที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย (network) แต่ในบางครั้งสามารถทำงานอย่างอิสระได้ เครื่องปลายทางประเภทนี้ จะต้องมีคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์อยู่ด้วย กล่าวคือ ต้องมีหน่วยความจำ หน่วยประมวลผล ฯ เครื่องปลายทางอีกแบบหนึ่ง จะเป็นแบบที่เรียกว่า เครื่องปลายทางธรรมดา (dumb terminal) กล่าวคือ จะทำได้เพียงรับหรือแสดงผลเท่านั้นมีความหมายเหมือน smart terminal ดู dumb terminal เปรียบเทียบ
ขนาดวางตัก <คำแปล>แล็ปทอป <คำแปล>ใช้บอกขนาดของคอมพิวเตอร์ยุคใหม่ที่มีขนาดเล็กจนวางบนตักได้ในขณะใช้ ปัจจุบัน นิยมเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนี้ว่า ขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) เพราะสามารถนำติดตัวไปไหนมาไหนได้เหมือนสมุดบันทึก มีน้ำหนักน้อย และทำได้บางลงมาก
แถบบันทึกแม่เหล็กหมายถึง แถบที่ทำด้วยพลาสติกฉาบออกไซด์ของโลหะ มีลักษณะคล้ายเทปหรือแถบบันทึกเสียง ม้วนอยู่บนวงล้อ มีหลายขนาด เป็นต้นว่า ขนาดยาว 2, 400 ฟุต 1, 200 ฟุต และ 600 ฟุต ตัวเทปกว้าง ? นิ้ว บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 800-1, 600 ตัวอักษรต่อความยาวของเนื้อเทป 1 นิ้ว เทปหรือแถบบันทึกนี้สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล คอมพิวเตอร์จะมีเครื่องมือที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลลงในเทป เรียกว่า หน่วยขับเทป (tape drive) เราสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ลงทับบนข้อมูลเก่าได้เหมือนการบันทึกเพลง ข้อมูลเดิมจะหายไปโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของเทปก็คือ การค้นหาข้อมูลทำได้ช้า เพราะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นเทปเสมอ ถ้าข้อมูลอยู่ปลายเทป ก็จะเสียเวลานาน การค้นหาแบบนี้เรียกว่าการเข้าถึงแบบเรียงลำดับ (sequential access) ซึ่งตรงข้ามกับการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access) ของจานบันทึก
ระบบการจัดการสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า MIS อ่านว่า เอ็มไอเอส เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น
(เอ็มซีเอ) ย่อมาจาก micro channel architecture หมายถึง ช่องเสียบแผ่นวงจรตัวเล็กซึ่งบริษัทไอบีเอ็มสร้างไว้ใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่น PS/2 โดยมีจุดประสงค์ที่จะทำให้การถ่ายโอนข้อมูล ทำได้รวดเร็วและง่าย กล่าวคือเพียงแต่เสียบแผ่นวงจรลงในช่องเสียบ MCA นี้เท่านั้น
ช่องเสียบแผ่นวงจรตัวเล็กใช้ตัวย่อว่า MCA หมายถึง ช่องเสียบแผ่นวงจรตัวเล็กซึ่งบริษัทไอบีเอ็มสร้างไว้ใช้กับคอมพิวเตอร์รุ่น PS/2 โดยมีจุดประสงค์ที่จะทำให้การถ่ายโอนข้อมูล ทำได้รวดเร็วและง่าย กล่าวคือเพียงแต่เสียบแผ่นวงจรลงในช่องเสียบ MCA นี้เท่านั้น
(o) - Pref."เกลียด" เอ็มไอเอส <คำอ่าน>ย่อมาจาก management information system เป็นวิชาที่ว่าด้วยระบบการจัดการสารสนเทศ มีความหมายกว้าง ๆ ว่าเป็นการนำเอาข้อมูลมาประมวลผลให้เกิดเป็นความหมายที่จะทำให้เข้าใจได้ ซึ่งต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก เพราะทำได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อเสนอให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วขึ้น
(ออพ'เพอระเบิล) adj. กระทำได้, ใช้การได้, ทำหารผ่าตัดได้., See Also:operability n. operably adv., Syn.feasible
(ออพพะเร'เชินเนิล) adj. ทำได้, ใช้ได้, เกี่ยวกับปฏิบัติการทางทหาร, เกี่ยวกับศัลยกรรม, เกี่ยวกับการคำนวณหรือคณิตศาสตร์., Syn.working
เส้นใยนำแสงหมายถึงวัสดุที่ทำจากใยแสง หรือพลาสติก ที่สามารถสะท้อนแสง หรือแสงผ่านทะลุได้ ใช้ในการถ่ายโอนข้อมูลหรือสื่อสารข้อมูลแบบหนึ่ง สามารถถ่ายเทข้อมูล ได้ทีละมาก ๆ และทำได้รวดเร็ว เช่น สามารถส่งเอกสาร 2700 หน้าได้ภายในเวลาเพียง 6 วินาที ในปัจจุบัน เชื่อกันว่า ราคาโดยรวมถูกกว่าการถ่ายโอนข้อมูลด้วยวิธีอื่น
(เอาทฺ'โก) n. การออกไป, นอกเขต, รายจ่าย, สิ่งที่ไหลออกไป, การกระทำได้ดีกว่า, การเดินทางได้ไกลกว่า -S.
ตำแหน่งแบ่งหน้าคำนี้มีใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) หรือโปรแกรมตารางจัดการ (spread sheet) หมายถึง ตำแหน่งที่มีการเปลี่ยนหน้าใหม่ โดยปกติการเปลี่ยนหน้าจะทำได้ 2 แบบ คือ แบบเปลี่ยนไปเองโดยอัตโนมัติ หมายถึง การพิมพ์ได้มาถึงจุดสิ้นสุดของหน้าที่โปรแกรมกำหนดไว้ ก็จะขึ้นหน้าใหม่โดยอัตโนมัติ หากมีการลบหรือเพิ่มข้อความหรือภาพ ก็จะกระทบมาถึงตำแหน่งนี้ด้วย ส่วนแบบที่สอง คือ การกำหนดตำแหน่งที่จะขึ้นหน้าใหม่ โดยใช้คำสั่งกำหนดว่าจะให้เป็นที่หนึ่งที่ใด เมื่อถึงจุดนี้แล้ว เลขหน้าก็จะเปลี่ยนไปให้ เท่ากับเป็นการขึ้นหน้าใหม่เช่นกัน
เครื่องอ่านแถบกระดาษเครื่องอ่านเทปกระดาษหมายถึงอุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการอ่านรูที่เจาะบนแถบกระดาษ แล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านี้ ทำได้โดยใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อทำหารประมวลผลต่อไปดู paper tape ประกอบ
การประมวลผลแบบขนานหมายถึง การที่คอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้มากกว่าสองอย่างในเวลาเดียวกัน ในกรณีเช่นนี้ คอมพิวเตอร์จะต้องเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ไม่ใช่พีซีหรือแมคอินทอช เพราะจะต้องมีตัวประมวลผลเป็นพัน ๆ ตัว (ในขณะที่ไมโครคอมพิวเตอร์มีเพียงตัวเดียว) จึงจะสามารถทำได้ การประมวลผลขนาดนี้ มักใช้กับงานประเภทปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence)
(พอยทฺ) n. จุด, จุดประสงค์, จุดเครื่องหมาย, จุดทศนิยม, สิ่งที่มีปลายแหลม, สถานที่, ตำแหน่ง, ทิศทาง, ขั้น, ตอน, สิ่งที่สำคัญที่เข้าใจ, ประเด็น, จุดสำคัญ, เอกลักษณ์, ข้อแนะ, ข้อคำขำ, หน่วย, หน่วยวัด, ขีด, คะแนน, การชี้, vt., vi. ชี้, เล็ง, แจ้ง, ทำให้แหลม, เสริม, ใส่จุดทศนิยม -Phr. (inpoint เข้าประเด็น ทำได้, เกี่ยวข้อง)
(แพรค'ทิคะเบิล) adj. ปฏิบัติได้, ทำได้, ใช้ได้, เหมาะสม, ผ่านได้., See Also:practicability, practicableness n. practicably adv., Syn.feasible
(แพรค'ทิเคิลลี) adv. ได้ผล, อย่างทำได้, ในทางปฏิบัติ, Syn.virtually
ปลุกเครื่องอีกครั้งหมายถึง การเริ่มเครื่องใหม่อีกครั้งหนึ่ง (การเปิดสวิตซ์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเริ่มการปฏิบัติงานครั้งแรกนั้น เรียกว่า "boot") ทำได้ 2 วิธี คือปิดแล้วเปิดสวิตซ์ใหม่ เรียกว่า "cold boot" ส่วนอีกวิธีหนึ่งที่เรียกว่า "warm boot" คือการกดแป้น Ctrl, Alt, Del พร้อม ๆ กัน หรือกดปุ่ม Reset ที่ตัวเครื่อง (เฉพาะเครี่องพีซี) มักใช้เมื่อเครี่องหยุดชะงัก (hang) การทำเช่นนี้จะลบล้างทุกอย่างที่สร้างไว้แล้วให้หมดไปด้วย
อัตราการทำใหม่หมายถึง อัตราความเร็วที่เครื่องสามารถจะสร้างภาพใหม่ หลังจากที่ได้รับข้อมูลเพิ่มขึ้นหรือมีการแก้ไขเพิ่มเติม เมื่อมีการสร้างภาพใดภาพหนึ่งไปแล้ว หากมีการแก้ไขหรือย้าย จอภาพจะต้องสร้างภาพใหม่ทุกครั้ง ในการสร้างภาพใหม่นี้ ยิ่งทำได้เร็วเท่าใดยิ่งดี อัตราความช้า/เร็ว ของการสร้างภาพใหม่นี้ขึ้นกับคุณภาพของจอด้วย
การประมวลผลแบบกลุ่มระยะไกลหมายถึง การประมวลผลแบบเป็นกลุ่มที่เครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยรับข้อมูล และหน่วยแสดงผลไม่ได้อยู่ในบริเวณเดียวกัน การป้อนข้อมูลทุกอย่างทำจากเครื่องปลายทาง (terminal) ที่อยู่ห่างไปจากบริเวณที่ตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูลทำได้โดยผ่านสายโทรศัพท์ สายเคเบิล ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม การแสดงผลอาจออกผลได้ทั้งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือที่เครื่องปลายทางดู batch processing ประกอบ
(สเครพ) vt., vi., n. (การ) ขูด, ขูดออก, ครูด, ถู, เช็ด, เช็ดออก, โกน, เบียด, เฉียด, แฉลบ, รวบรวมด้วยความยากลำบาก, อดออม, กระทำได้อย่างหวุดหวิด, พอดำเนินชีวิตผ่านไปได้วัน ๆ หนึ่ง, เสียงกรอบแกรบ, เสียงถู, เสียงเสียดสี, บริเวณขูด (ถลอก, เช็ด, โกน) , สถานการณ์ที่ลำบาก, สภาพที่ลำบาก, ความ
คอมพิวเตอร์ยุคที่สองหมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ราวทศวรรษ 1960 จนถึงต้น 1970 มีคุณสมบัติที่สำคัญคือ มีขนาดเล็กว่ายุคที่หนึ่งมาก ใช้กำลังไฟน้อยลง และให้ความร้อนน้อยลงด้วย เพราะหน่วยความจำที่ใช้เป็น วงจรที่ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) แทนที่จะเป็นหลอดสุญญากาศเหมือนยุคที่หนึ่ง ส่วนหน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) นิยมใช้เทปหรือแถบบันทึก และจานบันทึก การนำข้อมูลเข้าและการแสดงผล สามารถทำได้ควบคู่ไปกับการคำนวณ เริ่มรู้จักใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system) ควบคุมดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์
หมายถึง เครื่องปลายทางที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย (network) แต่ในบางครั้งสามารถทำงานอย่างอิสระได้ เครื่องปลายทางประเภทนี้ จะต้องมีคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์อยู่ด้วย กล่าวคือ ต้องมีหน่วยความจำ หน่วยประมวลผล ฯ เครื่องปลายทางอีกแบบหนึ่ง จะเป็นแบบที่เรียกว่า เครื่องปลายทางธรรมดา (dumb terminal) กล่าวคือ จะทำได้เพียงรับหรือแสดงผลเท่านั้นมีความหมายเหมือน intelligent terminalดู dumb terminal เปรียบเทียบ