(คฺลาด) ก. เคลื่อนจากที่หมาย, เคลื่อนจากกำหนดเวลา
(-เคฺลื่อน) ก. ผิดจากความเป็นจริง, ไม่ตรงตามความเป็นจริง, เคลื่อนคลาด ก็ว่า.
(-แคฺล้ว) ก. รอดไป, พ้นไป, แคล้วคลาด ก็ว่า.
น. ลักษณะที่แสงหักเหออกจากผิวเลนส์ และลักษณะที่แสงสะท้อนออกจากผิวโค้งของกระจกแล้วไม่ตัดร่วม ณ จุดเดียวกัน หรือลักษณะที่แสงขาวผ่านเลนส์แล้วเกิดการกระจายออกเป็นสีต่าง ๆ
ความแตกต่างระหว่างตำแหน่งของดาวฤกษ์ หรือเทห์ฟากฟ้าที่สังเกตเห็นกับตำแหน่งจริงของมันในขณะนั้น.
ก. ผิดจากความเป็นจริง, ไม่ตรงตามความเป็นจริง, คลาดเคลื่อน ก็ว่า.
ก. รอดไป, พ้นไป, คลาดแคล้ว ก็ว่า.
คลาด เช่น อายแก่ราชาคลา ยศแท้ (โลกนิติ).
(คฺลาด) ก. คลาด, เคลื่อนจากที่หมาย, เช่น เร่งผ้ายเร่งคลาศคลา แลนา (ลอ).
(คฺลิด) ก. ขัด, แคลง, เคลื่อน, เคล็ด, เช่น มาอย่าคลิดอย่าคลาด (ม. คำหลวง มหาราช).
น. สารฟีนอล (phenol) มีสูตรเคมี C6H5OH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีกลิ่น ละลายนํ้าได้บ้าง มีฤทธิ์กัด เป็นพิษ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก และสีย้อมผ้า มักเรียกคลาดเคลื่อนว่า กรดคาร์บอลิก.
น. ผู้ที่ไปไหนไปด้วยกันแทบไม่คลาดกันเลย
ว. กระชั้นชิด, ไม่คลาด, ไม่ห่าง, (ใช้ในอาการที่คุมหรือติดตาม) เช่น คุมแจ ตามแจ.
ก. ให้มีให้เป็นหรือไม่ให้มีไม่ให้เป็น เช่น ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์จงดลบันดาลให้ประสบความสำเร็จ หรือให้แคล้วคลาดจากภัยอันตราย.
ว. คล่องแคล่ว, ว่องไว, เช่น ไต่เดียะ ว่าวปักเป้าส่ายเดียะ, อย่างกระชั้นชิดไม่ให้คลาดสายตา เช่น ตามเดียะ.
ว. เห็นผิดพลาดไป, เห็นคลาดเคลื่อนไปจากของเดิม.
สิ่งที่บ่งระบุระดับความถูกต้องในการแสดงค่าของจำนวนจริงในรูปของทศนิยม เช่น ทศนิยม ๓ ตำแหน่ง หมายถึง ระดับความถูกต้องชนิดที่มีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน ๑ ใน ๑, ๐๐๐.
น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม.
(-ระไพ) ว. ไม่มีภัย, แคล้วคลาดจากภัยอันตราย.
เรียก “นะ” ที่เขียนเป็นอักษรขอม สำหรับลงและปลุกเสกให้แคล้วคลาดตลอดปลอดภัยว่า “นะปัดตลอด”.
ว. ผิดแปลกไปเล็กน้อย, คลาดเคลื่อน, เพี้ยน ก็ว่า.
ว. ผิดแปลกไปเล็กน้อย เช่น หน้าเพี้ยน, คลาดเคลื่อน เช่น พูดเพี้ยน เสียงเพี้ยน, ผิดเพี้ยน ก็ว่า, โบราณใช้ เพียน ก็มี
น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง เรียกว่า ทศพิธราชธรรม มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม.
ความเคลื่อนคลาด, ความผิด, เช่น อักขราวิบัติ.
(วิปะลาด, วิบปะลาด) ก. คลาดเคลื่อนไปจากธรรมดาสามัญ เช่น สติวิปลาส ตัวอักษรวิปลาส สัญญาวิปลาส.
น. สายชล, สายน้ำ, เช่น โอ้เรือพ้นวนมาในสาชล ใจยังวนหวังสวาทไม่คลาดคลา (นิ. ภูเขาทอง).
น. เสียงดนตรีหรือเสียงร้องเพลงที่คลาดเคลื่อนไปจากระดับเล็กน้อย, เสียงพูดที่มีสำเนียงคลาดเคลื่อนเล็กน้อย.
ว. ใช้เข้าคู่กับคำ ห่าง เป็น ห่างแห หรือแหห่าง เช่น กระแหแหห่างชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม (เห่เรือ).
(อะวิโรด, อะวิโรทะนะ) น. ความไม่ประพฤติผิดธรรม, ความไม่คลาดจากธรรม, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. (ดู ทศพิธราชธรรม และ ราชธรรม).