239 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ขอร้อง*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ขอร้อง, -ขอร้อง-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)begSee Also:ask, request, entreat, beseech, imploreSyn.ขอ, ร้องขอ, อ้อนวอนExample:ทางโรงเรียนขอร้องนักเรียนและผู้ปกครองให้บริจาคเงินช่วยอุทกภัยภาคใต้Thai Definition:ขอให้ช่วยเหลืออย่างเห็นอกเห็นใจ
(n)askingSee Also:request, begging, entreaty, beseechingExample:การขอร้องอย่างสุภาพช่วยให้เหล่าผู้ชุมนุมลดความรุนแรงลงได้
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. ขอให้ช่วยเหลือ, ขอให้ทำตามที่ขอ.
ใช้ประกอบหน้ากริยาแสดงความขอร้องอย่างสุภาพ เช่น กรุณาส่ง
(กน-) น. บุคคลที่ทางการให้เจ้าหน้าที่ไปขอสัมภาษณ์และขอร้องให้ช่วยรับเป็นพยาน มี ๓ ประเภทคือ ทิพพยาน อุดรพยาน และอุตริพยาน เช่น อนึ่งกลพยานนั้น คือวานท่านไปถามเป็นคำนับ (สามดวง).
ก. บังคับหรือขอร้องแกมบังคับ เช่น เกณฑ์ประชาชนมาทำถนน.
ก. ห้ามเชิงขอร้อง, ขอให้ละเว้นการกระทำ.
ใช้เป็นคำช่วยกริยาแสดงการขอร้องอย่างสุภาพ เช่น ใคร่ขออนุญาตดำเนินการ.
น. ผู้ชอบทำเอาหน้า, ผู้ชอบเสนอหน้าเข้าไปทำธุระให้คนอื่นโดยเขาไม่ได้ขอร้อง.
เป็นคำขอร้องให้รั้งรอไว้ก่อน.
ว. คำแสดงกริยารวมหรือเพิ่ม เช่น สวยด้วยดีด้วย, แสดงกริยาร่วมกันหรือในทำนองเดียวกัน เช่น กินด้วย, แสดงความขอร้อง เช่น ช่วยด้วย บอกด้วย.
ขอร้องแกมบังคับ เพื่อเอาทรัพย์สินเป็นต้นอย่างไม่ถูกต้อง, รีดไถ.
ก. ขอร้องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ช่วยโดยให้คำมั่นว่าจะให้สิ่งของตอบแทนหรือทำตามที่ให้สัญญาไว้เมื่อเป็นผลสำเร็จ, บนบาน ก็ว่า.
ก. ขอร้องให้ผีสางเทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือโดยจะแก้บนเมื่อสำเร็จประสงค์แล้ว.
ก. ขอร้องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้ช่วยโดยให้คำมั่นว่าจะให้สิ่งของตอบแทนหรือทำตามที่ให้สัญญาไว้เมื่อเป็นผลสำเร็จ, บน ก็ว่า.
ก. ขอร้องให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วยเหลือ.
ก. กิริยาที่พระภิกษุสามเณรรับของที่เขานำมาใส่บาตร, โดยปริยายหมายถึง กิริยาที่พระภิกษุสามเณรขอหรือขอร้อง เช่น เรื่องนี้ขอบิณฑบาตให้เลิกแล้วต่อกัน.
ว. ไม่ใคร่พูดขอร้องต่อใคร ๆ, ไม่ใคร่ทักทายใคร.
(โปฺรด) ก. ถูกใจหรือพอใจมาก เช่น โปรดสิ่งสวยงาม, แสดงความเมตตากรุณาโดยปลดเปลื้องความเดือดร้อนเป็นต้น เช่น โปรดข้าพเจ้าสักครั้ง, ใช้ประกอบหน้ากริยา แสดงความขอร้องอย่างสุภาพ เช่น โปรดนั่งนิ่ง ๆ.
น. การแสดงความอ่อนน้อม อ้อนวอน หรือขอร้องโดยวิธียกมือไหว้ เช่น มืออ่อนเป็นฝักถั่ว, การพลอยยกมือแสดงความเห็นชอบตามเขาไป มักใช้พูดตำหนินักการเมืองในเวลาลงคะแนนเสียง.
(พิดสะถาน) ก. มุ่งหมาย, ขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อช่วยบันดาลให้ประสบผลสำเร็จในสิ่งที่ตนมุ่งหมาย.
คำขอร้องให้รั้งรอไว้ก่อน เช่น ยังก่อน อย่าเพิ่งกิน.
(ยาจะนะ, ยาจะนา) น. การขอ, การขอร้อง, การวิงวอน.
ก. ขอร้องให้ช่วยออกเงินทำบุญเป็นต้นตามสมัครใจ เช่น เรี่ยไรสงเคราะห์เด็กกำพร้า.
ก. ตั้งแง่ไม่ยอมทำหรือไม่ยอมให้ทำง่าย ๆ ตามที่มีผู้งอนง้อหรือขอร้อง เพราะคิดว่าตัวมีดี เช่น ถ้าทำเป็นก็ทำให้หน่อย อย่าเล่นตัวไปเลย.
ว. อาการที่พูดขอร้องให้เลิกแล้วต่อกัน เช่น เหตุการณ์ก็ผ่านพ้นไปแล้ว เรื่องนี้ขอให้แล้วกันไป.
(วินยัดติ) น. การขอร้อง, การบอกกล่าว, การชี้แจง, รายงาน.
(สะหฺนอง) ก. ทำตามที่ได้รับคำสั่งหรือคำขอร้องเป็นต้น เช่น สนองโครงการในพระราชดำริ สนองนโยบายของรัฐบาล
ว. คำประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้อง เช่น ไปเสียเถิด.
คำประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้องเป็นต้น เช่น ไปเสียเถิด.
ก. ขอร้องให้ช่วยเหลือ.
(อะทิดถาน) ก. ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิษฐาน ก็ว่า.
(อะทิดถาน, อะทิดสะถาน) ก. ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิฏฐาน ก็ว่า.
ก. พยายามพูดขอร้อง.
(-จะนะ) น. การขอร้อง, การวิงวอน, การเชื้อเชิญ.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
คำแสดงความปรารถนา, คำขอร้อง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คำแสดงความปรารถนา, คำขอร้อง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น[การทูต]
ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ[การทูต]
วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้[การทูต]
ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน[การทูต]
สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย[การทูต]
คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[การทูต]
คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ?[การทูต]
ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน[การทูต]
เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้?[การทูต]
การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้[การทูต]
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ[การทูต]
ภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์[การทูต]
การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ขอร้องThe Return (2010)
ผมขอร้องPriest (2011)
งั้น ท่านนั่งแบบนี้ได้ไหม ข้าอยู่นี่เพื่อตอบคำขอร้องของท่านทุกอย่างAladdin (1992)
เธอให้ผมมาขอร้องคุณThe Bodyguard (1992)
ขอร้องเถอะ เขาไม่รู้เรื่องอะไรThe Bodyguard (1992)
ท่านพ่อป่วยหนักเลย หลังจากเราทะเลาะกัน ฉันอยากมาที่นี้ เพราะว่าเธอขอร้องฉันWuthering Heights (1992)
ขอร้องเถอะ ช่วยหาเค้าที ห๊าHero (1992)
- ขอร้อง นายรู้จักห้องอาหารใช่มั้ย?Cool Runnings (1993)
- ขอร้อง!Cool Runnings (1993)
ที่จะได้ร่วมทีมปี 68 ได้มั้ย นายขอร้องให้ฉันพูดกับเคิร์ทCool Runnings (1993)
ขอร้องเถอะ เปลี่ยนกฏเนี่ยนะ?Cool Runnings (1993)
- ตอบมาเถอะพ่ล ขอร้อง!Cool Runnings (1993)
ขอร้องล่ะ?Hocus Pocus (1993)
ผมจะเฝ้าขอร้องให้จน คุณให้ฉันตอบร่วมเพศ!In the Name of the Father (1993)
เธอคิดว่ามันเป็นการขอร้องที่มากเกินไปThe Joy Luck Club (1993)
เป็นเวลาหลายเดือนที่ฉันคอย ให้แม่มาขอร้องให้ฉันเล่นหมากรุกอีก แต่เธอไม่เคยพูดขึ้นมาเลย ราวกับว่าฉันไม่เคยเล่นหมากรุกมาก่อนเลยThe Joy Luck Club (1993)
ฉันจะเดิน และจะหายไปเลย ขอร้องฉันรู้สึกโดดเดี่ยวJunior (1994)
แต่ขอร้องอย่าทำตาแบบนั้นสิJunior (1994)
- ขอร้อง ให้ฉันช่วยเถอะJunior (1994)
แต่... เธอยังมีปืนของเธอ ใช้มัน และขอร้อง อย่ายิงออกนอกหน้าต่างLéon: The Professional (1994)
- ท่านปู่ข้าอยากขอร้องท่านRapa Nui (1994)
อย่าเหยียดหยามกัน ขอร้องWild Reeds (1994)
เขาอยากหนีทัพ และขอร้องแม่เธอWild Reeds (1994)
นี่ฟังนะ ฉันขอร้องให้ช่วยก็ได้The One with the East German Laundry Detergent (1994)
ช่วยฉันหน่อยนะ ขอร้องThe One with the East German Laundry Detergent (1994)
ผมไม่อยากให้มีฟินาฮ่อนการูในแผนที่ เพราะเราขอร้อง เพราะเราอ้อนวอนเขาThe Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
ไหน ๆ คุณก็ขอร้อง - และก็หน้าแดง - ไม่The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995)
มาสิ, ตอนนี้ ขอร้องเพลงมัน!Pinocchio (1940)
- เเม็กซิมคะ ขอร้องล่ะRebecca (1940)
ขอร้องละ ยืนขึ้นซิBeneath the Planet of the Apes (1970)
ฉันขอร้องให้เธอเป็นผู้ดูเเล สภาวิทยาศาสตร์สูงสุดช่วงที่ฉันไม่อยู่Beneath the Planet of the Apes (1970)
ส่งผมไปทีขอร้องล่ะBeneath the Planet of the Apes (1970)
- ผมขอร้องน่า!Jaws (1975)
เธอขอร้องฉันไม่ใช่การไปSalò, or the 120 Days of Sodom (1975)
เรื่องที่ผมพูดเป็นความจริง และผมพูดตามที่พระเจ้าขอร้องOh, God! (1977)
ขอร้องเถอะน่า พวกAirplane! (1980)
มันจะทำให้คุณรู้สึกดีกว่าถ้าคุณรู้ พวกเรากำลังขอร้องแมททำในสิ่งศักดิ์สิทธิ์The Blues Brothers (1980)
แต่เราขอร้องท่าน ฮินดู มุสลิม และซิกข์ ช่วยให้เราได้พบกับแสงสว่างGandhi (1982)
- ขอร้อง!Cool Runnings (1993)
พวกเขาไม่หยุดหรอก แม้ว่าเราจะขอร้องGandhi (1982)
ผมจะขอร้องเองGandhi (1982)
ขอร้องเถอะ ครั้งสุดท้ายที่ฉันเล่น ชีวิตฉันป่นปี้หมดJumanji (1995)
ขอร้องล่ะ!Clue (1985)
ขอร้องเถอะClue (1985)
ขอร้องล่ะ มีผู้หญิงอยู่ที่นี่นะClue (1985)
อย่าทำอย่างนี้น่า ขอร้องDay of the Dead (1985)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[khamkhørøng] (n) EN: request ; application
[khørøng] (v) EN: ask ; request ; implore ; beg  FR: demander ; solliciter ; faire appel à ; quémander
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)คำขอร้อง
(vi)ขอร้องSee Also:ขอSyn.request, beg
(vt)ขอร้องSee Also:ขอ
(idm)ตามคำขอร้องของ
(vt)ขอร้องSee Also:อ้อนวอน
(vt)ขอความกรุณาSee Also:ขอร้อง, อ้อนวอน, วิงวอนSyn.beg, ask
(phrv)เฝ้าบอกSee Also:คอยบอก, ขอร้องSyn.go on at
(phrv)ขอร้อง (อย่างสุภาพ)See Also:วิงวอน
(idm)ขอความเมตตาSee Also:ขอร้องSyn.fling on, throw on
(phrv)อ้อนวอน (แกมบังคับ)See Also:วิงวอน, ขอร้อง
(vt)อ้อนวอน (คำทางการ)See Also:วิงวอน, ขอร้อง, ออดอ้อน, ร้องขอSyn.beg, plead
(vi)อ้อนวอน (คำทางการ)See Also:วิงวอน, ขอร้อง, ออดอ้อน, ร้องขอSyn.beg, plead
(phrv)ไกล่เกลี่ยให้กับSee Also:ขอร้องให้กับSyn.intercede with
(phrv)ไกล่เกลี่ยให้กับSee Also:ขอร้องให้กับSyn.intercede for
(phrv)อ้อนวอนให้มีบางสิ่ง (ที่ลงมาจากสวรรค์) เกิดขึ้นกับSee Also:ขอร้องให้เกิด บางสิ่ง กับSyn.call down on
(phrv)อ้อนวอนให้มีบางสิ่ง (ที่ลงมาจากสวรรค์) เกิดขึ้นกับSee Also:ขอร้องให้เกิด บางสิ่ง กับSyn.call down on
(int)คำอุทานเพื่อเรียกร้องความสนใจหรือขอร้องให้คนเงียบ
(vt)ขอร้องให้ทำSyn.request
(vt)ขอร้องSee Also:วิงวอนขอ
(vt)อ้อนวอนSee Also:ขอร้อง, วิงวอนSyn.beg, beseech, plead
(vt)ขอร้องSee Also:อ้อนวอนSyn.invoke, appeal to, petitionAnt.deny, disclaim
(n)คำขอร้องSee Also:การอ้อนวอนSyn.appeal, petition, supplication
(vt)วิงวอน (เทพเจ้า)See Also:ขอร้อง, อ้อนวอนSyn.call upon, appeal to, petition
(vt)ขอร้อง
(n)คำอ้อนวอนSee Also:คำขอร้องSyn.prayer, request, supplication
(vt)อ้อนวอนSee Also:ขอร้องSyn.appeal, request, solicit
(n)การขอร้องSee Also:การวิงวอนSyn.appeal, request
(adv)ได้โปรด (ใช้แสดงการขอร้อง)See Also:กรุณา, โปรด
(int)ได้โปรด (ใช้แสดงการขอร้อง)See Also:กรุณา, โปรด
(n)ผู้ขอร้องSee Also:ผู้เรียกร้อง
(phrv)ขอร้องSee Also:วิงวอน
(phrv)ขอร้องกับSee Also:วิงวอนกับ
(phrv)กระตุ้นSee Also:ขอร้อง, บังคับSyn.press for
(vt)ขอร้องSee Also:ขอ, เรียกร้องSyn.ask for, demand, desire
(vt)ขอร้องSee Also:เรียกร้องSyn.request, require
(adj)ไม่ได้บังคับSee Also:ไม่ได้ขอร้อง, ไม่ได้รับเชิญSyn.improvidentAnt.provident
(n)คำขอร้องอย่างสุภาพ (คำเป็นทางการ)Syn.desire
(n)คำกริยาที่ใช้สำหรับการขอร้องอย่างสุภาพ
Hope Dictionary
(อะจัวร์') vt. ให้สาบาน, ขอร้อง, อ ้อนวอน. -adjuration n., -adjuratory adj.
(อาสคฺ) vt., vi. ถาม, ถามข่าว, ขอร้อง, ขอ, เชื้อเชิญ, ซักถามSyn.entreat, crave
(บิเฮสทฺ') n. คำสั่ง, คำขอร้อง, พระบรมราชโองการSyn.command
(บิซีช') { besought/beseeched, besought/beseeched, beseeching, beseeches } vt., vi. อ้อนวอน, ขอร้อง, ขอความกรุณาSee Also:beseecher n.Syn.solicit
(บิสพีค') { bespoke, bespoke, bespeaking, bespeaks } vt., n. (การ) ถามหา, กล่าว, ว่า, แสดงให้เห็น, บอกล่วงหน้า, จองล่วงหน้า, ขอร้องSyn.indicateAnt.negate
(เอนทรีท') vt., vi. ขอร้อง, วิงวอน, อ้อนวอน.See Also:entreatingly adv. ดูentreat entreatment n. ดูentreatSyn.implore, beg
(เอนทรี'ที่) n. การขอร้อง, การวิงวอน, คำขอร้อง, คำวิงวอน, คำอ้อนวอน
(เอฟ'วะคะเบิล) adj. ซึ่งเรียกปลุกได้, ซึ่งขอร้องได้
(เอฟวะเค'เชิน) n. การเรียกปลุก, การขอร้อง, การเรียก, การกระตุ้นให้เกิดขึ้น, การนำมาซึ่ง
(ฮิสท) interj. คำอุทาน "ฮือ!" (เรียกร้องความสนใจหรือขอร้องให้คนเงียบ)
(อิมเพอ' ระทิฟช) adj. ซึ่งเลี่ยงไม่ได้, จำเป็น, เชิงบังคับ -n. คำสั่ง, ความจำเป็น, ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, น้ำเสียงขอร้องหรือเป็นเชิงบังคับ, มาลาเชิงบังคับของไวยากรณ์
(อิมพลอร์') vt. ขอร้อง, เรียกร้อง, วิงวอน, อ้อนวอน.See Also:implorer n. imploringly adv.Syn.beseech, entreat
(อิมพอร์ทู' นิที) n. การรบเร้า, การเรียกร้อง, การพร่ำ, การขอร้องอย่างไม่หยุด
(อินเทอะซีด') vi. ขอร้อง, ร้องขอ, ไกล่เกลี่ย, พยายามให้มีการประนีประนอมกัน.See Also:interceder n.Syn.arbitrate
(อินไวทฺ') vt. เชื้อเชิญ, เชิญ, ขอร้อง, ร้องขอ, ก่อให้เกิด, นำมาซึ่ง. vi. เชิญ, นำมาซึ่ง.See Also:inviter n.Syn.call for, ask
(อิน'วะเคท) vt. เรียกผี, ขอร้อง, อุทธรณ์, วิงวอน.See Also:invocative adj. invocator n.Syn.invoke
(อินโวค') vt. เรียกผี, ปลุกผี, ขอร้อง, อุทธรณ์, วิงวอน, ก่อให้เกิด, นำมาซึ่ง.See Also:invocable adj. invoker n.Syn.call
(โม'เชิน) n. การเคลื่อนที่, อำนาจการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหว, วิธีการหรือท่าทางในการเดิน, กิริยาท่าทาง, ข้อเสนอเป็นทางการ, การขอร้องต่อศาล, แรงดลใจ, ความโน้มน้าว -Phr. (in motion กำลังเคลื่อนที่) vt. โบกไม้โบกมือหรือให้สัญญาณเคลื่อนที่See Also:motioner n.
(ออบ'ซะเครท) vt. อ้อนวอน, วิงวอน, ขอความกรุณา, ขอร้องSee Also:obsecration n.
(ออบเทสท) vt. ขอร้องให้มาเป็นพยาน, ขอร้องขอ. vi. คัดค้าน.See Also:obtestation. n.Syn.beseech. protest
(พลี) n. คำแก้ตัว, คำแก้ต่าง, คำแก้ฟ้อง, ข้อต่อสู้ในอรรถคดี, คำขอร้อง, การขอร้อง, การวิงวอน
(พลีด) vt., vi. แก้ต่าง, แก้ฟ้อง, ขอร้อง, วิงวอน.See Also:pleadable adj. pleader n. pleading n.
(พอส'ชะลิท) n. ขอร้อง, ยืนยัน, อ้าง, วางสมมุติฐาน, วางหลัก. n. สมมุติฐาน, หลัก, หลักฐาน, หลักการพื้นฐาน, เงื่อนไขที่ต้องมีก่อน.See Also:postulation n. postulational adj.Syn.demand premise
(เพร) vt. สวดมนต์, อธิษฐาน, ขอร้อง, วิงวอน, ภาวนา, ขอได้โปรด.See Also:prayingly adv.
(แพร) n. การสวดมนต์, การอธิษฐาน, คำสวดมนต์, คำอธิษฐาน, การขอร้อง, การภาวนา, สิ่งที่อ้อนวอน, สิ่งที่ขอ, ผู้สวดมนต์, ผู้อธิษฐาน, ผู้วิงวอน
(รีเควสทฺ') n. การขอร้อง, ความต้องการ, คำขอร้อง, คำเรียกร้อง, คำอ้อนวอน, สิ่งที่ขอร้อง, ความต้องการ -Phr. (at (by) request ตามคำขอร้อง) vt. ขอร้อง, เรียกร้อง, อ้อนวอน, ขอ, ถามหาSee Also:requester n.Syn.desire, wish, appeal
(รีไคว'เออะ) vt., vi. ต้องการ, ประสงค์, ปรารถนา, ขอร้อง, เรียกร้อง, กำหนดSee Also:requirable adj. requirer n.Syn.need, demand
(ชู) intetj. คำอุทานที่ใช้ไล่แมวสุนัขหรือสัตว์อื่น ๆ vi. ไล่ไปโดยใช้เสียง "ชู" vt. ขอร้องให้ไป, บังคับให้ไป
(ซะลิส'ซิท) vt., vi. เรียกร้อง, ชักชวน, ขอร้อง, วิงวอน, เชื้อเชิญ, จูงใจ, ล่อใจ, (โสเภณี) ดึงแขก, กระตุ้นใจ.See Also:solicitant n. solicitation n.
(ซะลิส'ซิเทอะ) n. ผู้เรียกร้อง, (ชักชวน, ขอร้อง, วิงวอน, เชื้อเชิญ, จูงใจ, ล่อใจ, กระตุ้นใจ) , (ในอังกฤษ) ทนายความชั้นรองลงมาจากbarrister, อัยการ.See Also:solictorship n.
(ซู) vt., vi. ฟ้อง, ฟ้องร้อง, ขอร้อง, เกี้ยวผู้หญิงSee Also:suer n.Syn.ask
(ซูท) n. คำร้อง, คำขอร้อง, การขอร้อง, การขอแต่งงาน, การเกี้ยวพาราสี, การฟ้องร้อง, การฟ้องร้องคดี, คดี, ฎีกา, ชุดเสื้อผ้า, ชุด, ชุดไพ่ดอกสีเดียวกัน, ผู้ติดตาม. vt., vi. ทำให้เหมาะกับ, เหมาะสม, จัดให้มีชุดเสื้อผ้าหรืออื่น ๆ
(ซู'เทอะ) n. ชายที่เกี้ยวผู้หญิง, โจทก์, ผู้ร้องทุกข์, ผู้ฟ้องร้อง, ผู้ขอร้อง.Syn.young man
(ซัม'เมินซ) n. การเรียกตัว, การออกหมายเรียก, การขอร้อง, การเรียกร้อง, หมายศาล, หมายเรียก, การเรียกตัวให้มาประชุมรัฐสภา. pl. summonsesSyn.subpoena, call
(อันบิด'เดิน) adj. ไม่ได้บังคับ, โดยตัวของมันเอง, ไม่ได้ขอร้อง, .Syn.unbid
(อันคอลดฺ') adj. ไม่ได้เชื้อเชิญ, ไม่ได้ขอร้อง, ไม่ได้เรียก, ไม่จำเป็น
(อันคอลดฺ'ฟอร์) adj. ไม่ได้เชิญ, ไม่ได้ขอร้อง, ไม่ได้เรียก, ไม่เป็นที่ต้องการ
Nontri Dictionary
(n)การขอร้อง, การอ้อนวอน, การให้คำสัตย์, คำสั่ง
(vt)อ้อนวอน, ขอร้อง, ให้คำสัตย์, สาบาน, สั่ง
(vt)ขอร้อง, อ้อนวอน, ร้องเรียน, อุทธรณ์, เรียกร้อง, ดึงดูดความสนใจ
(vi, vt)ถาม, ขอ, ขอร้อง, เชื้อเชิญ
(vt)ขอร้อง, ขอ, อ้อนวอน, ขอความกรุณา
(vt)อ้อนวอน, ขอร้อง, ขอความกรุณา
(vt)ขอร้อง, อ้อนวอน, วิงวอน
(n)ความต้องการ, คำขอร้อง, อุปสงค์, การเรียกร้อง
(vt)ต้องการ, ขอร้อง, เรียกร้อง, ขอทราบ, ถาม
(vi, vt)อ้อนวอน, วิงวอน, ร้องขอ, ขอร้อง
(n)การอ้อนวอน, การวิงวอน, การขอร้อง, การร้องขอ, คำขอร้อง
(vt)วิงวอน, อ้อนวอน, ขอร้อง, เรียกร้อง
(n)การคะยั้นคะยอ, การรบเร้า, การเรียกร้อง, การขอร้อง
(n)ตัวอย่าง, คำขอร้อง, กรณี, โอกาส, ความรีบด่วน, การฟ้องร้อง
(n)การขอร้อง, การร้องขอความกรุณา
(n)ผู้ขอร้อง
(n)คำเชิญ, คำขอร้อง, บัตรเชิญ, การเชิญ
(vt)เชื้อเชิญ, ขอร้อง, นำมาซึ่ง
(n)การภาวนา, การขอร้อง, การอุทธรณ์, การเรียกผี
(vt)ภาวนา, ขอร้อง, อุทธรณ์, วิงวอน
(n)คำขอร้อง, คำแก้ตัว, ข้ออ้าง, การวิงวอน, การอ้อนวอน
(vt)ขอร้อง, วิงวอน, แก้ตัว, สู้คดี, อ้อนวอน
(vt)สมมุติ, อ้าง, ยืนยัน, ขอร้อง, วางหลัก
(vt)สวดมนตร์, อ้อนวอน, โปรด, ภาวนา, ขอร้อง, อธิษฐาน
(n)คำร้อง, การขอร้อง, คำขอ, การเรียกร้อง, ความต้องการ
(vt)ต้องการ, ขอร้อง, ขอ, เรียกร้อง, ถามหา
(vt)วิงวอน, ขอร้อง, เชื้อเชิญ, ชักชวน, จูงใจ
(n)การวิงวอน, การขอร้อง, การเชื้อเชิญ, การชักชวน, การจูงใจ
(n)ผู้ขอร้อง, ผู้เชื้อเชิญ, ผู้ชักชวน, ทนายความ
(vi, vt)ขอร้อง, ร้องขอ, เกี้ยว, ฟ้องร้อง
(n)คดีความ, คำขอร้อง, หน้าไพ่, เสื้อผ้าทั้งชุด, การเกี้ยว
(n)หมายศาล, หมายเรียกตัว, การเรียกตัว, การขอร้อง
(n)การอุทธรณ์, การขอร้อง, การเรียกร้อง
(adj)เรียกร้อง, ขอร้อง, อ้อนวอน, อุทธรณ์
(n)ผู้ขอร้อง, ผู้อ้อนวอน, ผู้อุทธรณ์, ผู้วิงวอน
(n)ผู้ขอร้อง, ผู้อ้อนวอน, ผู้อุทธรณ์, ผู้วิงวอน
(vt)เรียกร้อง, ขอร้อง, อ้อนวอน, อุทธรณ์
(n)การเรียกร้อง, การขอร้อง, การอ้อนวอน, การอุทธรณ์
(adj)ไม่ได้เรียกหา, ไม่ได้เชิญ, ไม่ได้ขอร้อง
(vt)ขอร้อง, วิงวอน, เกี้ยว, ขอความรัก, ขอแต่งงาน
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(phrv)ขอ, ขอร้องSyn.request
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
勘弁
[かんべん, kanben](n)ยกโทษ ขออภัย ในบางครั้งใช้ในการปฏิเสธคำขอร้อง
小生
[こせい, kosei](n)ผม, ดิฉัน, ข้าพเจ้า (เป็นคำใช้เรียกแทนตัวเองแบบถ่อมตัว) ตัวอย่างเช่น 小生からもお願いいたします。 (ทางผมเองต้องรบกวนขอร้องด้วยนะครับ)
願い
[ねがい, negai]การขอร้อง คำขอร้อง
依頼
[いらい, irai](n)ขอร้อง, ไหว้วาน
Saikam JP-TH-EN Dictionary
頼む
[たのむ, tanomu] TH: ขอร้อง
頼む
[たのむ, tanomu] EN: to request
願う
[ねがう, negau] TH: ขอร้อง
願う
[ねがう, negau] EN: to request
Longdo Approved DE-TH
(adj)ในทันที, โดยทันที เช่น Wir bitten Sie um eine umgehende Antwort. ทางเราขอร้องให้คุณช่วยตอบกลับมาโดยเร็วที่สุด
(pron)ไม่มีใคร เช่น Niemand wird ihren Forderungen nachgeben. ไม่มีใครยอมทำตามคำขอร้องของเธอได้
(n)|die, pl. Forderungen| คำขอร้อง, ความต้องการ เช่น die Forderung anerkennen อนุญาตตามคำขอร้องSee Also:Erfordernis, Frage, Bedarf
(n)|die, pl. Freilassungen| การปลดปล่อย, การไถ่ตัว, การไถ่เชลย เช่น Selbst die Terrorgruppe setzte sich offenbar für ihre Freilassung ein. กลุ่มผู้ก่อการร้ายเองก็ยังขอร้องให้มีการปล่อยตัวของเธอ
(vt)|forderte auf, hat aufgefordert, zu + D| ขอร้องหรือเรียกร้องให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Ich wurde am Flughafen aufgefordert, den Koffer zu öffnen. ฉันถูกขอร้องให้เปิดกระเป๋าเดินทางที่สนามบินSee Also:fordern
(vt)|bat, hat gebeten, jmdn. um etw.| ขอร้อง, ขอความช่วยเหลือ เช่น Ich bitte dich um Verzeihung, obwohl ich bereits so gestraft bin.
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ