น. ปลอดโปร่งไม่ขุ่นมัว เช่น อารมณ์แจ่มใส, โปร่ง เช่น อากาศแจ่มใส.
ก. ยิ้มอย่างชื่นบาน, แย้มยิ้ม ก็ว่า.
น. เสียงเพราะมีกังวาน เช่น จึ่งตั้งนโม ซุ่มเสียงใหญ่โต กระแสงแจ่มใส (ประถม ก กา).
ว. ก้องอยู่ได้นาน เช่น เสียงระฆังกังวาน, มีกระแสเสียงก้องและแจ่มใส.
(คฺลุ้ม) ว. มืดมัว, ไม่แจ่มใส.
(เคฺรือ) ว. ลักษณะของเสียงที่สั่นพร่าไม่แจ่มใส เรียกว่า เสียงเครือ.
ว. มีเสียงแจ่มใส เช่น ไก่ขันแจ้ว, มีเสียงดังติดต่อกันไปเป็นระยะ ๆ เช่น พูดแจ้ว ๆ.
ก. แจ่มใส, เบิกบาน, ยินดี, เช่น หน้าชื่น.
ว. แจ่มใส, ชื่นบาน, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น แช่มช้อย แช่มชื่น.
ว. มีสีหน้าแจ่มใสเบิกบาน.
ว. งาม, อร่าม, แจ่มใส, รุ่งเรือง
ว. อาการที่หน้าตาไม่ยิ้มแย้มแจ่มใส.
(เปฺล่ง) ว. แจ่มใส, สุกใส.
(-ปฺลั่ง) ว. สดใส, แจ่มใส.
แจ่มใสไม่อึดอัด เช่น สมองโปร่ง.
ว. สุกใส, บริสุทธิ์, เช่น จิตใจผ่องใส, แจ่มใส, มีน้ำมีนวล, เช่น หน้าตาผ่องใส.
ว. ไม่ผ่องใส, ไม่แจ่มใส, ไม่เบิกบาน, ไม่สดชื่น, เช่น หูตามัวซัว ผ้าสีตกมัวซัว.
ว. มีแสงสว่างน้อย เช่น อากาศมืดมัว, ไม่แจ่มใส เช่น หูตามืดมัว.
อาการที่หน้าตาไม่สดชื่นแจ่มใส เช่น ตื่นนอนมาใหม่ ๆ หน้าตายู่ยี่.
ก. ยิ้มอย่างชื่นบาน, ยิ้มแย้ม หรือ ยิ้มแย้มแจ่มใส ก็ว่า.
ก. ต้อนรับผู้มาหา, โดยปริยายเรียกบุคคลที่มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใสอยู่เสมอ ว่า หน้าตารับแขก.
ว. สนุกสนาน, เบิกบานใจ, ยิ้มแย้มแจ่มใส.
ว. สว่าง, แจ่มใส, รุ่งเรือง.
ว. แวววาว, แจ่มใส, เช่น ดวงตามีประกายสุกใส คืนนี้ท้องฟ้ามีดาวสุกใส.
น. น้ำเสียงที่ไม่ชัดเจนแจ่มใส แหบเครือ ไม่สม่ำเสมอ คล้ายมี ๒ เสียงปนกัน เช่น เปิดวิทยุไม่ตรงคลื่น ทำให้เสียงแตกพร่า ฟังไม่รู้เรื่อง.
ว. มีสีหน้าเบิกบานแจ่มใส.
น. หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใสเป็นประจำ.
ว. มีสีหน้าไม่แจ่มใสเพราะความทุกข์เช่นผิดหวัง.
(หฺมอง) ว. ขุ่น, มัว, เช่น เครื่องแก้วหมอง เครื่องเงินหมอง, ไม่ผ่องใส, ไม่แจ่มใส, เช่น หน้าหมอง.
ว. ไม่แจ่มใส, ไม่เบิกบาน.
ไม่แจ่มใส เช่น หน้าแห้ง ยิ้มแห้ง
ว. ลักษณะของเสียงที่แห้งไม่แจ่มใส, เรียกชื่อของกลุ่มเสียงที่บีบให้สูงเป็นพิเศษของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า โดยเฉพาะปี่ใน ว่า เสียงแหบ.