แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
605 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*มูล*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: มูล, -มูล-
Longdo Unapproved MED - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
metadata
[สาน ระ ลัก](n)สารลักษณ์, ลักษณะที่อธิบายถึง ข้อมูล(สาร) ที่มี
PET Scan
(n, vt)PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้
rumor mill
(n)กระบวนการแพร่ข่าวลือที่ไม่มีมูลความจริงออกไป
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ข้อมูลมหัต
(n)big data
ศัพทมูลวิทยา
(n)etymology
Longdo Unapproved EN - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ชงโค
(name)..............ชงโค................ ชื่อทางวิทยาศาสตร์............Bauhinia purpurea ชื่อวงศ์............................CAESALPINIACEAE ชื่อสามัญ..........................Orchid Tree, Purder ชื่ออื่นๆ............................เสี้ยวดอกแดง, เสี้ยวดอกขาว ถิ่นกำเนิด..........................ทวีปเอเซีย การขยายพันธุ์....................เพาะเมล็ด ประวัติและข้อมูลทั่วไป.........ดอกชงโคมีหลายสี เช่น ชมพู ขาว ม่วง ชาวอินเดียถือว่าเป็นไม้สวรรค์ขึ้นอยู่ในเทวโลกและถือว่าเป็นไม้ของพระลักษมี นิยมปลูกร่วมกับ กาหลง และ โยทะกา เพราะมีใบคล้ายกัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์......ชงโคเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบสูงประมาณ 15 เมตร ใบเป็นรูปไข่แยกเป็น 2 แฉกลึก ช่อดอกออกตามกิ่งข้างและจำนวนดอกน้อย กลีบดอกขาวหรือม่วง ลักษณะคล้ายดอกกล้วยไม้ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ เกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดไม่เท่ากัน มีผลเป็นฝักขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. การปลูกและดูแลรักษา...........ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนระบายน้ำดี มีความ
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฌาณ
(n)ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)groundSee Also:starting-point, sourceSyn.เค้ามูล, มูลความ, มูลเหตุExample:เรื่องนี้คงมีมูลมาจากนักข่าวที่อาจฟังไม่รู้เรื่องแล้วเอาไปเขียนข่าวUnit:ข้อ, ประการ, เรื่องThai Definition:เค้าเดิมหรือต้นเหตุเดิมของเรื่องนั้น
(n)excrementSee Also:dung, droppings, feces, guanoSyn.ขี้, อึ, อุจจาระ, คูถExample:โคจะถ่ายมูลและปัสสาวะลงในดินกลายเป็นปุ๋ยได้อีกทางUnit:ก้อนThai Definition:อุจจาระสัตว์, ขี้หรือเศษของสิ่งต่างๆ
(n)basisSee Also:grounds, origin, fundamentalExample:ศาสนาของทางตะวันตกนั้นมีมูลบทของตนอยู่ที่ศรัทธาหรือความเชื่อในสิ่งนอกธรรมชาติ
(n)cow dungSee Also:semi-liquid faeces, soft faeces, soft excrementSyn.ขี้วัวExample:เราใช้ปุ๋ยคอกที่ทำมาจากมูลโค มูลกระบือที่ตากแห้งแล้วThai Definition:อุจจาระเหลว แต่ไม่เหลวถึงเป็นน้ำ
(n)forest wagtailSee Also:pipit, name of birdSyn.นกขี้ไถUnit:ตัวThai Definition:ชื่อนกชนิดหนึ่งตัวขนาดนกกระจาบฝน โตกว่านิดหน่อย
(adj)equivalentSee Also:equalThai Definition:ที่มีค่าเท่าเทียมกัน, เสมอเหมือนกัน, เปลี่ยนแทนกันได้
(n)dataSee Also:informationExample:ไวรัสตัวใหม่ทำให้ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์หายไปThai Definition:ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ
(v)bidSee Also:submit a tender, make an offer, tenderSyn.เสนอราคา, แจ้งราคา, แข่งขันExample:เขาประมูลเอาบ้านที่ผมต้องการไปเสียแล้วThai Definition:แข่งขันเสนอราคาหรือสิ่งอื่นเพิ่มเติม สู้กันในการซื้อหรือการขาย
(n)priceSee Also:value, costSyn.ค่า, ราคาExample:เฉพาะปี 2533 เพียงปีเดียว สินค้าที่ลักลอบส่งเข้าไปในจีนมีมูลค่าถึง 2, 000 ล้านดอลลาร์ หรือราว 52, 000 ล้านบาทThai Definition:ค่าของสิ่งของ, ราคาของสิ่งของ
(n)remedy for follicular pharyngitisSee Also:a kind of remedyThai Definition:ชื่อยาแก้ลมซางชนิดหนึ่ง
(n)basisSee Also:base, foundationSyn.พื้นฐานExample:ภาษามักใช้เป็นเครื่องมือในการวัดภูมิภาคนิยม และเป็นมูลฐานในการกำหนดขอบเขตของภูมิภาค
(n)originSee Also:source, original cause, basic causeSyn.บ่อเกิดExample:การให้กรรมสิทธิ์ที่ดินแก่คนทั่วไป ถือได้ว่าเป็นมูลฐานสำคัญที่ทำให้เกิดพวกนายทุนและพ่อค้าคนกลางขึ้น
(n)earthworkSee Also:pile of earth, mould, knollSyn.งานดินExample:ฉันเห็นตัวอ้นหยุดยืนอยู่ข้างมูลดินThai Definition:ดินที่สัตว์ขุดคุ้ยสูงขึ้นเป็นโขด
(n)masterSee Also:boss, original boss, feudal officialSyn.นายใหญ่Example:สมัยก่อนไพร่จะต้องสังกัดมูลนายคนใดคนหนึ่งUnit:คนThai Definition:นายทั้งหลาย, นายเดิมที่สังกัดอยู่
(n)wasteSee Also:rubbish, garbage, trash, refuse, corpse, remains, dung, droppingsSyn.ขยะมูลฝอย, สวะExample:มูลฝอยบางส่วนสามารถคัดแยก และนำกลับมาใช้ใหม่ได้Thai Definition:เศษสิ่งของที่ทิ้งแล้ว
(n)pre-elementary levelSee Also:fundamental levelThai Definition:ระดับชั้นสำหรับเด็กที่เริ่มเรียน
(n)factual basisSee Also:element of truth, basis in truthExample:ข่าวที่เรารับทราบกันนั้นมีมูลความมาจากที่ใด
(n)foundationExample:มูลนิธิอนุเคราะห์คนพิการเป็นมูลนิธิที่ช่วยเหลือคนพิการด้านการศึกษา การฝึกอาชีพ ตลอดทั้งหางานให้ทำThai Definition:ทรัพย์สินที่จัดสรรไว้โดยเฉพาะสำหรับวัตถุประสงค์ เพื่อการกุศลสาธารณะ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา หรือเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างอื่น โดยมิได้มุ่งหาผลประโยชน์มาแบ่งปันกัน และได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้วNotes:(กฎหมาย), (บาลี)
(n)causeSee Also:reason, motive, motivation, incentive, inducementSyn.สาเหตุ, ต้นเหตุExample:การตายของเขามีมูลเหตุมาจากความเข้าใจผิดและลุกลามเป็นความใหญ่โตUnit:ข้อ, ประการ, เรื่องThai Definition:สาเหตุหรือเค้าเรื่องเดิมที่ทำให้เกิดเรื่อง
(n)sourceSee Also:origin, cause, rootSyn.เหตุเดิม, ที่มา, สาเหตุExample:เค้ามูลของเรื่องนี้เกิดจากความแค้นที่มีมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ
(adv)completelySee Also:fully, all readySyn.บริบูรณ์, ครบถ้วน, ครบครันExample:ในแผนงานติดตั้งระบบจะต้องมีรายละเอียดการจัดตั้งแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูลอย่างพร้อมมูลThai Definition:มีครบทุกอย่าง
(n)dungSee Also:animal droppingsExample:ปุ๋ยจากมูลสัตว์มีราคาถูก และอุดมด้วยไนเตรตThai Definition:อุจจาระของสัตว์
(n)auctionExample:รายได้จากการประมูลที่จัดขึ้นครั้งก่อนจะนำไปมอบให้กับมูลนิธิขาเทียมสมเด็จพระศรีนคินทราบรมราชชนนีThai Definition:รูปแบบการขายทรัพย์สินอย่างหนึ่ง โดยการให้ผู้สนใจซื้อเข้าสู้ราคากันด้วยวาจาหรือหนังสือ และใครให้ราคาสูงสุด ก็จะมีการตกลงขายให้กับผู้นั้น
(n)raw dataExample:นักสถิติใช้ประโยชน์จากข้อมูลดิบเพื่อแปลงผลข้อมูลThai Definition:ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่มักเรียงตามลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อยหรือน้อยไปหามาก
(n)output dataAnt.ข้อมูลเข้าExample:ข้อมูลออกจะเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลแยกต่างหากThai Definition:ข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์ซึ่งแสดงหลังจากที่ใส่หรือผ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว
(n)auctionExample:กลุ่มผู้รับเหมาก่อสร้างได้ร้องเรียนถึงความไม่ชอบมาพากลในการยื่นซองประมูลประกวดราคาThai Definition:ซองเสนอราคาในการประมูล เพื่อให้ได้สิทธิในการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง
(n)databaseExample:ฐานข้อมูลที่มีการเก็บคุณสมบัติของวัสดุ มักจำกัดเฉพาะกับโลหะ พลาสติก หรือกระเบื้อง
(n)bidderSee Also:price proposerSyn.คนประมูลExample:การประมูลสร้างอาคารครั้งนี้มีผู้ประมูลมากกว่าครั้งอื่นๆUnit:คนThai Definition:ผู้ที่แข่งขันเสนอราคาในการซื้อหรือขาย
(n)acid radicalThai Definition:ส่วนหนึ่งของโมเลกุลของกรดที่ปรากฏอยู่ หลังจากที่ไฮโดรเจนไอออนแยกตัวออกไปแล้ว
(n)correct informationSee Also:truthExample:เมื่อจะเขียนเรื่องที่เกิดในต่างประเทศ นักเขียนควรจะเดินทางไปเก็บข้อมูลจริงThai Definition:ข้อมูลที่ได้รับจากประสบการณ์จริง หรือประสบด้วยตนเอง
(n)common dataSee Also:general data, ordinary messageExample:คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองผู้ใช้ที่มีความต้องการจะมีข้อมูลร่วมเพิ่มขึ้น
(n)input dataAnt.ข้อมูลออกExample:ข้อมูลเข้าของตัวสร้างภาษาคือรูปแทนภาษากลางThai Definition:ข้อมูลที่ใส่หรือป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางคีย์บอร์ด
(v)keySee Also:enterSyn.ใส่ข้อมูล, บันทึกข้อมูล, คีย์ข้อมูลExample:โดยปกติแล้วผู้ใช้คอมพิวเตอร์จะป้อนข้อมูลผ่านทางแป้นพิมพ์Thai Definition:นำข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์ทางแป้นพิมพ์
(n)information division
(n)fileExample:ปัญหาคือไม่สามารถเปิดแฟ้มข้อมูลเพื่ออ่านได้Thai Definition:ที่สำหรับเก็บข้อมูลต่างๆ ในคอมพิวเตอร์ทั้งที่เป็นเอกสารและภาพภายใต้การตั้งชื่อเฉพาะ
(n)value addedExample:ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นหนึ่งในมูลค่าเพิ่มของสินค้าในอุตสาหกรรมวัฒนธรรม ที่ถูกนำมาใช้เพื่อส่งเสริมบริโภคนิยมThai Definition:มูลค่าที่เกิดจากความสามารถของพนักงานและผู้บริหารทุกคน ภายในองค์กรในการผลิต หรือแปรสภาพวัตถุดิบที่ซื้อมาจากภายนอกให้เป็น สินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคต้องการ
(n)source of informationExample:ศิลาจารึกเป็นแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นข้อสังเกตเพิ่มเติมจากที่ผู้เขียนเคยเสนอไว้แล้วUnit:แหล่ง, แห่งThai Definition:สถานที่ซึ่งเป็นที่รวมของข้อมูล
(n)source of informationExample:ศิลาจารึกเป็นแหล่งข้อมูล ซึ่งเป็นข้อสังเกตเพิ่มเติมจากที่ผู้เขียนเคยเสนอไว้แล้วUnit:แหล่ง, แห่งThai Definition:สถานที่ซึ่งเป็นที่รวมของข้อมูล
(n)pictorial informationSee Also:graphicSyn.ข้อมูลภาพExample:เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ได้ก้าวหน้าไปมาก จนสามารถที่จะประมวลผล และเก็บรวบรวมข้อมูลรูปภาพได้จำนวนมากThai Definition:ข้อมูลที่มีลักษณะเป็นรูปภาพ
(n)informantSyn.ผู้บอกข้อมูลExample:เขาต้องการผู้ให้ข้อมูลที่เป็นคนพื้นถิ่นจริงๆUnit:คน
(n)motivationSee Also:motiveSyn.แรงจูงใจExample:เรื่องของมูลเหตุจูงใจช่วยอธิบายได้ว่าทำไมบางคนคนจึงต้องทำอย่างนั้น หรือทำอย่างนี้
(n)bidSee Also:tender, offer, proposalSyn.การเสนอราคาExample:การประมูลราคารถยนต์ของบริษัทเสนอราคาน้อยกว่าผู้แข่งขันถัดไปถึงหนึ่งแสนบาทThai Definition:การแข่งขันเสนอราคาหรือสิ่งอื่นเพิ่มเติม สู้กันในการซื้อหรือการขาย
(n)news informationSyn.ข่าวสารExample:ระบบแลนเป็นการเชื่อมต่อเครื่องพีซีให้มีการใช้ข้อมูลข่าวสาร และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ร่วมกันThai Definition:ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
(n)integral databaseExample:โปรแกรม MapInfo มีโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลร่วมอยู่ด้วยมีชื่อว่า Mbase
(n)storageSee Also:memorandumSyn.ตัวบันทึกความจำExample:ปริมาณของตัวเก็บข้อมูลปกติคงจะอยู่ที่ 90 เมกะไบต์Thai Definition:ส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในคอมพิวเตอร์
(n)storageSee Also:memorandumSyn.ตัวบันทึกความจำExample:ปริมาณของตัวเก็บข้อมูลปกติคงจะอยู่ที่ 90 เมกะไบต์Thai Definition:ส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในคอมพิวเตอร์
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. กระบวนไต่สวนของศาลเพื่อวินิจฉัยถึงมูลคดีที่จำเลยต้องหา.
น. ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ.
น. สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใด ๆ.
น. ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ.
น. ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทำงาน.
น. ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้าที่ขอสินเชื่อกับสถาบันการเงิน และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติการได้รับอนุมัติสินเชื่อและการชำระสินเชื่อ.
น. คำคำเดียวที่ไม่ได้ประสมกับคำอื่น เช่น ยาม แขก นาฬิกา.
น. เหตุเดิม.
(เจดตะ-) น. ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Plumbago วงศ์ Plumbaginaceae เช่น เจตมูลเพลิงแดง ( P. indica L.) ดอกสีแดง และ เจตมูลเพลิงขาว ( P. zeylanica L.) ดอกสีขาว, รากของทั้ง ๒ ชนิด มีรสเผ็ดร้อน ใช้ทำยาได้.
ดู พยับหมอก ๒.
น. ผู้บังคับบัญชา, เจ้านาย ก็ว่า.
(-มูละ-) น. เดือนที่พระจันทร์เพ็ญอยู่ในระหว่างดาวฤกษ์เชษฐะกับดาวฤกษ์มูละ.
(-มูนชาด) น. ตระกูลผู้ดี เช่น หญิงมีตระกูลมูลชาติ ถ้าแม้ขาดขันหมากก็ขายหน้า (ท้าวแสนปม), สกุลรุนชาติ ก็ว่า.
ดู การไต่สวนมูลฟ้อง.
น. วันขึ้น ๑ คํ่า และวันกลางเดือนทางจันทรคติ.
น.บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการเกี่ยวกับการควบคุมหรือการประมวลผลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้าที่ขอสินเชื่อ เพื่อให้ข้อมูลแก่สมาชิกหรือผู้ใช้บริการ.
(บาดทะมูน) น. ที่ใกล้เท้า, แทบฝ่าเท้า.
(บาดทะมูลิกากอน) น. หมู่คนที่อยู่แทบบาทมูล คือ ข้าราชการในพระองค์.
ก. เสนอราคาแข่งขันกันในการซื้อหรือขายทรัพย์สินเป็นต้น.
น. ข้อมือ.
(-สาวะนิกะ-) น. ค่าเลี้ยงดู, ค่าข้าวป้อน.
ดู พญามือเหล็ก.
ว. บริบูรณ์, มีครบทุกอย่าง, เช่น มีหลักฐานพร้อมมูล.
น. ภาษีที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการ.
ก. มีมาก, ประชุมกันมาก.
(มูน, มูนละ-) น. โคน เช่น รุกขมูล
ราก, รากเหง้า, เช่น มีโทสะเป็นมูล, เค้า เช่น คดีมีมูล, ต้น เช่น ชั้นมูล.
น. เหตุแห่งเรื่อง, ข้อเท็จจริงแห่งเรื่อง.
น. เหตุแห่งคดี
เหตุที่ทำให้คดีเกิดขึ้น
ข้อเท็จจริงแห่งคดี.
(มูนละ-) น. ความเดิม.
(มูนละ-) น. ชื่อยาแก้ลมซางชนิดหนึ่ง.
(มูนละ-, มูน-) น. พื้นฐาน, รากฐาน, เค้ามูล.
(มูน-) น. หัวหน้าควบคุมกำลังคนตามลำดับชั้น, มุลนาย หรือ มุนนาย ก็ว่า.
(มูนละ-, มูน-) น. ทรัพย์สินที่จัดสรรไว้โดยเฉพาะสำหรับวัตถุประสงค์เพื่อการกุศลสาธารณะ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศึกษา หรือเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างอื่น โดยมิได้มุ่งหาผลประโยชน์มาแบ่งปันกัน และได้จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว.
น. ราคาทรัพย์ที่กำหนดในการเอาประกันภัย.
(มูนละ-) น. ของที่ซื้อสะสมไว้เมื่อมีราคาตํ่า และนำออกขายเมื่อของนั้นมีราคาสูงเกินควร เพื่อรักษาระดับราคาของนั้นให้มีเสถียรภาพ.
น. เหตุที่ทำให้เกิดหนี้.
(มูนละ-, มูน-) น. ต้นเหตุ.
(มูน, มูนละ-) ว. มวล, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, เช่น จัดข้าวของไว้ให้โดยพร้อมมูล เตรียมเอกสารหลักฐานไว้ให้พร้อมมูล.
(มูนละ-, มูน-) น. ค่าของสิ่งของ, ราคาของสิ่งของ, เช่น ถวายจตุปัจจัยมีมูลค่า ๓๐ บาท.
(มูน) น. อุจจาระสัตว์, ขี้หรือเศษของสิ่งต่าง ๆ เช่น มูลไถ = ขี้ไถ.
น. อุจจาระเหลว แต่ไม่เหลวถึงเป็นนํ้า, มักพูดว่า มลโค.
ว. สีเขียวฟ้า.
น. เศษสิ่งของที่ทิ้งแล้ว, หยากเยื่อ, กุมฝอย หรือ คุมฝอย ก็ว่า.
(มูน) น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๙ มี ๙ ดวง เห็นเป็นรูปสะดือนาค, ดาวช้างน้อย หรือ ดาวแมว ก็เรียก.
น. ชื่อนกชนิดหนึ่งตัวขนาดนกกระจาบฝน โตกว่านิดหน่อย เรียกสามัญว่า นกขี้ไถ.
ดู มูล ๔, มูละ.
ว. ที่หนึ่ง, ทีแรก.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
มูลเหตุที่น่าจะเป็น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ผลการประมวลผล, ผลการจัดกระบวนข้อมูล[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ตารางช่วงเวลา, ตาราง (ข้อมูล) ตามช่วงเวลา[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
หุ้นที่ชำระเต็มมูลค่าแล้ว[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลค่าใช้เงินสำเร็จ[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลเหตุใกล้ชิด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลค่าปัจจุบัน[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลค่าปัจจุบัน[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
คดีมีมูล[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อมูลสังเกตชนิดคู่[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
๑. ภาวะเคยคลอดบุตรเกิดรอด๒. ภาวะเสมอมูล[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
กลุ่ม, กลุ่มข้อมูล[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ตัวรวม/ถอดแยกกลุ่มข้อมูล (แพด, พีเอดี)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ตัวรวม/ถอดแยกกลุ่มข้อมูล (แพด, พีเอดี)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การฉาย๒. การแสดงส่วนไม่ซ้ำ [ ใช้เฉพาะงานฐานข้อมูล ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ข้อกำหนดมูลค่าสูงสุด[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
แพด, พีเอดี (ตัวรวม/ถอดแยกกลุ่มข้อมูล)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
แพด, พีเอดี (ตัวรวม/ถอดแยกกลุ่มข้อมูล)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การไต่สวนมูลฟ้อง (ป. วิ. อาญา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การไต่สวนมูลฟ้อง (ป. วิ. อาญา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อมูลปฐมภูมิ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
เครือข่ายข้อมูลส่วนบุคคล[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การละเมิดที่มีมูล[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พีเอสเอ็น (ข่ายงานแบบสลับกลุ่มข้อมูล, โครงข่ายแบบสลับกลุ่มข้อมูล)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
พีเอสเอ็น (ข่ายงานแบบสลับกลุ่มข้อมูล, โครงข่ายแบบสลับกลุ่มข้อมูล)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลบท[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
เครือข่ายข้อมูลสาธารณะ[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การประมูลขายระหว่างกันเอง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การสลับกลุ่มข้อมูล[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การสลับกลุ่มข้อมูล[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข่ายงานแบบสลับกลุ่มข้อมูล, โครงข่ายแบบสลับกลุ่มข้อมูล (พีเอสเอ็น)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ข่ายงานแบบสลับกลุ่มข้อมูล, โครงข่ายแบบสลับกลุ่มข้อมูล (พีเอสเอ็น)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลเหตุชอบด้วยกฎหมาย, เหตุอันชอบด้วยกฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การนำทรัพย์ออกขายโดยประมูลราคา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลค่าเงินกู้[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
รายการข้อมูล, การทำรายการข้อมูล[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
มูลเหตุชอบด้วยกฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ทฤษฎีแรงงานกำหนดมูลค่า[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มูลเหตุอันจะอ้างกฎหมายได้[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. วรรณกรรม๒. วรรณคดี๓. เอกสารข้อมูล[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
มูลภูเขาไฟ[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
คติมูลวิวัติ, คตินิยมการเปลี่ยนถึงรากฐาน, ลัทธิสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงที่ต้นตอ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
มูลเหตุให้ต้องรับผิดชอบ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ทฤษฎีผู้แทนแนวมูลวิวัติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
อนุมูลอิสระ[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
มูลค่าตกค้าง[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อมูลการแผ่รังสี[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
๑. -ทำลายเหตุ๒. -ราก [ มีความหมายเหมือนกับ radicular ]๓. -ถอนรากถอนโคน๔. อนุมูล[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
มูลวิวัติ, ที่เปลี่ยนถึงรากฐาน, หัวรุนแรง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. สละ, บอกปัด, ไม่ยอม๒. ขยะ, มูลฝอย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ฐานข้อมูล[เทคโนโลยีการศึกษา]
แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ[เทคโนโลยีการศึกษา]
การจัดการฐานข้อมูล[เทคโนโลยีการศึกษา]
การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์[เทคโนโลยีการศึกษา]
โครงสร้างข้อมูล[เทคโนโลยีการศึกษา]
เนื้อหาข้อมูล[เทคโนโลยีการศึกษา]
การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์Example:Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00.[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เนื้อหาข้อมูล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฐานข้อมูลExample:<p>ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง ที่รวมของสารสนเทศที่สัมพันธ์กัน แต่ละฐานข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า แฟ้มข้อมูล (File) โดยแต่ละแฟ้มข้อมูลประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กลงมาอีกระดับหนึ่งเรียกว่า ระเบียน (Record) และแต่ละระเบียนประกอบด้วยหน่วยของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล (Field) เขตข้อมูลประกอบไปด้วยหน่วยของข้อมูลที่เล็กกรองลงไปอีก คือ ไบต์หรือ อักขระ (Character) <p>ข้อมูลเหล่านี้ได้รับการบันทึกเก็บไว้ในรูปแบบที่อ่านได้ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาประมวลผลในลักษณะต่าง ๆ ได้ เช่น การค้นคืน (Retrieval) การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย (Update) การจัดเรียง (Sorting) ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้มาแสดงผลทางหน้าจอ และสามารถพิมพ์ผลการค้นคืนออกทางเครื่องพิมพ์ บันทึกเก็บไว้ใช้งานในภายหลังได้ <p>ฐานข้อมูล หากจัดแบ่งตามลักษณะของการแสดงผลหรือวัตถุประสงค์ของการนำไปใช้ มี 2 ลักษณะ คือ <p>1. ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็ม (Full text database) เป็นฐานข้อมูลที่มีข้อมูลสมบูรณ์ โดยที่ข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการสืบค้น จะมีเนื้อหาเหมือนกับเอกสารต้นฉบับทุกประการ <p>2. ฐานข้อมูลอ้างอิง (Reference database) หรือ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic database) เป็นฐานข้อมูลที่เป็นการอ้างอิง หรือ ชี้แนะแหล่งให้ผู้ใช้ไปหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากต้นฉบับ หรือจากแหล่งปฐมภูมิ เพื่อให้ได้เนื้อหาที่สมบูรณ์ <p>บรรณานุกรม <p>คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง.[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การจัดการฐานข้อมูล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
โครงสร้างข้อมูล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
แหล่งข้อมูลที่กำหนดExample:ในการลงรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือ บรรณารักษ์จะต้องทราบว่า จะสามารถหาข้อมูลได้จากแหล่งที่ได้มีการกำหนดร่วมกันซึ่งเป็นหลักการของการลงรายการ ซึ่งหมายถึง แหล่งสำคัญของข้อมูล สำหรับเอกสารตีพิมพ์นั้น แหล่งสำคัญของข้อมูล คือ หน้าปกใน ถ้าไม่มีหน้าปกใน ให้ใช้แหล่งในตัวเล่มซึ่งใช้แทนหน้าปกใน สำหรับเอกสารตีพิมพ์ออกมาโดยไม่มีหน้าปกใน หรือไม่มีหน้าปกในที่ให้รายละเอียดได้ทั้งหมด ให้ใช้ส่วนอื่นของเล่มที่ให้ข้อมูลสมบูรณ์ที่สุด ไม่ว่าส่วนนั้นจะเป็นหน้าปก (ไม่่รวมใบหุ้มปกที่แยกต่างหากออกจากตัวเล่ม) หน้าชื่อเรื่อง (half title page) ชื่อนำเนื้อเรื่อง (caption) การแจ้งตอนท้ายเล่มซึ่งให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อเรื่อง ผู้แต่ง สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ ปีที่พิมพ์ อย่างหนึ่งอย่างใดหรือรายอย่างและอาจจะรวมถึงรายละเอียดอื่นๆ ด้วย ชื่อเรื่องประจำหน้า (running titole) หรือส่วนอื่น ถ้าไม่มีส่วนใดในตัวเล่มให้ข้อมูลที่จะสามารถใช้เป็นหลักในการลงรายการ ให้ใช้ข้อมูลที่จำเป็นจากแหล่งอื่นที่มี ถ้าข้อมูลที่ควรจะปรากฏอยู่ในหน้าปกในไปปรากฏอยู่ในหน้าติดกัน (facing pages) หรือในหน้าถัดๆ ไป จะซ้ำักันหรือไม่ก็ตาม ให้ถือว่าหน้าเหล่านี้เป็นหน้าปกใน ให้ใช้การแจ้งตอนท้ายเล่ม (colophon)เป็นแหล่งสำคัญของข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เขตข้อมูลExample:เขตข้อมูล (field) คือ พื้นที่ที่กันไว้สำหรับเก็บข้อมูลตามที่กำหนดไว้ในโปรแกรมฐานข้อมูล ซึ่งเป็นหน่วยย่อยรองลงมาจากระเบียน เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละระเบียน เช่น เขตข้อมูลปีที่พิมพ์จะเป็นส่วนที่บอกได้ว่าระเบียนที่ค้นคืนได้ หรือที่แสดงผลอยู่นั้นจัดพิมพ์ในปีใด หรือเขตข้อมูลชื่อเรื่องช่วยจำกัดผลการค้นให้ตรงกับความต้องการมากขึ้น</p> <p> การลงรายการทรัพยากรห้องสมุดนั้น เขตข้อมูล (field) เป็นการกำหนดว่าแต่ละเขตข้อมูลนั้นจะมีความยาวเท่าไร และตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด โดยแต่ละระเบียนจะประกอบไปด้วยเขตข้อมูลจำนวนมากรวมกัน และจัดกลุ่มหรือประเภทของเขตข้อมูลด้วยหมายเลขประจำเขตข้อมูล โดยใช้เลข 3 หลัก เริ่มต้นจาก 001 ถึง 999 แทนชื่อเขตข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านข้อมูล ค้นหา และประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว</p> <p> <img alt="เขตข้อมูล (field)" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/images/php451SyK.preview.jpg" style="width: 427px; height: 466px" /></p> <p> ตัวอย่างเขตข้อมูลโดยหมายเลขประจำเขตข้อมูล 3 หลัก ที่จำเป็น เช่น</p> <ul> <li> 020 หมายเลขมาตรฐานหนังสือสากล (International Standard Book Number)</li> <li> 100 ชื่อบุคคลที่เป็นรายการหลัก (Personal name main entry)</li> <li> 245 ชื่อเรื่อง (Title information)</li> <li> 260 ข้อมูลการพิมพ์(Publication information)</li> <li> 300 ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ (Physical information)</li> <li> 440 ชื่อชุด/รายการเพิ่ม (Series statement/added entry)</li> <li> 500 หมายเหตุ (Note (s))</li> <li> 650 หัวเรื่อง (Tropical subject headings)</li> </ul> <p> นอกจากนี้ ยังทำให้ฐานข้อมูลมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน</p> <p> &nbsp;</p> <p> อ้างอิง :</p> <p> คูคิน, แดน และวัง, เวลเลซ. (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับอ่านสนุก. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.</p> <p> ทักษิณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต (พิมพ์ครั้งที่ 10 ฉบับปรับปรุงใหม่ตลอดเล่ม). กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.<span _fck_bookmark="1" style="display: none">&nbsp;</span></p> <p> มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.</p> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การสืบค้นแบบเฉพาะเจาะจงเขตข้อมูล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติExample:<p>ระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ (ISDS) เป็นระบบที่ดำเนินการเก็บรวบรวมและสร้างแหล่งข้อมูลวารสารทั่วโลกด้วยคอมพิวเตอร์ ในการกำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) ศูนย์กลางอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ประเทศต่าง ๆ สามารถเข้าเป็นสมาชิก ISDS ได้ โดยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับประเทศขึ้น ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้ รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วย ประเทศสมาชิก คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย <p>ISSN เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฐานข้อมูลแบบออนไลน์Example:<p>ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญในการให้บริการของห้องสมุด ฐานข้อมูลออนไลน์ หมายถึงฐานข้อมูลที่ให้บริการผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต ผู้จัดการฐานข้อมูลหรือสำนักพิมพ์สามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัย และผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลา <p>ประเภทของฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ <p>1. ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง อาจมีสาระสังเขปเพื่อแนะนำผู้ค้นคว้าให้ไปอ่านรายละเอียดจากต้นฉบับจริง เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด (Web OPAC) ฐานข้อมูล ISI : Web of Science ฐานข้อมูล Scopus โดยทั้งสองฐานข้อมูลเป็นฐานข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ให้ข้อมูลการอ้างอิงผลงานวิจัย (Citation Database) ครอบคลุมสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ในสาขาวิชาหลัก คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยวิชาการ (Research Performance Evaluation / Research Performance Measurement: RPM) ฐานข้อมูล DAO ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวิทยานิพนธ์ต่างประเทศ ฐานข้อมูล ERIC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของหนังสือและบทความจากวารสารด้านการศึกษา เป็นต้น <p>2. ฐานข้อมูลเนื้อหาฉบับเต็ม (Full-Text Databases) หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศครบถ้วน เช่นเดียวกับต้นฉบับ เช่น ฐานข้อมูล ScienceDirect, IEEE/IEE Electronic Library (IEL) หรือ ACM Digital Library เป็นต้น[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
แหล่งข้อมูลปฐมภูมิExample:<p>แหล่งข้อมูลแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ <p>แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source หรือ Primary data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหรือบันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่เก็บจากต้นแหล่งแท้ครั้งแรก ซึ่งอาจจะได้มาจากหลากหลายวิธี เช่น การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสำรวจ การทดลองในห้องทดลอง หรือการจดบันทึก <p>ข้อมูลปฐมภูมิ ยังรวมถึง งานต้นฉบับ ผลงานศิลปะ สถาปัตยกรรมสิ่งก่อสร้าง การแกะสลัก การเขียนบันทึกตัวหนังสือ รูปภาพ เรื่องราวลงบนวัตถุต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยโบราณ <p>ข้อมูลปฐมภูมิที่สำคัญ คือ ผลงานวิจัยต้นฉบับที่ตีพิมพ์ในวารสาร ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งเอกสารประเภทสิทธิบัตร รายงานประชุม เอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมExample:<p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การค้นหาฐานข้อมูลExample:<p>การค้นหาฐานข้อมูล หรือ การสืบค้นฐานข้อมูล หมายถึงกระบวนการ วิธีการ ในการสืบค้นสารสนเทศประเภทฐานข้อมูล ซึ่งโดยทั่วไปมีขั้นตอนในการสืบค้น ดังนี้ <p>1. วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>2. กำหนดคำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการสืบค้น <p>3. เลือกฐานข้อมูล <p>4. หากผลลัพธ์ที่ได้ยังไม่ตรงกับความต้องการ ให้ปรับปรุงกลวิธีการสืบค้น อาจใช้เทคนิคการสืบค้นแบบขั้นสูง โดยการใช้ตรรกะ (Logical operator) and or not ช่วยในการสืบค้น เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ถูกต้อง และชัดเจนมากขึ้น <p>ประโยชน์ของฐานข้อมูล มีดังนี้ <P>1. จัดเก็บสารสนเทศได้ปริมาณมาก ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ <p>2. จัดเก็บสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ทำให้เข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากกว่าการค้นด้วยมือ ประหยัดเวลาในการค้นหา <p>3. ปรับปรุง และแก้ไขสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทันสมัย <p>4. เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้โดยระบบออนไลน์ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง โดยไม่ต้องเดินทางไปค้นหาจากหลายแหล่ง <p>5. มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้าระบบเครือข่ายที่ทันสมัย ทำให้ฐานข้อมูลแพร่หลาย และสามารถจัดหาเพื่อให้บริการได้ง่ายจากทั่วโลก[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การจัดแฟ้มข้อมูล (คอมพิวเตอร์)[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
คลังเก็บ สถานที่เก็บ (ข้อมูลดิจิทัล ฐานข้อมูล) แหล่งที่อยู่ (เว็บไซต์)[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การถ่ายแฟ้มข้อมูล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การออกแบบฐานข้อมูล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
โครงสร้างข้อมูล (คอมพิวเตอร์)[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การทำเหมืองข้อมูลบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การแลกเปลี่ยนข้อมูล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การจัดการฐานข้อมูล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ระบบจัดการการสำรองข้อมูล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เอกสารประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อนุมูลอิสระ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การบีบอัดข้อมูล (โทรคมนาคม)[เทคโนโลยีการศึกษา]
การเปิดเผยข้อมูล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ข้อมูลข่าวสารของราชการทางอิเล็กทรอนิกส์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ฐานข้อมูลแบบกระจาย[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
แพ็กเกตสวิตชิง (การสื่อสารข้อมูล)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การประมูลขายเงินตราต่างประเทศ[เศรษฐศาสตร์]
มูลค่าส่งออก[เศรษฐศาสตร์]
ข้อมูล[เศรษฐศาสตร์]
มูลภัณฑ์กันชน[เศรษฐศาสตร์]
การซื้อขายหลักทรัพย์โดยอาศัยข้อมูลวงใน[เศรษฐศาสตร์]
ก๊าซมูลสัตว์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การกู้ข้อมูล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การเข้ารหัสลับข้อมูล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ข้อมูลเชิงสถิติ[เศรษฐศาสตร์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
มันจะที่ดีที่สุดถ้าจะเริ่ม กับคนที่ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับคุณเลยBasic Instinct (1992)
เขายุ่งมาก เขามีข้อมูลเกี่ยวกับคุณเยอะแยะไปหมดBasic Instinct (1992)
อดัมอาจจะชอบเขียนอะไรเลอะเทอะ แต่เขามีฐานข้อมูลแน่นเลยล่ะBasic Instinct (1992)
ผมจะเจาะฐานข้อมูลห้าพันแห่งThe Lawnmower Man (1992)
ผมจะเจาะฐานข้อมูลแห่งอื่นต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าทุกระบบในโลกจะเป็นของผมThe Lawnmower Man (1992)
เข้าสู่เครือข่ายข้อมูลThe Lawnmower Man (1992)
ผมต้องการให้คุณ เก็บข้อมูลการวิจัยของเขา ทั้งดิสก์ ทั้งเอกสาร เอามาให้หมดThe Lawnmower Man (1992)
จากนั้นลบข้อมูลทุกอย่าง ในคอมพิวเตอร์หลักซะ แล้วส่งข้อมูลทั้งหมด มาที่ช่องทางส่วนบุคคลThe Lawnmower Man (1992)
ลบข้อมูลรหัส สองหกหนึ่งวายแปดเคThe Lawnmower Man (1992)
จัดระเบียบฐานข้อมูลThe Lawnmower Man (1992)
ฉันยังต้องทำอีกหลายอย่าง ทั้งข้อมูล ทั้งระบบต่างๆThe Lawnmower Man (1992)
พวกเราคนนึงสงสัยในข้อมูลของเรา.Hocus Pocus (1993)
- - คุณต้องการเพิ่มเติมข้อมูลบางส่วนIn the Name of the Father (1993)
Dixon ตรวจสอบ ... เจ้าหน้าที่ตกแต่ง ความเชี่ยวชาญที่ดี ... ที่กระทำต่อข้อมูลที่เชื่อถือได้ งานนักสืบและดี ...In the Name of the Father (1993)
ถ้าคุณสงสัยในฝีมือ หรือข้อมูลแนะนำตัวของฉัน...Deep Throat (1993)
ที่ตาย จากเหตุลึกลับแบบนี้ ตอนนี้ เมื่อเรารวมข้อมูลที่มี และ วิทยาศาสตร์ ก็ไม่สามารถให้คำตอบได้Deep Throat (1993)
เกิดอะไร ? มีการจัดแยกข้อมูลของรัฐบาล ผมพยายามจะเข้าไปดู...Deep Throat (1993)
..แต่บางคน ขัดขวางหนทาง ที่ผมจะเข้าถึงข้อมูลDeep Throat (1993)
แล้วพวกเขาก็กลัวว่า คุณจะทำให้ข้อมูลรั่วไหล ?Deep Throat (1993)
ไม่มีข้อมูลป้ายทะเบียน CC1356 ?Squeeze (1993)
ใช่ แต่ด้วยมูลค่าเท่าไหร่ ?Squeeze (1993)
- ผมให้คุณได้เรื่องข้อมูล... .. ..แต่เฉพาะที่ อยู่ในความสนใจสุดๆของผมSqueeze (1993)
เราได้ข้อมูลที่เราต้องการเพียงพอแล้วJunior (1994)
นายอุ้มท้องไว้แค่สามเดือน ได้ข้อมูลก็จบแล้วJunior (1994)
พอเห็นข้อมูล เขาตื่นเต้นกันมากเลยJunior (1994)
เรามีข้อมูลพอที่คนของลินดอนต้องการแล้วJunior (1994)
ฉันจะเอาข้อมูลทั้งหมดที่มีให้กับคนของลินดอนละนะJunior (1994)
ผมในการจัดเก็บข้อมูลเป็นเวลาสามปีPulp Fiction (1994)
-I ไม่ทราบว่ามันเป็นมูลค่า $ 5, แต่ก็สวยไอ้ที่ดีPulp Fiction (1994)
นั่นเป็นข้อมูลนิด ๆ หน่อย ๆ มากกว่าที่ฉันต้องการ แต่ไปขวาไปข้างหน้าPulp Fiction (1994)
โศกนาฏกรรมเช่นนี้ไม่สามารถช่วย แต่เขย่าโลกของมวยกับมูลนิธิมากPulp Fiction (1994)
ในการตอบสนองต่อการสอบถามข้อมูลซ้ำของคุณ รัฐได้จัดสรรเงินไว้สำหรับโครงการห้องสมุดของคุณ ".The Shawshank Redemption (1994)
ผู้หญิงที่ไม่สามารถอบมูลค่าอึThe Shawshank Redemption (1994)
ผมขอบคุณมากซิสเตอร์ ที่คุณมา ในช่วงเวลาที่สำคัญนี้ เพราะมีข้อมูลสำคัญอีกมากDon Juan DeMarco (1994)
เพื่อจะช่วยลูกชายคุณ ผมต้องมีข้อมูลบางอย่างDon Juan DeMarco (1994)
เขาคงไม่ให้ข้อมูลผม ดังนั้นDon Juan DeMarco (1994)
เราควรออกไปหาถามข้อมูลเกี่ยวกับเคนกันได้แล้วIn the Mouth of Madness (1994)
ถ้าฉันไม่คีย์ข้อมูลเข้าไป มันก็ไม่แตกต่างนักหรอกThe One Where Monica Gets a Roommate (1994)
"... มูลค่า 1.4 พันล้านเหรียญ"Ace Ventura: When Nature Calls (1995)
ในราคา 60% ของมูลค่า ได้กำไรเหนาะ ๆ 40%Heat (1995)
ข้อมูลจากจ่าตำรวจที่ใกล้ชิดHeat (1995)
สิ่งที่ต้องการที่ควรจะเป็น มูลค่าโชคลาภกับใครบางคนPinocchio (1940)
ท่านไม่คิดว่ามันมีมูลเหตุอื่นที่น่าสงสัยรึครับ - ฆาตกรรมงั้นรึRebecca (1940)
มีนักธุกิจ, นักประเมินราคา และมีการประมูลแข่งขันกัน และเป็นที่แน่นอนว่า มีการติดสินบนกันด้วยNight and Fog (1956)
หรือ ชมูลสกี้ พ่อค้าในเมือง คราโคว และ แอนเนต นักเรียนในเมืองบอร์กโดว กำลังใช้ชีวิตประจำวัน โดยที่ไม่รู้เลยว่า ได้มีที่อยู่ใหม่เตรียมเอาไว้ให้ ห่างจากที่อยู่เดิม ไปกว่าหลายร้อยไมล์Night and Fog (1956)
เมื่อหลังจากเหล้ารัม, นิโกรประมูลทั้งหมดออกของ เขาThe Old Man and the Sea (1958)
เราต้องแสดงตัวว่ามีมูลค่าใช้งานSchindler's List (1993)
หยุดมัน หยุดมัน ไม่ มันมากกว่ามูลค่างานของฉันHelp! (1965)
ไหนหล่ะข้อมูล ?The Good, the Bad and the Ugly (1966)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[ao pai pramūn] (v, exp) EN: put up for auction
[bai pramūn] (n) EN: tender  FR: soumission (à un appel d'offres)
[chanit khømūn] (n, exp) EN: data type  FR: type de données [ m ]
[cheū faēm khømūn] (n, exp) EN: file name  FR: nom du fichier [ m ] ; titre du dossier [ m ]
[chut khømūn] (n, exp) EN: data set  FR: sélection [ f ]
[dōi mai khit mūnlakhā] (x) EN: free ; free of charge
[faēm khømūn] (n) EN: file  FR: fichier [ m ]
[Fømulā Wan] (tm) EN: Formula One ; Formula 1 ; F1 (abbrev.)  FR: Formule 1 [ f ] ; F1 [ f ] (abrév.)
[hai khømūn] (v, exp) EN: give some information  FR: donner des informations ; informer
[hai khømūn phit] (v, exp) EN: misinform
[jatkān khømūn] (v, exp) EN: process data
[kān baeng klum khømūn] (n, exp) EN: data clustering ; data classification
[kān baeng klum khømūn attanōmat] (n, exp) EN: automatic classification
[kān kamjat khayamūnføi] (n, exp) EN: refuse disposal
[kān kep khømūn] (n, exp) FR: conservation des données [ f ]
[kān khumkhrøng khømūn suanbukkhon] (n, exp) EN: personal data protection  FR: protection des données personnelles [ f ]
[kān mī khømūn māk koēnpai] (n, exp) EN: information overload
[kān mī mūnlakhā phoēm kheun] (n, exp) EN: accretion
[kān namsanōe khømūn] (n, exp) EN: data presentation
[kān ōnyāi khømūn] (n, exp) EN: data transfer  FR: transfert de données [ m ]
[kān poēt pramūn] (n, exp) EN: call for bids ; invitation to tender
[kān pǿngkan khømūn] (n, exp) EN: data protection  FR: protection des données [ f ]
[kān prakanphai tam kwā mūnlakhā] (n, exp) EN: underinsurance  FR: sous-assurance [ f ]
[kān pramūanphon khømūn] (n, exp) EN: data processing  FR: traitement des données [ m ]
[kān pramūanphon khømūn thāng ilekthrønik] (n, exp) EN: Electronic Data Processing (EDP)
[kān pramūn] (n, exp) EN: auction ; bidding ; tender  FR: vente aux enchères [ f ]
[kān pramūn khāi] (n) EN: auction  FR: vente aux enchères [ f ]
[kān pramūn rākhā] (n, exp) EN: bid ; bidding
[kān rapsong khømūn] (n, exp) EN: data transmission  FR: transmission de données [ f ]
[kān rīek pramūn rākhā] (n, exp) EN: invitation to tender ; invitation to bid  FR: appel d'offres [ m ]
[kān rūaprūam khømūn] (n, exp) EN: data collection ; data acquisition
[kān sanōe rākhā pramūn] (n, exp) EN: tender
[kān seūkhāi dōi chai khømūn wong-nai] (n, exp) EN: insider trading ; insider dealing
[kān søpthām khømūn] (n, exp) EN: query  FR: requête [ f ]
[kep khømūn] (v, exp) EN: record data  FR: enregistrer des données ; conserver des informations
[khadī mī mūn] (n, exp) EN: prima facie case
[khāi pramūn] (v, exp) EN: sell to the highest bidder
[khammūn māk] (n) EN: basic word  FR: mot de base [ m ]
[khammūn māk phayāng] (n, exp) FR: mot polysyllabique [ m ] ; polysyllabe [ m ]
[khammūn phayāng dīo] (n, exp) FR: mot monosyllabique [ m ] ; monosyllabe [ m ]
[khanāt faēm khømūn] (n, exp) EN: file size  FR: taille du fichier [ f ] ; volume du fichier [ m ]
[khaomūn] (n) EN: source
[khao nīo mūn] (xp) EN: glutinous rice stteped in coconut milk
[khayamūnføi] (n, exp) EN: litter ; trash ; waste  FR: poubelle [ f ]
[khēt khømūn] (n) EN: field  FR: champ [ m ] ; rubrique [ f ]
[Kheūoen Pāk Mūn] (n, prop) EN: Pak Moon Dam ; Pak Mun Dam ; Pakmun dam
[khī khømūn] (n, exp) EN: key
[khit khonhā mūnhēt] (v, exp) EN: inquire into the causes
[khlang khømūn] (n, exp) EN: database ; data bank  FR: base de données [ f ] ; banque de données [ f ]
[khømūn] (n) EN: data ; facts ; information  FR: donnée [ f ] ; information [ f ] ; chiffre [ m ]
Longdo Approved EN-TH
[M-M-C](abbrev, uniq)ย่อมาจาก Multimedia Card อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้าย SD (Secure Digital) แต่บางกว่าเล็กน้อย นิยมใช้กับ PDA กล้อง Digital MP3 PlayerSee Also:flash memory, SD, CF, SM, MS, Digital Film
(n)หน่วยความจำประเภทสารกึ่งตัวนำชนิดหนึ่ง ที่สามารถลบข้อมูลแล้วเขียนใหม่ได้ และสามารถคงข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง
(n)อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่นSee Also:flash memory
(n, uniq)หรือ CF memory เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ที่พัฒนาโดยสมาคม CompactFlash (http://www.compactflash.org/) และผลิตจำหน่ายโดยผู้ผลิตหลายราย หลายยี่ห้อSee Also:flash memory, memory stick
(n, abbrev)ย่อมาจากคำว่า Personal Digital Assistant หมายถึงอุปกรณ์ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว มักมีขนาดเล็กพกพาสะดวก สามารถใช้บันทึกข้อมูลนัดหมาย หมายเลขโทรศัพท์ รับส่งข้อมูล หรือใช้เล่นเกมส์เพื่อความบันเทิงต่างๆได้See Also:Palm, Visor, Handheld, PocketPC
(abbrev, uniq)ย่อมาจาก Secure Digital อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้าย MMC (Multimedia Card) แต่หนากว่าเล็กน้อย นิยมใช้กับ PDA กล้อง Digital MP3 PlayerSee Also:flash memory, MMC, CF, SM, MS, digital film
(n)ข้อมูลจำเพาะ (มักปรากฏท้ายคู่มือผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า)
(name)เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชนิดที่มีระบบรับข้อมูลการขีดเขียนด้วยปากกาบนจอภาพ
(n)ใช้ตัวย่อว่า TB เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล 1 TB เท่ากับหนึ่งล้านล้านไบต์
(abbrev)ย่อมาจากสามคำ คือ Fear, Uncertainty, Doubt หมายถึง การที่ผู้ผลิตให้ข้อมูลข่าวสารที่ทำให้ลูกค้าเกิดความกลัว ความไม่แน่ใจ และความสับสน ในสินค้าของคู่แข่ง เช่น Microsoft มักออกข่าวหรือให้ข้อมูลทำนองนี้เกี่ยวกับ Linux
(uniq)ย่อมาจาก Value-Added Reseller หมายถึงบริษัทหรือองค์กรที่นำเอาผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว มาเพิ่มมูลค่าโดยทำการปรับปรุงให้เหมาะกับงานเฉพาะด้าน แล้วขายเป็นผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่
(n)กึ่งสองทิศทาง หมายถึง การสื่อสารระหว่างสองจุด โดยที่ข้อมูลเดินทางไปมาได้ทั้งสองทิศทาง แต่ไม่สวนกัน (ผลัดกันรับส่ง)See Also:Related: Full Duplex
(n)แบบสองทิศทาง หมายถึง การสื่อสารระหว่างสองจุด โดยที่ข้อมูลเดินทางไปมาได้ทั้งสองทิศทางพร้อมๆกันได้See Also:Related: Half Duplex, Simplex
(vt)บันทึก เก็บรักษา เช่น save data บันทึกข้อมูล
(n)ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคคือผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมการหลับได้ ในแต่ละวันผู้ป่วยอาจจะรู้สึกง่วงมากจนต้องหลับไปอย่างกระทันหันได้หลายๆครั้ง ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.ninds.nih.gov/disorders/narcolepsy/narcolepsy.htm http://med.stanford.edu/school/Psychiatry/narcolepsy/
(n)อนุมูลอิสระ
(n)ข่าวหรือข้อมูลสั้นๆที่แทรกอยู่ข้างๆของข่าวหรือข้อความหลักทั้งในสิ่งพิมพ์บนเว็บและในหนังสือ โดยมากมักจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อความหลัก
(n)เว็บไซด์ที่ให้บริการบันทึกข้อมูลส่วนตัว โดยอาจจะเป็นข้อความ, ความเห็น, ข้อคิด, อักษรประดิษฐ์, รูปภาพ, เสียงเพลง ก็ได้ ซึ่งบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาเยี่ยมชมตลอดจนสามารถใส่ความเห็นส่วนตัวต่อเจ้าของบันทึกได้See Also:weblog, web diarySyn.online diary
(n, org)สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สถาบันที่ปรึกษากฎหมายของรัฐ)ดูข้อมูลเพิ่มเติม <a href=http://www.krisdika.go.th/>http://www.krisdika.go.th/</a>
(n)ศูนย์การศึกษาและวิจัย ด้านการรับรองและรักษาความปลอดภัยด้านข้อมูล ย่อมาจาก The Center for Education and Research in Information Assurance and Security
(abbrev)ย่อมาจาก Asynchronous JavaScript and XML เป็นชื่อเทคนิคการพัฒนา web application แบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยเทคนิคย่อยๆ คือ JavaScript และ DOM ในฝั่ง client browser และใช้การติดต่อกับ server ในแบบ asynchrounous (แทนที่จะเป็น synchronous ในการเปิดเว็บแบบเดิมๆ) และส่งข้อมูลกลับมาในแบบ XML ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ <a href=http://en.wikipedia.org/wiki/AJAX>Wikipedia</a>
(n)รหัสสินค้าที่มักแสดงเป็นบาร์โค้ด ซึ่งสามารถถูกอ่านเป็นตัวเลขและข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
(n)ภาษีหัก ณ ที่จ่าย; เป็นภาษีที่ผู้จ่ายต้องหักไว้จากยอดเงินที่เรียกเก็บ แล้วนำส่งให้กับกรมสรรพากร โดยต้องหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้กับผู้รับเงิน; ข้อมูลเพิ่มเติม www.rd.go.th
(n)แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น
ขั้นตอนก่อนลงมือผลิตชิ้นงานจริง เช่น การหาข้อมูล การประชุม การไปดูสถานที่ (ถ้าต้องใช้สถานที่ในการจัดงานหรือผลิตงาน) การทำตัวอย่างชิ้นงาน (เช่น การสร้างโมเดลของสถาปนิกก่อนที่จะลงมือก่อสร้างจริง)
(abbrev)CDMA (Code division multiple access) คือ เทคโนโลยี ที่ใช้ในการส่งข้อมูลไม่ว่าจะเป็น DATA หรือ VOICE จากผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่คนนึง ไปยังอีกคนนึง โดยข้อมูลที่ส่งไปจะถูกเข้ารหัสต่างๆกันใน channel เดียวกัน ทำให้สามารถที่จะส่งข้อมูลจากหลายๆผู้ใช้งานใน channel เดียวกันได้
(abbrev)GPRS (General Packet Radio Service) เป็นบริการส่งข้อมูลสำหรับโทรศัพท์มือถือแบบ GSM โดย GPRS มักถูกเรียกว่าเป็นโทรศัพท์มือถือยุค 2.5G ซึ่งอยู่ระหว่าง 2G และ 3G ทางเทคนิคแล้ว GPRS ใช้ช่องสัญญาณแบบ TDMA ของเครือข่าย GSM ในการส่งข้อมูล ในทางทฤษฎีแล้ว ความเร็วสูงสุดของ GPRS อยู่ที่ประมาณ 60 กิโลบิตต่อวินาที
(n, name)โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html)
(n)ข้อมูลทางบรรณานุกรม, ชื่อและที่อยู่ของสำนักพิมพ์บนปกหน้าของหนังสือ
(n)วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)บล็อกเชน, วิธีการเก็บข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงตามหลักการทางบัญชี โดยการเข้ารหัสและจัดเรียงข้อมูลเหล่านี้ต่อกันตามลำดับเวลาที่ข้อมูลเข้ามา กลุ่มข้อมูลดังกล่าวจะเผยแพร่ไปให้ผู้ใช้ในเครือข่ายที่กำหนดได้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ ผู้ใช้ทุกคนจะทราบการแก้ไขเพิ่มเติมรายการเปลี่ยนแปลงในบล็อกเชนทุกรายการตลอดเวลา [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)ความเป็นจริงเสริม (เออาร์), สภาวะจริงที่แต่งเติมขึ้นด้วยเทคโนโลยี เช่น ผู้ใช้กำลังดูรถยนต์อยู่และต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับรถยนต์ ก็อาจจะใช้แว่นตาชนิดพิเศษซึ่งสามารถแสดงข้อมูลรถยนต์ซ้อนลงบนภาพรถยนต์ที่กำลังมองอยู่ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)[ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(adj, slang)ตื่นตัวกับเรื่องข้อมูลหรือประเด็นปัญหาทางสังคม เช่น การเหยียดผิว, ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม โดยอาจจะมีหรือไม่มีข้อมูลหลักฐานที่ชัดเจน
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ข้อมูลอย่างเป็นทางการSee Also:ข่าวสารอย่างเป็นทางการ
(n)หนังสือที่บันทึกข้อมูลสถิติSyn.statistical almanac, record, register of the year
(vt)เพิ่มข้อมูลเสริมSyn.affix, supplement, annex, add
(n)การขายโดยการประมูลSee Also:การขายทอดตลาด
(vt)ขายโดยการประมูล
(idm)หลักเบื้องต้นของบางสิ่งSee Also:ข้อมูลพื้นฐานของบางสิ่ง
(phrv)แจ้งให้ทราบSee Also:ให้ข้อมูลSyn.inform, fill in, notify, tell, tip off
(n)ที่เก็บข้อมูล อาหารหรือเลือดเพื่อใช้ตอนฉุกเฉินSee Also:สิ่งที่สำรองเอาไว้
(n)แถบบาร์โค้ดบรรจุข้อมูลที่คอมพิวเตอร์อ่านได้
(n)ข้อมูลพื้นฐาน
(adj)ไม่มีมูลความจริงSee Also:ไม่มีเหตุผลSyn.unfounded, groundless
(n)หน่วยความเร็วในการส่งข้อมูล
(v)ประมูล ให้ราคา
(n)การประมูลSee Also:การให้ราคา, การเสนอราคา
(n)การประกวดราคาSee Also:การประมูลSyn.offer, propose, put forward
(n)ข้อมูลเกี่ยวกับคนหรือสิ่งที่ทำในชีวิต
(n)หน่วยวัดความจุข้อมูลSee Also:บิต
(n)ที่วางของโชว์ในการประมูล
(n)ไบต์ (หน่วยเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 ไบต์เท่ากับ 8 บิต)
(phrv)ประมูลSee Also:เสนอราคา
(phrv)ประมูลSyn.buy in
(phrv)ประมูล
(phrv)เพิ่มราคาประมูล
(phrv)ประมูลสินค้าSyn.bid in
(adj)ที่ไม่ต้องการเปิดเผย (คำไม่เป็นทางการ)See Also:ที่ไม่ต้องการให้ผู้อื่นรู้ข้อมูลบางอย่างSyn.secretive
(n)กล่องบรรจุบัตรข้อมูลที่เรียงลำดับตามตัวอักษรSyn.card index
(n)กล่องบรรจุบัตรข้อมูลที่เรียงลำดับตามตัวอักษรSyn.card catalog
(vt)บอกข่าวSee Also:แจ้งข่าว, แจ้งข้อมูลSyn.impart
(vt)ค้นหาข้อมูล
(vi)มีมูลค่าSee Also:มีราคาเท่ากับSyn.be priced at, be valued
(idm)แหล่งข้อมูลSee Also:แหล่งข่าว
(phrv)ให้เบาะแสกับ (คำไม่เป็นทางการ)See Also:ชี้นำ, แนะหรือให้ข้อมูลกับ
(idm)ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์
(phrv)ให้ข้อมูลในเรื่องSee Also:แนะเงื่อนงำในเรื่องSyn.clew up
(phrv)ค้นหาข้อมูลอย่างละเอียดในเรื่อง
(phrv)พยายามหา (ข้อมูล) เกี่ยวกับSee Also:ค้นหา ข้อมูล เกี่ยวกับ
(phrv)ค้นหา (ข้อมูลหรือเงิน)See Also:ขุดคุ้ยหา ข้อมูลหรือเงิน
(idm)การประมูลสิ่งของโดยเริ่มจากราคาสูงและลดลงจนกว่าจะได้ผู้ซื้อ
(phrv)เพิ่มข้อมูล (ที่ไม่เป็นจริง)See Also:เพิ่มรายละเอียด ที่ไม่เป็นจริง
(phrv)ให้ข้อมูลกับ (บางคน)
(idm)บอกSee Also:ให้ข้อมูล
(phrv)รั่ว (ข้อมูล, ข่าว)See Also:รั่วไหลSyn.let out
Hope Dictionary
เครื่องหมาย asterisk (ดอกจัน) เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ
เครื่องหมาย underscore เป็นอักขระตัวหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีลักษณะดังนี้ (-) ถ้าเป็นแป้นในพิมพ์ดีดจะใช้สำหรับขีดเส้นใต้ (underline) แทน แต่ในคอมพิวเตอร์ การขีดเส้นใต้มักนิยมใช้เป็นคำสั่ง (underline) แทน แต่บนแผงแป้นพิมพ์ก็ยังมีแป้นนี้อยู่ เมื่อกดแป้นนี้ คอมพิวเตอร์จะถือเสมือนเป็นตัวอักขระตัวหนึ่ง แต่ไม่สามารถใช้เป็นการขีดเส้นใต้ได้ต่อไปอีก เช่น อาจตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า A-B ก็ได้
(เอบีซิแด' เรียน) n. , adj. ผู้กำลังเรียนอักษรพยัญชนะ ผู้เริ่มศึกษา ตัวพยัญชนะ, เรียงตามลำดับพยัญชนะ, เบื้องต้น, ขั้นต้น, มูลฐาน
ก้านเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง อุปกรณ์ในหน่วยบันทึก มีลักษณะเป็นก้านที่ต่อกับหัวอ่าน/บันทึก (read / write head) ที่ใช้เจาะเข้าไปที่จานบันทึก เพื่ออ่านข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล หรือเพื่อบันทึกข้อมูลลงในจานบันทึก มีลักษณะคล้ายเข็มของเครื่องเล่นจานเสียง
กุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้
กลไกการเข้าถึง <คำแปล>หมายถึง กลไกของอุปกรณ์ที่ใช้รองรับ และเคลื่อนย้ายก้านเข้าถึง (access arm) ของหน่วยจานบันทึก (disk drive) ไปบนพื้นผิวของจาน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงจานบันทึก
วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ
ช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ
(แอ็ค) ตอบรับ รับรู้ ย่อมาจากคำว่า acknowledge ใช้ในความหมายของการรับรู้ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะมีการถ่ายโอนข้อมูลให้แก่กันและกัน เท่ากับเป็นการรับรู้ว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ และพร้อมที่จะรับการถ่ายโอนข้อมูลจากกัน
(เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่าSyn.pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ
(ออล' มะแนค) n. ปฏิทินประจำปีชนิดพิสดารที่มีเหตุการณ์ต่าง ๆ ระบุไว้ด้วยรวมทั้งสถิติข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าสนใจ, ปฎิทินประจำปี, ปฏิทินดาราศาสตร์ประจำปีSyn.calendar
(แอล' ฟาเบท) n. อักษรพยัญชนะ, อักษร, อักขระ, ระบบตัวอักษร, ความรู้พื้นฐาน, ขั้นมูลฐาน.
แป้นสลับเป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ ALT (ย่อมาจาก alternate) อยู่บนแป้น แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล
เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ (มีคำ ALT อยู่บนแป้น) แป้นนี้ต้องใช้พร้อมกับแป้นอื่น ๆ จึงจะเป็นคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานบางอย่าง เช่น เมื่อ กดแป้น ALT+P (กดแป้น ALT และแป้นตัวอักษร P พร้อมกัน) จะเท่ากับเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์แฟ้มข้อมูล
แฟ้มแก้ไข <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่บรรจุรายการเปลี่ยนแปลงหรือรายการแก้ไข เพื่อนำมาใช้ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลัก (master file) ให้ทันสมัยมีความหมายเหมือน transaction file
(แอมมิวนิช' เชิน) n. อาวุธยุทธภัณฑ์, กระสุน, ข้อมูล (shot and shell)
(แอน' นะลอก) n. = analogue อะนาล็อก เชิงอุปมานหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็วของรถยนต์จากการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ ดิจิตอล (digital) ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างอะนาล็อกและดิจิตอลได้ชัดเจน กล่าวคือ แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบอะนาล็อก คอมพิวเตอร์นั้นมีสองชนิด คือชนิดอะนาล็อกและชนิดดิจิตอล แต่คอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักกันนั้นจะเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็นดิจิตอล "เสียง" เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นอะนาล็อก เมื่อจะนำเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์ จะต้องถูกนำไปเปลี่ยนเป็นดิจิตอลก่อน โดยให้ผ่านอุปกรณ์ชนิดหนึ่งเรียกว่า "โมเด็ม" ดู digital เปรียบเทียบ
(แอน' เซสทรี) n. บรรพบุรุษ, เทือกเถาเหล่ากอทั้งหลาย, วงศ์ตระกูล, มูลรากที่มาของปรากฎการณ์สิ่งของข้อคิดเห็นหรือรูปแบบ, ขบวนการหรือประวัติดังกล่าวSyn.forefathers, lineage, origin, ancestral descent
ภาวะตอบรับหมายถึง ภาวะที่โมเด็ม (modem) หรืออุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้สายโทรศัพท์ส่งเสียงแสดงว่าพร้อมที่จะรับคำสั่ง (แปลว่าให้เริ่มส่งข้อมูลได้)
ป้องกันไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ จะหมายถึงโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ช่วยป้องกัน ตรวจหา และกำจัดไวรัสก่อนที่ไวรัสนั้นจะเข้ามาทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนมากจะสามารถระบุชื่อไวรัสได้ด้วยดู virus ประกอบ
ตัวนำข้อมูลเข้า <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ADB หมายถึง ตัวประสาน (interface) ที่ทำหน้าที่ประสานการทำงานของแป้นพิมพ์ เมาส์ (mouse) แทร็กบอลล์ (trackball) ฯ และอุปกรณ์ป้อนข้อมูลอื่น ๆ ให้สามารถนำข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้ (เฉพาะแมคอินทอช)
วินโดว์โปรแกรม <คำแปล>หมายถึงวินโดว์ของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม ถ้าจะสร้างแฟ้มข้อมูล ก็จะมองเห็นมีวินโดว์ใหม่ซ้อนขึ้นมาอีกวินโดว์หนึ่ง เรียกว่า วินโดว์เอกสาร (document window)
(อาร์ค) 1. n. ส่วนโค้ง, ความโค้ง, สะพานเรืองแสงที่อยู่ระหว่างปลายหรือ conductors ทั้งสอง, สิ่งที่มีรูปคล้ายคันศร -S...curve, arch, bend 2. เป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ในการหลอมรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แฟ้มเข้าเป็นแฟ้มเดียวกัน เพื่อให้ใช้เนื้อที่ในการเก็บน้อยลง โปรแกรมนี้เคยได้รับความนิยมอย่างสูงมาก่อน ต่อมาความนิยมได้ลดลงเพราะมีโปรแกรมใหม่กว่า มีผู้นิยมใช้มากกว่า มีชื่อเรียกว่า ZIP โปรแกรมประเภทนี้จะสามารถอัด (compress) ข้อมูลจำนวนมาก ๆ ให้เก็บได้ในเนื้อที่น้อย ๆ เช่นในจานบันทึก (floppy disk) แต่เมื่อจะใช้ จะต้องนำมาขยายเป็นขนาดปกติก่อน เรียกว่า decompress (ดู compress)
(อาร์' คี) n. ระบบหนึ่งของผู้ให้การบริการ (servers) ที่ค้นหาไฟล์ที่มีอยู่ สำหรับสาธารณในแหล่งข้อมูลโปรโตรคอลแปลงแฟ้มข้อมูล (FTP, file transfer protocol)
(อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้)
แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
(แอส'เทอริสคฺ) n. เครื่องหมายดอกจันทร์ (*) , สิ่งที่มีลักษณะคล้ายดาว. -vt. ใส่เครื่องหมายดอกจันทร์หรือดาว ดอกจัน <คำแปล>* <เครื่องหมาย>เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ
(อะซิน'ดีทัน) n. การตัดสันธาน (conjunction) ออก. -asyndetic อสมวาร <คำแปล>หมายถึง กระบวนการหรือการกระทำใด ๆ ก็ตามที่ไม่สอดประสานหรือสมนัยกัน (ใช้ในการรับและส่งข้อมูลทางโทรศัพท์)
(เอที แอนด์ ที) ย่อมาจาก American Telephone and Telegraph หมายถึง บริษัทโทรศัพท์และโทรเลขของอเมริกา งานของบริษัทนี้มาเกี่ยวกับวงการคอมพิวเตอร์ก็ตรงที่คอมพิวเตอร์สมัยนี้ส่งข้อมูลและข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน โดยใช้สายโทรศัพท์เป็นสื่อ (ส่วนใหญ่เป็นการเกี่ยวข้องทางด้านการสื่อสารข้อมูล)
abbr. 1. atmosphere, atmospheric 2. (เอทีเอ็ม) ย่อมาจาก automatic teller machine แปลว่า เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ เป็นเครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงิน ได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่
(อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n.Syn.assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น
(ออค'เชิน) n. การเลหลัง, การประ-มูลของ, การขายทอดตลาด. -vt. ขายทอดตลาด
(ออธอ'ริที) n. เจ้าหน้าที่, อำนาจ (ในหน้าที่ตำแหน่ง) , ผู้มีอำนาจ, ผู้เป็นต้นตำรับ, ทางราชการ, แหล่งข้อมูลหรือคำแนะนำที่เชื่อถือได้, ความเชื่อถือได้, ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง, อำนาจทางนิตินัย, อำนาจการเป็นตัวแทน, ความเชี่ยวชาญ, พยาน, การให้การ (คำที่มีความหมายเหมือนก
สำนักงานอัตโนมัติหมายถึงสำนักงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน เช่น การเก็บข้อมูล การพิมพ์เอกสาร ฯ บางทีใช้ office automation
ขบวนการป้อนข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ ใช้อักษรย่อว่า ADP
เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ <คำแปล>นิยมใช้ตัวย่อว่า ATM หมายถึง เครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงินได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่
บริภัณฑ์ช่วย <คำแปล>อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลของคอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องอ่านบัตร (card reader) , หน่วยขับจานบันทึก (disk drive) เป็นต้น
หน่วยความจำช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยเก็บช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำหรือหน่วยเก็บที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีความหมายเหมือน auxiliary memory
หน่วยเก็บหนุนหน่วยเก็บข้อมูล ที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บหนุนนี้แทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยเก็บความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backup storage
\ (อักขระ) <เครื่องหมาย>หมายถึงสัญลักษณ์ \ เครื่องหมายนี้ดูเผิน ๆ คล้ายกับ / (slash) แต่กลับทิศทางกัน บางคนคิดว่าเหมือนกัน แต่ความหมายจะแตกต่างกันมาก ในระบบดอส สัญลักษณ์นี้ใช้แยกระหว่างชื่อสารบบ (directory) กับชื่อแฟ้มข้อมูล (file) เช่น DIR C:\Taksina\June.xlsคำสั่งข้างบนนี้เป็นคำสั่งให้แสดงแฟ้มข้อมูลชื่อ June.xls ซึ่งอยู่ภายใต้สารบบชื่อ Taksina และเก็บอยู่ในหน่วยบันทึก C:
หน่วยเก็บสำรอง <คำแปล>หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่ใช้เป็นที่เก็บหนุน หรือเก็บข้อมูลสำรองไว้ ในกรณีที่หน่วยเก็บที่ใช้งานอยู่เกิดขัดข้อง หรือเสียหาย ก็อาจใช้หน่วยเก็บสำรองแทนได้ โดยทั่วไปก็จะหมายถึงหน่วยความจำอื่น ๆ นอกไปจากหน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นต้นว่าสื่อต่าง ๆ เช่น แถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) มีความหมายเหมือน auxiliary storage หรือ backing store
ส่วนวงเสียหมายถึงส่วนวงในร่องที่ใช้บันทึกข้อมูลบนแผ่นจานบันทึกเสีย ทำให้ไม่สามารถอ่านข้อมูลออกมา หรือบันทึกข้อมูลลงไปเก็บได้ คอมพิวเตอร์จะแสดงข้อความนี้บนจอภาพเมื่อสั่งให้อ่านหรือบันทึกข้อมูล แล้วไม่สามารถทำได้ เพราะเกิดกรณีนี้ขึ้น
(แบ็ก) คำ ๆ นี้ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลเพื่อบ่งบอกว่า เป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง (backup file) เช่น autoexec.bak (แฟ้มข้อมูลเดิมชื่อ autoexec.bat) นี้ ในบางกรณี โปรแกรมจะสร้างนามสกุลให้แฟ้มข้อมูลเหล่านี้เองโดยไม่ต้องสั่ง โดยเฉพาะถ้ามีการเก็บแฟ้มข้อมูลที่นำมาแก้ไขแล้วซ้ำอีกครั้งหนึ่ง แฟ้มที่แก้ใหม่จะใช้ชื่อเดิม แต่แฟ้มเดิมจะกลายเป็นแฟ้มสำรอง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำบางโปรแกรม
คำอธิบายสั้น ๆ หมายถึง คำอธิบายพิเศษที่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชที่ใช้ System 7 จัดไว้ เพื่ออธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ส่วนมากจะเป็นคำอธิบายสั้น ๆ แสดบนจอภาพในลักษณะของคำพูดในหนังสือการ์ตูน ไม่เหมือน กับเมนู Help ของเดิม ที่มีข้อมูลหรือคำอธิบายยาว ๆ
(แบงคฺ) n. ธนาคาร, ฝั่ง, มูลดิน, ตลิ่ง, ฝั่ง, ชายฝั่ง, เขื่อน, แถว, แนว, แถวของพายของเรือ vt. เอาเงินฝากธนาคาร, จัดเป็นแถว vi. สะสม, เอียงข้าง, ฝากเงินธนาคารSyn.mass
เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง <คำแปล>เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น
(บีเอเอส) ใช้เป็นนามสกุลของแฟ้มข้อมูลที่เขียนด้วยภาษาเบสิก
หมายถึง ตำแหน่งเริ่มต้นที่ใช้เพื่อการคำนวณหาเลขที่อยู่ (address) ในแหล่งเก็บข้อมูล จากเลขที่อยู่สัมพัทธ์ (relative address)
แฟ้มคำสั่งรวมหมายถึง แฟ้มพิเศษที่ใช้เก็บคำสั่งระบบที่ต้องการใช้ เพื่อสั่งให้เครื่องทำงานให้ ถ้ามีแฟ้มข้อมูลนี้เก็บไว้ คอมพิวเตอร์จะปฏิบัติการตามขั้นตอนในคำสั่งที่บรรจุอยู่ในแฟ้มนี้ทันทีที่เริ่มเครื่องใหม่ (boot) แฟ้มข้อมูลประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file tpe) ว่า .bat เช่น autoexec.bat เป็นต้น
Nontri Dictionary
(n)การเลหลัง, การขายทอดตลาด, การประมูล
(adj)เกี่ยวกับฐาน, เป็นมูลฐาน, แรกเริ่ม
(adj)ไม่มีรากฐาน, ไร้เหตุผล, ไม่มีมูลความจริง
(adj)เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับมูลฐาน
(n)มูลฐาน, หลักฐาน, รากฐาน, ส่วนสำคัญ, กฎเกณฑ์
(n)หินดาน, รากฐาน, มูลเดิม
(vt)สั่ง, เชื้อเชิญ, เสนอราคา, ให้ราคา, ประมูลราคา
(n)การปกครองระบบเจ้าขุนมูลนาย
(adj)เกี่ยวกับข้าราชการ, ของข้าราชการ, เกี่ยวกับเจ้าขุนมูลนาย
(adj)เกี่ยวกับเหตุผล, เกี่ยวกับสาเหตุ, เป็นมูลเหตุ
(n)สาเหตุ, ต้นเหตุ, ชนวน, มูลเหตุ
(adj)ไม่มีสาเหตุ, ไม่มีมูลเหตุ, ไม่มีเหตุ
(n)หน้าที่, ความรับผิดชอบ, ภาระ, ค่าธรรมเนียม, มูลค่า, การฟ้องร้อง
(adv)อย่างสมบูรณ์, อย่างพร้อมมูล, อย่างครบถ้วน
(n)ความสมบูรณ์, การทำสำเร็จ, ความพร้อมมูล
(n)ราคา, ค่าโสหุ้ย, ทุน, มูลค่า, ต้นทุน, ค่าใช้จ่าย, ค่าเสียหาย
(vt)มีราคา, เป็นมูลค่า, ทำให้ต้องเสีย
(n)ข้อมูล, ตัวเลข, สถิติ, สิ่งที่รู้
(n)ข้อมูล, สถิติ, ตัวเลข, สิ่งที่รู้
(n)มูลสัตว์, ปุ๋ย, ปุ๋ยคอก, มูล
(n)กองมูลสัตว์, สถานที่สกปรก
(n)อุจจาระ, ของเสียจากร่างกาย, มูล
(n)การสถาปนา, รากตึก, รากฐาน, การสร้าง, มูลนิธิ, หลักฐาน, พื้นฐาน
(n)ความครบถ้วน, ความบริบูรณ์, ความพร้อมมูล, ความเต็มเปี่ยม, ความเต็มที่
(n)เงินทุน, มูลนิธิ, ทุน, กองทุน, ใบกู้เงิน, เงินฝาก
(adj)ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญ, เป็นรากเหง้า, โดยสันดาน, เป็นมูลฐาน
(n)เศษอาหาร, เศษขยะ, ขยะมูลฝอย, สิ่งปฏิกูล
(adv)ไม่คิดมูลค่า, ให้เปล่า, ฟรี
(adj)ให้เปล่า, ไม่คิดมูลค่า, ให้ฟรี
(n)พื้นดิน, ดิน, มูลฐาน, ที่มั่น, หลักฐาน, รากฐาน, ที่ดิน
(n)การปกครองระบอบเจ้าขุนมูลนาย, การปกครองเป็นลำดับชั้น
(n)การบอก, ข้อความ, ข่าว, ความรู้, เรื่องที่บอก, ข้อมูล
(vt)บอกผิด, พูดให้เข้าใจผิด, ให้ข้อมูลผิด
(n)สิ่งที่ทราบมาผิดๆ, ข้อมูลที่ผิด
(n)การสังเกต, ความเห็น, ข้อมูล
(n)เศษเล็กเศษน้อย, ของทิ้ง, ขยะมูลฝอย
(n)ขี้, อุจจาระ, มูล, คูด, ปุ๋ย
(vt)ประมูลสูงกว่า, ให้ราคาสูงกว่า
(n)ผู้ปกครอง, มูลเหตุ, บ่อเกิด, แหล่งกำเนิด
(n)แบบเรียนขั้นต้น, มูลบท, แบบสอนอ่าน
(n)ขยะมูลฝอย, ของเสีย, กาก
(n)กาก, ขยะมูลฝอย, เดน, เศษ, ของเสีย
(n)พื้นฐาน, มูลฐาน, ความรู้เบื้องต้น, เค้าโครง
(adj)เกี่ยวกับตัวเลข, เกี่ยวกับสถิติ, ที่อาศัยข้อมูล
(n)ข้อมูล, สถิติ, ตัวเลข
(n)การเก็บรักษา, ที่เก็บของ, แหล่งเก็บข้อมูล
(vt)เก็บรักษา, สะสม, เก็บข้อมูล
(n)รถขนถ่าน, ผู้ดูแล, เรือรับส่งคนโดยสาร, การประมูลราคา, การเสนอ
(vt)ให้, มอบ, ยื่น, ประมูลราคา, ทำให้อ่อน
(adj)ไม่มีมูล, ไม่มีราก, ว่างเปล่า
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)หนังสือชี้แจงข้อมูล
ข้อมูลที่น่าสนใจ
(n)สารต้านอนุมูลอิสระ(วิทย์.)
(n)ผู้ประมูลที่เสนอราคาต่ำสุดในการประกวดราคา
โรงเรียนอัสสัมชัญเป็นสถานศึกษาเอกชนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียล ตั้งอยู่ที่ 26 ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 สามารถติดต่อได้ที่ 0-2630-7111-25
[-](name)โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 10 ตำบลสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท์ 038-311055-6
(n)การประมูล
(jargon)ระบบรับข้อมูลอุตุนิยมวิทยาโดยอัตโนมัติ
(n)บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้
(n)ข้อมูลมหัต
(n)แฟ้มข้อมูลฐานสอง
แมลงวันจำพวก Chrysomya rufifacies ในตระกูล Calliphoridae ชอบวางไข่ในมูลสัตว์ อาหารเน่าเสีย, แมลงวันหััวเขียว
[バーストてき]อัตราการไหลของข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในเวลาสั้นๆ
(n)ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
(vt)compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน
(n, slang)มูลวัวSyn.dung
ข้อมูลเครดิต
ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)ฐานข้อมูลขนาดยักษ์ ที่รวบรวมฐานข้อมูลจากหลายแหล่งหลายช่วงเวลา ซึ่งอาจมี schema แตกต่างกัน มาไว้รวม ณ ที่เดียวกัน (และใช้ schema เดียวกัน)
ผู้จัดการฐานข้อมูล
(n)การซักไซ้, การล้วงข้อมูล
(vt)Accounting. ทำการบันทึก บันทึกข้อมูลSee Also:Save, RecordSyn.Record
(name)เป็นหนังสือที่มีลักษณะคล้ายกับ Dictionary ให้ข้อมูลต่างๆมากมาย
FireWire คือชื่อเรียกของ apple หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า i-link คือชื่อเรียกของ Sony หรือที่เรียกว่า มาตรฐาน IEEE 1394 เป็นเทคโนโลยีสำหรับการส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล ด้วยความเร็ว 400 และ 800 เมกะบิตต่อวินาที ส่งผลให้การติดต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ฮาร์ดดิส ปริ้นเตอร์ สแกนเนอร์ กล้องดิจิตอลหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่มีช่อง FireWire ทำงานได้อย่างรวดเร็ว FireWire มีลักษณะการทำงานเหมือนหรือคล้ายกับ USB เพียงแต่ออกแบบมาให้เหมาะกับการใช้งานกับอุปกรณ์ทางด้านมัลติมีเดียมากกว่า เนื่องจาก USB เหมาะกับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่เกี่ยวกับอินพุต เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด ฯลฯ (USB มีความเร็วน้อยกว่า FireWire) นอกจากนี้ FireWire ยังสามารถต่อพ่วงอุปกรณ์ไแบบ Daisy Chain ได้ถึง 67 ชิ้น และสนับสนุนการทำงานแบบ Hot plug คือสามารถต่อแล้วใช้งานได้เลยทันที นอกจาก นี้ ยังสามารถส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปกำหนดการทำงานของกล้องวิดีโอได้ด้วย ซึ่งทำให้เราสามารถทำงานในขั้นตอนเดียวกันได้ เช่น การอัดภาพจากกล้องลงมาคอมพิวเตอร์ ก็เพียงแค่สั่งจากคอมพิวเตอร์ กล้องก็จะเริ่มต้นทำงาน พร้อมกับดึงภาพมาให้เองโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องไปกังวลว่าจะต้องไปสั่งเล่นจากกล้องแล้วมาสั่งอัดที่คอมพิวเตอร์
(phrase)ให้ข้อมูล หรือ เตือนล่วงหน้า เช่น Do you want to give me a heads up on this? จะบอกฉันหน่อยไหมว่านี่มันเรื่องอะไรยังไง
(n)GPS (global positioning system) จีพีเอส (ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกข้อมูลตำแหน่งโลก คือ จีพีเอส ที่ทำให้เราทราบค่าตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ของโลก โดยใช้อุปกรณ์รับสัญญาณคือ อุปกรณ์จีพีเอส ดาวเทียมกำหนดตำแหน่งบนโลก มีอยู่สามค่ายคือ 1. NAVSTAR เป็นของประเทศอเมริกา 2. GLONASS เป็นของประเทศรัสเซีย 3. GALILEO เป็นของยุโรป แต่ที่เราใช้สัญญาณในปัจจุบันด้วย จีพีเอสที่สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาดนั้นใช้ของ NAVSTAR แต่เรานิยมเรียกของค่ายนี้ว่า ดาวเทียมจีพีเอส
(n)เครือข่ายสังคมออนไลน์ (social media) นำมาเปรียบเทียบเป็นเสมือนจัตุรัสแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปันข้อมูลข่าวสารที่สามารถเข้าถึงได้จากทั่วโลก แทนที่จะจำกัดแค่คนในพื้นที่ตามความหมายของคำว่า town square เดิม
(n, name, org, uniq)เว็บไซต์เสิร์ชเอนจิน (search engine) ชื่อดัง ให้บริการค้นหาข้อมูลต่างๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (www.google.com)
(n)เงินตราในศตวรรษที่ 20 มีมูลค่าสี่เพนนี
[อินโฟ กราฟฟิค](n, computer)ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network
[อิน ฟอร์ เม ชั่น](n)ข้อมูลSyn.detail
[ไทย](n, vt)Intrabusiness ก็คือ การติดต่อ ระหว่างคนในองค์กรกันเอง หรือ ระหว่างบริษัทที่เป็นคู่ค้ากันอยู่ เช่น เว็บของมหาวิทยาลัยบ คนอื่น ก็จะเข้ามาได้ แต่ไม่สามารถเข้ามาดูข้อมูลส่วนตัวได้ หรือ อย่างธนาคารที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสาขากัน
(n)นิยามข้อมูล
(phrase)การทบทวนวรรณกรรมระบบเชิงปริมาณ, การทบทวนหลักฐานจากข้อมูลทางสถิติที่รวบรวมขึ้น
(n)ข้อมูลของข้อมูล ซึ่งจะใช้ข้อมูลอธิบายถึงข้อมูลอีกชุดหนึ่งตามต้องการSee Also:metatable
(n)นิยามข้อมูล
(n)ตารางของตาราง ซึ่งใช้ตารางสำหรับอธิบายตารางเช่น เช่นเดียวกับคำว่า Metadata ซึ่งใช้ข้อมูลอธิบายข้อมูลSee Also:metadata
[มัลด-ไวน์](n)ไวน์ผสมเครื่องเทศ เป็นเครื่องดื่มที่มักจะทำจากไวน์แดงอุ่นให้ร้อนผสมเครื่องเทศ น้ำตาลเล็กน้อย และผลไม้เช่นส้มฝานบาง เสิร์ฟร้อนหรืออุ่น นิยมดื่มกันระหว่างฤดูหนาวในหลายประเทศโดยเฉพาะในเยอรมนีและประเทศต่างๆ ในยุโรป (ข้อมูลจาก wikipedia.org)
[มิว-สิก-เเมด](name, org)มิวสิคซ์แมทช์ (Musixmatch) คือบริษัทข้อมูลเพลงของอิตาลีและเป็นแพลตฟอร์มที่ให้ผู้ใช้ค้นหาและแบ่งปันเนื้อเพลงพร้อมคำแปล เป็นแพลตฟอร์มที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีผู้ใช้ 80 ล้านคน (ผู้ใช้งาน 50 ล้านคน) เนื้อเพลง 8 ล้านคน และพนักงานมากกว่า 130 คน
(vi)การอ้างถึงชื่อผู้อื่นในทำนองว่ารู้จักกับผู้นั้น เพื่อสร้างมูลค่าให้ตนเอง​, โดยทั่วไปมีความหมายในเชิงลบ. ตัวอย่าง เช่น I know Lisa of Blackpink and she often comes to my house for dinner. ฉันรู้จักลิซ่าแห่งวง Blackpink นะ เขามาทานอาหารเย็นที่บ้านฉันบ่อยๆ
[โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี](n)“สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org)
[ฟามาโคเปีย](n, pharm)หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ
(n)การหลอกลวงทางอินเตอร์เน็ต, การส่งข้อความที่ดูน่าเชื่อถือ เพื่อหลอกลวงให้กรอกข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลบัตรเครดิต ฯลฯ ลงไปSee Also:phishing emailSyn.fishing
[โพลีแม็ธ](n)คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้อย่างเป็นทางการเท่าใดนักจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน ผู้รู้รอบด้านมีความหมายต่างจากคำว่าอัจฉริยบุคคล (ข้อมูลแปลจาก wikipedia.org)
เว็บประมูล [ http://www.pramool.com ]
(phrase)การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
(n)การสืบค้นข้อมูล
(vt)นำไปใช้ในวัตถุประสงค์อื่น .Repurpose เป็นการทำตามกรอบ Reuse แต่ในแนวทางใหม่ตามเทคนิค DIY เป็นสิ่งของใหม่ที่นำไปใช้ในวัตถุประสงค์อื่น หรืออาจจะเรียกว่า Upcycle ก็ได้ ถ้ามูลค่าแตกต่างจากเดิมมาก โดยไม่ได้ทำการยุบหรือทำลายก่อนเหมือนกรณี Recycle
การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true
Longdo Approved JP-TH
[あんぴじょうほう, anpijouhou](n)ข้อมูลหรือข่าวสารเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือการรอดชีวิต
[しょうひぜい, shouhizei](n)ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้าแปลตามความหมายของคำ จะแปลว่า ภาษีบริโภค)
[ちしき, chishiki](n)ข้อมูล, ความรู้
[zeikomi](n)รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
[そうぶせん, soubusen](n, name)เส้นทางรถไฟสายโซบุของ JR (Japanese Railway) วิ่งระหว่างโตเกียวกับชิบะ สัญลักษณ์ใช้สีเหลือง (ข้อมูล พฤศจิกายน 2546)
[きにゅう, kinyuu](n)การกรอกข้อมูลในแบบฟอร์ม
[dangou](n)ฮั้วประมูล
[しさんかち, shisankachi](n)มูลค่าสินทรัพย์
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
代金
[だいきん, daikin](n)ค่าใช้จ่าย, มูลค่าSee Also:S. 代価、価格
落札
[らくさつ, rakusatsu](n, vt)ประสมความสำเร็จในการประมูล
機密
[きみつ, kimitsu](n)ความลับ (มักใช้เกี่ยวกับเรื่อง ความลับ หรือ ข้อมูลสำคัญ ภายในบริษัท หรือ องค์กร)
漏洩
[ろうえい, rouei](n)การรั่วไหล (การรั่วไหลของข้อมูล ข่าวสาร ฯลฯ)
改竄
[かいざん, kaizan](n)การปลอมแปลงแก้ไข (พวกข้อมูล หรือ เดต้า)
検索
[かいざん, kensaku](name)ค้นหาข้อมูล
設定
[かいざん, settei](name)ค้นหาข้อมูลติดตั้ง, สร้าง, การกำหนด
平文
[ひらぶん, hirabun](n)ข้อมูลที่ไม่ถูกเข้ารหัส
可逆圧縮
[かぎゃくあっしゅく, kagyakuasshuku](n)เป็นศัพท์ทางเทคนิคในการบีบอัดข้อมูล มาจากภาษาอังกฤษ Lossless Compression ซึ่งก็คือ ข้อมูลก่อนการบีบอัดและข้อมูลหลังการขยายข้อมูลที่ถูกบีบอัดกลับมา มีความถูกต้องตรงกันไม่มีข้อแตกต่างSee Also:R. 非可逆圧縮
非可逆圧縮
[ひかぎゃくあっしゅく, hikagyakuasshuku](n)เป็นศัพท์ทางเทคนิค เกี่ยวข้องกับการบีบอัดข้อมูล จากภาษาอังกฤษว่า Lossy Compression คือ ข้อมูลก่อนการบีบอัดและหลังจากคลายการบีบอัดคืนกลับมา ข้อมูลที่ได้จะมีบางส่วนผิดเพี้ยนไป ดู Lossless CompressionSee Also:R. 可逆圧縮
統計
[とうけい, toukei](n)สถิติ, ข้อมูล, ข้อเท็จจริงเป็นตัวเลข, S. numerical fact, datum
データ取得
[データしゅとく, de^ta shutoku]การรวบรวมข้อมูลหมายถึง การเสาะหาหรือการรับข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์
[ゆえ, yue](n)N ] เหตุผล, See also: มูลเหตุ, Syn. cause, motive
Hidetoe
[ฮิเดะโตะ](name)เจ้าชายแห่งประมูลดอทคอม(บอร์ด Palm) รูปหล่อ บ้านรวย ตระกูลดี เป็นที่ชื่นชอบของทุกคนในบอร์ดSee Also:S. ., A. ., R. .
知識工学
[ちしきこうがく, chishikikougaku](n)วิศวกรรมข้อมูลความรู้ วิศวกรรมสารสนเทศ
情報公開法
[じょうほうこうかいほう, jouhoukoukaihou]พรบ.เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
厨房 ; 中坊 ; 中に病
[จูโบ จูนิเบียว จูนิบโย chuubou chuububyou ちゅうにびょう ちゅうぼう](n, slang)ความหมายโดยแท้จริง แปลว่า ครัว แต่เนื่องจากไปพ้องเสียงกับอีกคำแสลงอีกคำที่มีความหมายว่า เกรียน (ทำตัวเป็นเด็กไม่รู้จักโต ก่อกวน หรือสร้างความรำคาญให้ผู้อื่น) คือ 中坊 (เด็กมัธยมต้น หรือ เด็กที่ไม่รู้จักโต) และในขั้นตอนเวลาพิมพ์คำว่า 中坊 มักจะไม่ออกมาให้เลือก ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่จึงใช้คำ 厨房 ในเชิงคำแสลงว่า "เกรียน" แทนคำเดิมไปโดยปริยาย นอกจากนี้ยังมีคำว่า 中に病 (ちゅうにびょう)ซึ่งแปลว่า "โรคเด็กม.ต้น" ก็มีใช้ในความหมายเชิงว่า เกรียน ได้ด้วยเ่ช่นกัน (ขอบคุณข้อมูลจากเพจ "เรียนภาษาญี่ปุ่นกับโอมเซนเซ" ด้วยค่ะ)
アップリンクID
[アップリンクアイディー, appurinkuaidi^]ก. ผู้ควบคุมข้อมูล | เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูล ผู้ควบคุมข้อมูลสำหรับการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือ Freiwillige รับผิดชอบในการควบคุม Unterhaltungssoftware GmbH Torstr. 6 10119 เบอร์ลิน เยอรมนี อีเมล
Saikam JP-TH-EN Dictionary
送信
[そうしん, soushin] TH: การส่งข้อมูลข่าวสารไปให้ผู้รับ
送信
[そうしん, soushin] EN: transmission (vs)
情報
[じょうほう, jouhou] TH: ข้อมูล
自動ロード
[じどうろーど, jidouro-do] TH: การโหลดข้อมูลโดยอัตโนมัติ
自動ロード
[じどうろーど, jidouro-do] EN: autoload
入力
[にゅうりょく, nyuuryoku] TH: การป้อนข้อมูล
誤報
[ごほう, gohou] TH: ข้อมูลผิดพลาด
誤報
[ごほう, gohou] EN: misinformation
データベース
[でーたべーす, de-tabe-su] TH: ฐานข้อมูล
データベース
[でーたべーす, de-tabe-su] EN: database
検索
[けんさく, kensaku] TH: ค้นหาข้อมูล
検索
[けんさく, kensaku] EN: lookup
データ
[でーた, de-ta] TH: ข้อมูล
データ
[でーた, de-ta] EN: data
資料
[しりょう, shiryou] TH: ข้อมูล
資料
[しりょう, shiryou] EN: materials
下調べ
[したしらべ, shitashirabe] TH: การเตรียมหาข้อมูลไว้ล่วงหน้า
原因
[げんいん, gen'in] TH: มูลเหตุ
原因
[げんいん, gen'in] EN: source
Longdo Approved DE-TH
(n)|die, pl. Angaben| ข้อมูล
(n)|pl| ข้อมูลSee Also:die Angaben
(n)|die, pl. Informationen| ข้อมูล
(n)|der, nur Sg.| ข้อมูล, คำตอบ เช่น Bescheid sagen, Bescheid geben
(n)|der, pl. Ordner| กล่องเก็บไฟล์ข้อมูลสำหรับคอมพิวเตอร์
(vi)|kostete, hat gekostet| เป็นมูลค่า, มีราคา เช่น Was kostet das? นี่ราคาเท่าไหร่
(n)|das, pl. Tabellenhandbücher| หนังสือที่มีข้อมูลแสดงไว้ในรูปแบบของตาราง สำหรับเปิดดูค่าต่างๆ ที่ต้องการ
(vt)พัฒนา(ตนเอง) เช่น Die Informationstechnologie hat sich sehr schnell entwickelt. เทคโนโลยีด้านข่าวสารข้อมูลพัฒนาเร็วมาก
(vt)|informierte, hat informiert| แจ้งข่าว, ให้ข้อมูล เช่น Wir informieren Sie gern über die vielen Vorzüge unserer Mitgliedschaft. เรายินดีให้ข้อมูลคุณเกี่ยวกับความน่าดึงดูดของการเป็นสมาชิกกับเราSee Also:Related: sich informieren
(vt)หาข้อมูลเกี่ยวกับบางสิ่ง, ศึกษาบางสิ่ง เช่น Ich möchte mich über das Bildungssystem in Deutschland informieren.Syn.sich erkundigen
(vt)ไต่ถาม, หาข้อมูล เช่น Er hat sich vorher nach dem Weg erkundigt.Syn.informieren sich
(vt)สนับสนุน, เกื้อกูล, เกื้อหนุน เช่น Suse unterstützt eine neu gegründete Stiftung. บริษัทซูซีสนับสนุนมูลนิธิหนึ่งที่เพิ่งก่อตั้งใหม่See Also:Related: unterstützen
(vt)|ersteigerte, hat ersteigert| ประมูลซื้อของ, ซื้อของโดยการประมูลSee Also:A. versteigern
(vt)|versteigerte, hat versteigert| ประมูลขายของ, ขายของโดยการประมูลSee Also:A. ersteigern
(n)|die, pl. Mehrwertsteuern| ภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น Die Regierung kündigt an, dass die Mehrwertsteuer steigt. = รัฐบาลแจ้งว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มปรับตัวเพิ่มขึ้น
(phrase)ด้วยมูลค่าลงทุนของหรือเป็นจำนวน เช่น Mit einem Aufwand von mehreren Millionen Euro baute die Stadt ein neues Theater. = ด้วยเงินลงทุนจำนวนหลายล้านยูโร เมืองได้สร้างโรงละครแห่งหนึ่งขึ้นใหม่
(adj)|zu etwas befugt sein| มีสิทธิหรืออำนาจในการกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Ich bin nicht dazu befugt, Ihnen Aufkunft zu geben. ฉันไม่มีอำนาจในการให้ข้อมูลคุณ
(adj, adv)เว้นไว้แต่, ซึ่งกีดกัน, ปราศจาก, ไร้ เช่น ausschließlich Mehrwertsteuer เว้นไว้แต่ภาษีมูลค่าเพิ่มSee Also:A. einschließlichSyn.ohne
(vt)|lädt herunter, lud herunter, hat heruntergeladen| ดาวน์โหลด, การถ่ายหรือบรรจุข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยเก็บของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ ลงไปในหน่วยเก็บของไมโครคอมพิวเตอร์หรือในคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เช่น eine Datei herunterladenSyn.laden
(vt)|leitet weiter, leitete weiter, hat weitergeleitet, etw.(A)| ส่งต่อ(อีเมล, ข่าว, ข้อมูล), โอนสาย(โทรศัพท์) เช่น Telefonate weiterleiten โอนสายโทรศัพท์
(vt)|speicherte, hat gespeichert| เก็บหรือบันทึกข้อมูล ส่วนใหญ่หมายถึงในคอมพิวเตอร์ เช่น Telefondaten dürfen zwei Jahre gespeichert werden.
(n)|die, pl. Festplatten| จานแม่เหล็กเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์, ฮาร์ดดิสก์ เช่น Jede Festplatte beinhaltet Gigabytes von persönlichen Daten.
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(vt)ให้ข้อมูล , สนับสนุน
(n)ปริมาณข้อมูลเฉลี่ย
(n)ไวน์ผสมเครื่องเทศ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากไวน์แดงอุ่นให้ร้อนผสมเครื่องเทศและผลไม้เช่นส้มฝานบาง เสิร์ฟร้อนหรืออุ่น นิยมดื่มกันระหว่างฤดูหนาวในหลายประเทศโดยเฉพาะในเยอรมนีและประเทศต่างๆ ในยุโรป (ข้อมูลจาก wikipedia.org)
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ