128 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*พำ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: พำ, -พำ-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)diveSee Also:fall face down wards, tumbleSyn.ปำThai Definition:คว่ำลง, คะมำลง, ปัดลง
(v)dwellSee Also:reside, live, abide, inhabitSyn.อยู่, พัก, อาศัย, พักพิงExample:ราชสกุลโรมานอฟที่ยังมีชีวิตอยู่ ส่วนใหญ่พำนักอยู่ในยุโรป
(v)murmurSee Also:mutterSyn.พึมพำ, พำๆ พึมๆExample:เขาพำพึมอะไรอยู่ในคอฟังไม่รู้เรื่องเลยThai Definition:ทำเสียงอย่างเสียงคนพูดหรือบ่นค่อยๆ
(v)mumbleSee Also:mutter, murmurSyn.งึมงำ, พึมๆ พำๆExample:หล่อนได้ยินเขาพึมพำอยู่คนเดียวThai Definition:เสียงอย่างเสียงคนพูดหรือบ่นค่อยๆ
(n)residenceSee Also:resting place, quarters, dwelling place, lodgings, lodging houseSyn.ที่อยู่อาศัย, ที่พักอาศัยExample:ป้ายรถเมล์เป็นเพียงทัศนียภาพแปลกตา ที่ฉันมิอาจยึดเป็นที่พำนักพักพิงได้Unit:แห่ง, ที่Thai Definition:บ้านเรือนที่เป็นที่อยู่อาศัย
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก. ปำ, ควํ่าลง, คะมำลง, ปักลง.
ก. พัก, อาศัยอยู่, พะพิง.
น. พวก.
ว. เสียงอย่างเสียงคนพูดหรือบ่นค่อย ๆ, พึมพำ.
น. เรียกช้างซึ่งมีลักษณะอันชั่วร้ายชนิดหนึ่ง ตำราไม่ให้เอามาใช้เป็นพาหนะ.
ก. พูดค่อย ๆ จับความไม่ได้ เช่น เขาพึมพำอยู่คนเดียว.
ว. เสียงพูดหรือบ่นพึมพำ.
(ชับปะนะ) น. การพูดพึมพำ, การสวดมนต์พึมพำ.
(ละปะนะ) น. การพูด, การบ่นพึมพำ
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ที่พำนัก, ที่ซ่อน, ที่ลี้ภัย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ช่วงเวลาที่พำนักอยู่[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก[การทูต]
เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว[การทูต]
มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว[การทูต]
ห้ามทำงาน คนต่างด้าวที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทเดินทางผ่าน นักท่องเที่ยว และคนอยู่ชั่วคราว (บางประเภท) จะถูกห้ามทำงานขณะพำนักในราชอาณาจักร[การทูต]
บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ?[การทูต]
คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้"[การทูต]
หนังสือเดินทาง คือเอกสารทางราชการที่ใช้แสดงตัวและสัญชาติ ซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคลที่จะเดินทางไป หรือพำนักอยู่ชั่วคราวในต่างประเทศเมื่อสมัยก่อนสงครามโลกทั้งสองครั้ง ประเทศต่าง ๆ มิได้ขอให้คนต่างด้าวที่จะเข้าไปในประเทศของตนต้องมีหนังสือเดินทาง มีการเริ่มใช้หนังสือเดินทางอย่างแพร่หลายก็ในระยะหลังสงครามดังกล่าว ทุกวันนี้ ประเทศส่วนมากในโลกต่างต้องการให้คนต่างด้าวที่จะเดินทางเข้าไปในดินแดนของ ตนมีหนังสือเดินทางซึ่งได้รับการตรวจลงตรา (Visa) โดยถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนเสียก่อน อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ประเทศส่วนมากได้มอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนในต่าง ประเทศเป็นผู้ออกหนังสือเดินทางได้ด้วยหนังสือเดินทางที่ใช้กันในปัจจุบันมี อยู่หลายประเภทอันได้แก่1. หนังสือเดินทางทูต (Diplomatic passports ) ออกให้แก่ผู้ที่มีตำแหน่งเอกอัครราชทูต อัครราชทูต เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งทางการทูต รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น2. หนังสือเดินทางพิเศษ (Special passports) ออกให้ แก่ข้าราชการที่ไม่มีสถานะทางการทูต และบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น3. หนังสือเดินทางธรรมดา ( Regular passports ) ออกให้แก่บุคคลธรรมดา (Private persons) ซึ่งมีสิทธิจะขอหนังสือเดินทางดังกล่าวได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ประเทศของตนมีบางประเทศได้ออกหนังสือเดินทางประเภทอื่น นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นด้วยเหตุผลเฉพาะ เช่น ภายใต้ระบบของสหรัฐอเมริกา มีการออกหนังสือเดินทางที่เรียกว่า1. หนังสือเดินทางบริการ (Service passports) ออกให้แก่คนอเมริกัน หรือชนชาติที่สวามิภักดิ์ต่อสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในต่างประเทศ2. หนังสือเดินทางบุคคลในครอบครัว (Dependent passports) ออกให้แก่บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางนี้ในกรณีที่เดินทางไปชั่วคราว หรือพำนักอยู่นาน ๆ ในต่างประเทศในฐานะที่เป็นบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือพลเรือนอเมริกันที่ยังรับราชการอยู่นอกเขตประเทศสหรัฐอเมริกา[การทูต]
การอนุญาต/ใบอนุญาตให้พำนักอยู่ในราชอาณาจักร/ประเทศ[การทูต]
บุคคลทางการทูตที่รัฐผู้รับไม่ยอมรับ เช่น กรณีนักการทูตทำผิดกฎหมายหรือข้อบังคับทางศาสนาในประเทศที่พำนักอยู่ จนทางรัฐบาลของประเทศนั้นไม่อาจยอมรับได้และต้องให้เดินทางกลับออกนอกประเทศ นั้น อย่างไรก็ตาม นักการทูตอาจถูกรัฐบาลของรัฐผู้รับให้ออกนอกประเทศเป็น persona non grata ด้วยเหตุผลของการดำเนินการโต้ตอบทางการเมืองระหว่างรัฐผู้รับและรัฐผู้ส่งก็ เป็นได้ โดยที่นักการทูตผู้นั้นมิได้กระทำผิดกฎหมายของรัฐผู้รับหรือกระทำผิดทาง ศาสนาของรัฐผู้รับแต่อย่างใด[การทูต]
การยื่นสาส์นตราตั้ง เป็นการกำหนดให้เอกอัครราชทูตยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขของประเทศที่เข้าไป พำนักอยู่ ซึ่งรูปแบบพิธีการก็จะแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ[การทูต]
การตรวจลงตรา " การประทับตราหรือข้อความในหนังสือเดินทาง หรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวโดยเจ้าพนักงานของรัฐ เพื่อแสดงว่า ผู้เดินทางได้รับอนุญาตให้เข้ามาพำนัก เดินทางผ่าน และเดินทางออกจากราชอาณาจักร - courtesy visa การตรวจลงตราประเภทอัธยาศัยไมตรี การตรวจลงตราประเภทนี้จำกัดเฉพาะคนต่างด้าวที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราว ซึ่ง (1) ปฏิบัติหน้าที่เพื่อการอื่นนอกเหนือจากการเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ทางการทูต กงสุล หรือราชการ (สำหรับผู้ที่ถือหนังสือเดินทางทูต หนังสือเดินทางราชการ หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติที่เทียบเท่าหนังสือเดินทางทูต หรือหนังสือ เดินทางราชการ) และ (2) เข้ามาในฐานะเป็นพระราชอาคันตุกะ ราชอาคันตุกะ แขกของรัฐบาล หรือหน่วยของรัฐ (สำหรับผู้ที่ถือหนังสือเดินทางธรรมดา) - diplomatic visa การตรวจลงตราประเภททูต - immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร - non-immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว - non-quota immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนเข้าเมืองนอกกำหนดจำนวนคนต่างด้าว ซึ่งเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นรายปี การตรวจลงตราประเภทนี้จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ 1 ปี - official visa การตรวจลงตราประเภทราชการ - re-entry visa การตรวจลงตราประเภทให้กลับเข้ามาในราชอาณาจักรได้อีก - tourist visa การตรวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว - transit visa การตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร - visa on arrival การตรวจลงตรา ณ ช่องทางอนุญาตของด่านตรวจคนเข้าเมือง "[การทูต]
เพิ่มจำนวน, พำนักอาศัย[การแพทย์]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[bai anuyāt phamnak] (n, exp) EN: residence permit
[bon pheumpham] (v, exp) FR: grommeler ; bougonner
[phamnak] (v) EN: dwell ; reside ; stay
[pheumpham] (v) EN: mumble ; mutter ; murmur ; grumble ; complain   FR: marmonner ; ronchonner
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)เสียงเหมือนผึ้งร้องหึ่งๆSee Also:กระซิบกระซาบ, เสียงพึมพำSyn.bumble
(vt)จัดห้องให้See Also:พำนัก, อาศัยSyn.harbor, haven, house
(vi)ส่งเสียงหึ่งๆSee Also:ทำเสียงพึมพำ
(n)เสียงต่ำๆSee Also:เสียงพึมพำSyn.drone, whir, buzz
(vi)บ่นSee Also:พึมพำSyn.grumble, mutter
(n)ผู้อาศัยSee Also:ผู้พำนัก
(vt)จัดบ้านหรือที่พักให้อยู่See Also:ให้ที่อยู่, มีซ่อนไว้, พำนัก, หลบซ่อน
(vt)อยู่อาศัยSee Also:เข้าพำนัก, พักอาศัยSyn.occupy, live, reside
(n)การพำนักSee Also:การพัก
(n)ผู้พำนักอยู่ในบ้านเช่าของคนอื่น
(n)การพำนักSee Also:การเข้าพัก
(n)ที่พำนัก
(vi)บ่นSee Also:บ่นพึมพำSyn.complain, mutter
(n)การบ่น (คำไม่เป็นทางการ)See Also:การบ่นพึมพำSyn.complaint
(vi)พูดพึมพำSee Also:พูดอู้อี้, พูดไม่ชัดSyn.mutter, murmurAnt.articulate
(n)คำพูดอู้อี้See Also:การพูดพึมพำ, การพูดไม่ชัดSyn.mutter, murmur
(n)ผู้พูดพึมพำSee Also:ผู้พูดไม่ชัด
(adv)อย่างพึมพำ
(vi)บ่นพึมพำSee Also:บ่นอุบอิบSyn.babble, meander, whisperAnt.clang, noise, peal
(n)เสียงพึมพำSee Also:เสียงบ่นอุบอิบSyn.buzz, whiz
(n)การบ่นพึมพำSee Also:การบ่น, การบ่นอุบอิบ
(n)การบ่นพึมพำSee Also:การพูดอุบอิบ
(n)คนบ่นพึมพำSyn.complainer, grumbler
(adj)ซึ่งพูดพึมพำSyn.mourning, rustling, sounding
(adj)ซึ่งพูดพึมพำSyn.indistinct, muffled
(adv)อย่างพูดพึมพำ
(n)ผู้บ่นSee Also:ผู้พึมพำ
(vi)พูดเสียงแผ่วเบาSee Also:พูดพึมพำSyn.mutter, drone, sigh
(vt)พูดเสียงแผ่วเบาSee Also:พูดพึมพำSyn.mutter, drone, sigh
(n)เสียงพึมพำไม่พอใจSyn.grumble, brone
Hope Dictionary
vi. ทำเสียงไหลริน, พูดพึมพำ, เกิดเป็นฟอง n. การไหลริน, ละลอกคลื่น, คำพูดที่เหลวไหล.See Also:burbler n. ดูburble
vi. ทำเสียงไหลริน, พูดพึมพำ, เกิดเป็นฟอง n. การไหลริน, ละลอกคลื่น, คำพูดที่เหลวไหล.See Also:burbler n. ดูburble
vi. ทำเสียงไหลริน, พูดพึมพำ, เกิดเป็นฟอง n. การไหลริน, ละลอกคลื่น, คำพูดที่เหลวไหล.See Also:burbler n. ดูburble
(บัซ) { buzzed, buzzing, buzzes } n. เสียงผึ้งร้องหึ่ง, เสียงเครื่องบิน, เสียงพึมพำ, ข่าวลือ, รายงาน, เสียงกระซิบกระซาบ, เสียงโทรศัพท์ vi., vt. ทำเสียงหึ่ง, ร้องเสียงหึ่ง, กระซิบกระซาบ, โทรศัพท์, บินต่ำ
(บัซ'เซอะ) n. สิ่งที่ทำเสียงหึ่ง, คนที่พึมพำ, เครื่องไฟฟ้าที่ให้สัญญาณเรียก
n. ผู้อาศัย, ผู้พำนัก, ชาวต่างด้าวที่ได้รับสิทธิบางอย่างของพลเมือง, สัตว์หรือพืชที่ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่Syn.inhabitantAnt.outsider
(โดรน) n. ผึ้งตัวผู้, กาฝาก, เครื่องบินไร้คนขับที่ควบคุมด้วยวิทยุทางไกล, เสียงหึ่ง ๆ คล้ายผึ้ง, ขลุ่ยที่มีเสียงต่ำ, การพูดเสียงต่ำ, เสียงพึมพำที่น่าเบื่อ, คนที่พูดเสียงที่น่าเบื่อ v. (ทำ) เสียงหึ่ง ๆ คล้ายผึ้ง, ขลุ่ยที่มีเสียงต่ำ, การพูดเสียงต่ำ, เสียงพึมพำที่น่าเบื่อ, ค
(ดเวล'ลิง) n. ที่อาศัย, ที่อยู่, ที่พำนัก
(กริธ) n. การป้องกัน, การคุ้มครอง, ที่พำนัก
(โกรน) n., v. (ส่ง) เสียงครวญคราง, เสียงพึมพำแสดงความไม่พอใจหรืออื่น ๆ , ปรารถนา, ถูกบีบคั้น, รับน้ำหนักมากเกินไปSee Also:groaner n. groaningly adv.Syn.lament, moan
(แฮบ'บิทันทฺ) n. ผู้อาศัย, ผู้พำนัก
(เฮ'เวิน) n. ท่าเรือ, ที่พำนักอาศัย, ที่หลบภัย. vt. พักอาศัยSyn.refuge, asylum
n. ที่หุ้ม, ส่วนหุ้ม, ที่พำนักในฤดูหนาว, ที่จำศีล
(n., adj. เฮาซฺ, vt., vi. เฮาซ) n. บ้าน, เรือน, โรง, โรงเรือน, ครอบครัว, สถาบัน, รัฐสภา, วงศ์ตระกูล, ห้องโถง, ช่อง vt. ให้ที่อยู่อาศัย, มี, ซ่อนไว้. vi. พำนัก, หลบซ่อน, อยู่. adj. เกี่ยวกับบ้านSyn.dwelling
vi., vt., n. (การ) พูดอย่างรวดเร็วและไม่ชัดเจน, พูดรัว, พูดไม่เป็นสาระ, พูดพึมพำSee Also:jabberer n.
vi., vt., n. (การ) พูดอย่างรวดเร็วและไม่ชัดเจน, พูดรัว, พูดไม่เป็นสาระ, พูดพึมพำSee Also:jabberer n.
vi., vt., n. (การ) พูดอย่างรวดเร็วและไม่ชัดเจน, พูดรัว, พูดไม่เป็นสาระ, พูดพึมพำSee Also:jabberer n.
(ลอดจฺ) n. กระท่อม, บ้านพักในป่า, บ้านเล็ก ๆ , บ้านเล็กของคนเฝ้าประตูที่อยู่ใกล้รั้ว, โรงแรม, สาขาของสมาคมลับ, บ้านอินเดียแดง, ถ้ำของสัตว์, โพรงที่สัตว์อยู่. vi., vt. มีถิ่นที่อยู่, พำนัก, เป็นที่พำนัก, ให้อยู่, ใส่, รับรอง, นำสู่, มอบ, เสนอ -S...
(ลอจ'เจอะ) n. ผู้พำนักอยู่ในบ้านเช่าของคนอื่นSyn.roomer, boarder, renter
(ลอจ'จิง) n. การพำนัก, การพัก, ที่พำนักชั่วคราวSee Also:lodgings ห้องให้เช่า ในบ้านของคนอื่น, การให้เช่าSyn.home
(มัม'เบิล) vi. พูดพึมพำ, พูดไม่ชัด vt. พูดพึมพำ, อ้ำอึ้งอยู่ในปาก. n. เสียงพึมพำ, เสียงพูดที่ไม่ชัด, คำพูดอู้อี้.See Also:mumbler n. mumblingly adv.Syn.murmurAnt.speak up
(เมอ'เมอ) n. เสียงพึมพำ, การบ่น, การบ่นอุบอิบ, เสียงเต้นของหัวใจที่มีลิ้นผิดปกติที่ได้ยินผ่านเครื่องฟันเสียง (stethoscope) vi. ทำเสียงต่ำที่ไม่ชัดเจน, บ่น, บ่นอุบอิบ. vt. บ่น.See Also:murmurer n. murmuring adj. murmuringly adj.
(มัท'เทอะ) v. (การ) พูดพึมพำ, บ่น.See Also:mutterer n. mutteringly adv.
(ออค'คิวเพินซี) n. การครอบครอง, การพำนักอาศัย, การมีถิ่นที่อยู่,
(ออค'คิวเพินทฺ) n. ผู้ครอบครอง, ผู้พำนักอาศัยSyn.inhabitant
(รีไซดฺ') vi. อยู่อาศัย, อยู่เป็นเวลานาน, พำนักอยู่อย่างถาวร, อยู่ประจำ, อยู่กับ , ตั้งใหม่เป็นปุ่มหนึ่งบนเครื่องพีซีบางเครื่อง การกดที่ปุ่มนี้จะเป็นการเริ่มเปิดเดินเครื่องใหม่ใช้เหมือนการกดแป้น Ctrl + Alt + Del ในระบบดอส บางทีในกรอบสนทนาก็จะมีปุ่มนี้ ในกรณีนั้น จะเป็นคำสั่งให้ยกเลิกค่าที่กำหนดใหม่ แล้วกลับไปใช้ค่าเดิมSee Also:resider n.Syn.dwell, live, stay
n. ที่พัก, ที่พำนัก, สุสาน
(ริพ'เพิล) vi., vt. (ทำให้) เป็นระลอกคลื่น, กระเพื่อม, ไหลเป็นระลอกคลื่น, เป็นลอน, (เสียง) สูง ๆ ต่ำ ๆ , ดังพึมพำ n. คลื่นเล็ก ๆ , ระลอกคลื่น, ลอน, เสียงคลื่น, เสียงพึมพำ, เสียงน้ำไหลระลอกSyn.purl
(แชค) n. กระท่อม, กระท่อมโกโรโกโส, เพิง. vi. shack up อยู่กันฉันท์สามีภรรยาโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส, มีความสัมพันธ์ทางเพศที่ผิดกฎหมาย, พำนัก, อาศัย.Syn.hut
(เทน'เนินทฺ) n. ผู้เช่า, ผู้เช่าที่, ผู้เช่าที่นา, ผู้อยู่อาศัย, ผู้ครอบครอง. vt. เช่าที่, อาศัยอยู่, พำนัก. vi. อาศัยอยู่.Syn.lessee, leaseholder
(แวล'ลิท, แวลเล') n. คนใช้ชายที่เป็นคนรับใช้ส่วนตัวของนายผู้ชาย, คนใช้ชายที่ทำหน้าที่ดูแลเสื้อผ้าของผู้มาพำนักในโรงแรมหรือเรือโดยสาร, หิ้งเสื้อผ้า. vt., vi. ทำหน้าที่รับใช้, เป็นคนใช้ดังกล่าวSyn.manservant
(ไวน์) vi. vt. (สุนัข) คราง, ร้องเสียงต่ำ, หอน, บ่นอู้อี้, ส่งเสียงครวญคราง, พูดเสียงสะอื้น, พูดอย่างหงุดหงิด, บ่นพึมพำ, n. การส่งเสียงดังกล่าว, เสียงดังกล่าวSee Also:whiner n.
Nontri Dictionary
(n)เสียงหึ่ง, เสียงพึมพำ, เสียงกระซิบ, ข่าวลือ
(n)พลเมือง, ผู้พักพิง, ผู้อยู่อาศัย,  ผู้พำนัก
(vi)ทำเสียงอย่างผึ้ง, พูดพึมพำ
(vi)พำนัก, พักพิง, อาศัย, พักอยู่
(n)ผู้พำนัก, ผู้อยู่อาศัย, ผู้พำนักพักพิง, ผู้อาศัย
(n)ที่พำนัก, ที่พักพิง, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย
(adj)พออยู่ได้, พออาศัยได้, ซึ่งพำนักได้
(n)ถิ่นที่อยู่, เคหสถาน, ที่พักอาศัย, ที่พำนัก, ที่อยู่อาศัย
(n)การพักพิง, การอยู่, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่พำนัก, ที่สิงสู่
(vt)ให้ที่อาศัย, ให้อยู่, ฝาก, มอบ, เสนอ, รับรอง, พำนัก
(n)ที่พักชั่วคราว, การพัก, การพำนัก
(vi, vt)บ่นพึมพำ, พูดอู้อี้, พูดไม่ชัด, อ้ำอึ้ง, เคี้ยวเอื้อง
(n)เสียงพึมพำ, เสียงหึ่ง, เสียงบ่น
(vi)บ่น, บ่นอุบอิบ, พูดพึมพำ
(vi)พูดพึมพำ, บ่น
(vt)พำนักอยู่, ตั้งบ้านเรือนอยู่, ตั้งถิ่นฐาน, อาศัยอยู่
(n)ที่พักอาศัย, ที่พำนัก, ที่พึ่ง, ร่มโพธิ์ร่มไทร
(n)เสียงพึมพำ, ระลอกคลื่น, ลอน, เสียงน้ำไหล
(vt)ทำให้กระเพื่อม, ทำให้เป็นระลอก, ดังพึมพำ
(n)กรงนก, ที่พำนัก, คอนเกาะ, ราวเกาะ
(n)การคราง, การหอน, การสะอื้น, เสียงบ่นพึมพำ
(vi)ร้องคราง, หอน, บ่นพึมพำ, บ่นอู้อี้, สะอื้น
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)ผู้ซึ่งมิได้มีถิ่นพำนักประจำในประเทศ
Saikam JP-TH-EN Dictionary
呟く
[つぶやく, tsubuyaku] TH: บ่นพึมพำ
呟く
[つぶやく, tsubuyaku] EN: to mutter
Longdo Approved DE-TH
(n)|der| ที่พำนักอาศัย, ที่อยู่ที่ชัดเจน (เป็นภาษาราชการ)See Also:der Wohnort
(n)|der| สถานที่พักหรือพำนักอยู่See Also:der Wohnsitz
Longdo Approved FR-TH
(n)|m| ใบอนุญาตให้พำนักอยู่ได้, วีซ่า
(n)|m| การพำนักอยู่, การอาศัยอยู่ เช่น faire un bref séjour พักอาศัยช่วงสั้นๆ
(n)|m| การพำนักอยู่เพื่อเรียนภาษา, การอาศัยอยู่เพื่อเรียนภาษา
(vi)พำนักอยู่, อาศัยอยู่ เช่น Je séjourne à Stuttgart. = ผมอาศัยอยู่ที่เมืองชตุ๊ดการ์ดSyn.rester, habiter, regarder
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ