แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
123 ผลลัพธ์ สำหรับ 

-กฎหมาย-

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: กฎหมาย, *กฎหมาย*
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
กฎหมายที่ประชาชนควรรู้
Public Law
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
วิชากฎหมายธุรกิจ
(n, phrase)Business Law
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)lawSee Also:statute, enactment, ruleSyn.ข้อบังคับExample:เขาชอบแสดงตนว่าเป็นคนรู้เรื่องกฎหมายUnit:ข้อThai Definition:กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ
(n)criminal lawSee Also:penal lawExample:ไทยเรามีวิธีการลงโทษผู้กระทำผิดดังกำหนดไว้ในกฎหมายอาญา คือ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์Unit:ข้อThai Definition:กฎหมายที่กำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิดและกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น
(n)civil lawSee Also:law of private rightsExample:สัมปทานมีลักษณะเป็นสัญญาที่มีเงื่อนไข ข้อตกลงมากมายทั้งในแง่กฎหมายมหาชน กฎหมายแพ่ง และแนวทางปฎิบัติในวงการธุรกิจUnit:ข้อThai Definition:กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคล เกี่ยวกับสถานภาพสิทธิและ หน้าที่ ของบุคคล ตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม ละเมิดทรัพย์สิน ครอบครัว มรดก
(n)constitutionSyn.รัฐธรรมนูญExample:รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
(n)labour legislationSee Also:labour lawExample:นายจ้างต้องปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานUnit:ฉบับ
(n)commercial lawExample:กฎหมายพาณิชย์คือกฎหมายเกี่ยวกับการเศรษฐกิจและการค้าUnit:ข้อThai Definition:กฎหมายที่วางระเบียบเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อ การขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำ ตัวเงิน หุ้นส่วน บริษัท
(n)first Thai enacted lawExample:กฎหมายตราสามดวงถูกตราขึ้นใช้ในรัชกาลที่ 1Thai Definition:กฎหมายฉบับแรกที่ถูกตราขึ้นใช้ในประเทศไทย
(n)international lawExample:ในประเทศไทยอำนาจในการทำสนธิสัญญากฎหมายระหว่างประเทศปล่อยให้เป็นเรื่องที่อยู่ในดุลพินิจของแต่ละรัฐUnit:ฉบับThai Definition:หลักกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่ยอมรับกัน ว่าด้วยรัฐ และความเกี่ยวพันระหว่างรัฐ รวมทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศ และประชาคมระหว่างประเทศ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. กฎเกณฑ์ที่ผู้มีอำนาจตราขึ้นเพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามเป็นการทั่วไป ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามย่อมได้รับผลร้าย กฎหมายอาจตราขึ้นเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ หรือเพื่อใช้ในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันก็ได้.
ก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้ (พงศ. อยุธยา), ทำหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทำหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…(พระราชกำหนดเก่า)
ออกหมายกำหนด เช่น ให้มหาดไทยกลาโหมกฎหมายบอกแก่ตระลาการ ถ้ากฎหมายมิทั่ว จะเอาตัวผู้กฎหมายลงโทษ (พระราชกำหนดเก่า)
กฎหมายงานพระบรมศพครั้งกรุงเก่า
ตราสั่ง เช่น จึ่งกฎหมายให้สามไป เดือนหนึ่งจอมไตร ดำรัสให้เร่งคืนมา (พากย์)
กำหนดขีดขั้น เช่น ให้ปลูกโรงรจนาใน นอกหน้าศาลชัย ให้ตั้งพิกัดกฎหมาย (พากย์).
น. ประมวลกฎหมายโบราณของไทยซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชำระและปรับปรุงแก้ไขตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อทำเสร็จแล้วได้ประทับดวงตราพระราชสีห์ พระคชสีห์ และบัวแก้ว ไว้เป็นสำคัญ จึงเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง.
น. กฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนที่วางหลักเกี่ยวกับการจัดระเบียบในทางปกครองของรัฐ และการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะ รวมทั้งวางหลักความเกี่ยวพันในทางปกครองระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน.
น. หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้อ้างหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามพฤติการณ์ ไม่ว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม.
น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำ ตั๋วเงิน หุ้นส่วน บริษัท.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
กฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมาย, กฎ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมาย, สิทธิ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายการใช้แรงงานเด็ก[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายของประเทศ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายของประเทศเจ้าของธงที่เรือชัก[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายขัดกัน, การขัดกันแห่งกฎหมาย[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กฎหมายขัดกัน, การขัดกันแห่งกฎหมาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายควบคุมการล่าสัตว์[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายควบคุมการใช้จ่าย (ไม่ให้ฟุ่มเฟือย)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
กฎหมายลิขสิทธิ์[เทคโนโลยีการศึกษา]
กฎหมายสิทธิบัตร[เทคโนโลยีการศึกษา]
กฎหมายกับวรรณกรรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
กฎหมายลิขสิทธิ์Example:กฎหมายลิขสิทธิ์ คือ กฎหมายที่ให้ความคุ้มครองสิทธิในทางวรรณกรรมและศิลปกรรม ผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานจะได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมายนี้ ผู้ใดจะนำข้อความไปตีพิมพ์หรือแปลเป็นภาษาอื่นๆ หรือผลิตออกเผยแพร่โดยมิได้รับอนุญาตจากผู้แต่งหรือเจ้าของผลงาน หรือเจ้าของลิขสิทธิ์มิได้ <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์ของแต่ละประเทศจะระบุให้สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์ส่งหนังสือที่พิมพ์ให้หอสมุดแห่งชาติเก็บรักษา ตามจำนวนที่กำหนด ส่วนใหญ่จะเป็นจำนวน 2 ฉบับ เพื่อเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในแต่ละประเทศ <p> <p>หนังสือภาษาต่างประเทศ จะมีการแจ้งลิขสิทธิ์ระบุไว้ที่หน้าลิขสิทธิ์หรือ copyright page ซึ่งก็คือ ด้านหลังของหน้าปกใน โดยจะปรากฏคำว่า Copyright หรือ © พร้อมทั้งชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี ค.ศ. ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>หนังสือภาษาไทย จะมีคำว่า สงวนลิขสิทธิ์ ปรากฏไว้ที่ด้านหลังหน้าปกใน เช่นเดียวกัน และมีการระบุชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์และปี พ.ศ ที่ได้รับลิขสิทธิ์เป็นครั้งแรก และจะมีรายละเอียดถึงการห้ามคัดลอกข้อความใดข้อความหนึ่ง โดยมิได้รับอนุญาต <p> <p>กฎหมายลิขสิทธิ์มีความเกี่ยวข้องกับห้องสมุด เนื่องจากห้องสมุดมีงานลิขสิทธิ์หลายประเภทอยู่ในครอบครอง เช่น งานวรรณกรรม ในรูปของหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ในลักษณะต่างๆ ตลอดจนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ งานโสตทัศนวัสดุ เช่น วีดิทัศน์ ฯลฯ สื่อบันทึกเสียงรูปแบบต่างๆ เช่น แผ่นเสียง เทปคาสเซทส์ งานศิลปกรรม เช่น ภาพวาด ภาพเขียน เป็นต้น <p> <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ ได้จำแนกสถานภาพของห้องสมุดที่เกี่ยวกับงานลิขสิทธิเป็น 4 ประำการ คือ <p>1. ในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน <p>2. ในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน <p>3. ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4. ในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ <p> <p>1. ห้องสมุดในฐานะเจ้าของทรัพย์สิน ห้องสมุดเป็นผู้จัดซื้อ จัดหาสื่อต่างๆ เข้ามา แต่มิได้หมายความว่า ห้องสมุดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เพียงแต่ห้องสมุดมีกรรมสิทธิ์ในสื่อเหล่านั้น ห้องสมุด อาจนำมาไว้ให้บริการผู้อ่่านในห้องสมุดหรือยืมไปอ่าน หากไม่นำมาคืน ห้องสมุดสามารถใช้สิทธิทวงถามเพื่อให้นำมาคืนได้ แต่ห้องสมุดไม่มีสิทธิ์ที่จะทำซ้ำหรือดัดแปลง หรือเผยแพร่งานนั้นต่อสาธารณชนได้ หากไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ เช่น ห้องสมุดไม่สามารถนำหนังสือที่ซื้อมาทำสำเนาเข้าปกเป็นจำนวนหลายเล่ม เพื่อให้มีจำนวนหนังสือเพิ่มขึ้นโดยไม่ต้องซื้อไม่ได้ เป็นต้น <p>2. ห้องสมุดในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์สิน หมายถึง ห้องสมุดมิได้เป็นเจ้าของทรัพย์สิน แต่อยู่ในฐานะครอบครองทรัพย์สินเท่านั้น เจ้าของทรัพย์สินอาจให้ยืมหนังสือหรือสิ่งของบางรายการแก่ห้องสมุด และอาจระบุเงื่อนไขบางประการไว้ เช่น การนำสิ่งของมาแสดงในงานนิทรรศการ เมื่อครบกำหนดต้องคืน และห้องสมุดต้องรักษาทรัพย์สินนั้นๆ <p>3. ห้องสมุดในฐานะเข้าของลิขสิทธิ์ ห้ิองสมุดอาจจะเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานที่มีอยู่ในห้องสมุด การใช้งานลิขสิทธิ์ย่อมไม่มีปัญหาใดๆ เพียงแต่ดูแลลิขสิทธิ์ของตนเองเมื่อพบว่ามีการละเมิดลิขสิทธิ์ในงานเหล่านั้น <p>4. ห้องสมุดในฐานะผู้ใช้งานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ แต่เป็นผู้ที่จะใช้งานลิขสิทธิ์นั้นในขอบเขตการให้บริการของตน แต่โดยหลักแล้ว ห้องสมุดไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์ ย่อมกระทำการที่กฎหมายให้เจ้าของลิขสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวไม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้งานลิขสิทธิ์อาจได้รับการปกป้องจากการกล่าวหาว่าละเมิดลิขสิทธิ์ ด้วยการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ <p>4.1 การกระทำโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ <p>4.2 การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว <p>4.3 การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ <p>4.4 การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>การกระทำโดยไ้ด้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ห้องสมุดตรวจสอบว่าผู้ใดเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์และทำการขออนุญาต โดยมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร และควรแจ้งว่าเป็นการใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา และขอความอนุเคราะห์ในการยกเว้นค่าใช้ลิขสิทธิ์ (กรณีที่เจ้าของลิขสิทธิ์อาจจะมีเงื่อนไข) <p>การกระทำต่องานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ไปแล้ว งานที่หมดอายุลิขสิทธิ์ย่อมตกเป็นสมบัติสาธารณะ ไม่ต้องขออนุญาตต่อผู้ใด ห้องสมุดอาจทำซ้ำ เพื่อการเก็บรักษาหรือเพื่อให้ผู้ใช้บริการยืมอ่านได้ <p>การกระทำต่อสิ่งที่ไม่มีลิขสิทธิ์ สิ่งที่กฎหมายลิขสิทธิ์ระบุว่าไม่มีลิขสิทธิ์ คือ <p>1. ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ <p>2. รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย <p>3. ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถ่น <p>4. คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ <p>5. คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่นจัดทำขึ้น <p> สิ่งต่างๆ ข้างต้น ไม่ถือว่าเป็นงานลิขสิทธิ์ ห้องสมุดอาจทำซ้ำ ดัดแปลงหรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ <p>การกระทำที่ต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ระบุข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวกับงานดำเนินงานของห้องสมุดหลายมาตรา มีทั้ืงบทเฉพาะเกี่ยวกับการทำซ้ำโดยบรรณารักษ์ของห้องสมุด (มาตรา 34) บทบัญญัติทั่วไปสำหรับการพิจารณาข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์งานประเภทต่างๆ (มาตรา 32 และมาตรา 33) และบทบัญญัติเกี่ยวกับงานลิขสิทธิ์เฉพาะประเภท (มาตร 35 ถึง 42) แต่ตัวบทกฎหมายนี้ก็ไม่ได้บัญญัติชัดเจนพอที่จะอ่านแล้วชี้ชัดได้ว่าการกระทำอย่างใดขนาดใดจะถือว่าต้องด้วยข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>ธัชชัย ศุภผลศิริ. "กฎหมายลิขสิทธิ์กับงานห้องสมุด" หน้า 5-25 ใน เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง ลิขสิทธิ์ในงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
กฎหมายสิทธิบัตรExample:<p>กฎหมายสิทธิบัตร ได้แก่ พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และ พ.ร.บ. สิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตรเพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ <p>พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มี ๖ หมวด ๘๘ มาตรา รายละเอียดในภาพรวมมีสาระสำคัญดังนี้ <p>หมวด ๑ บททั่วไป ให้คำนิยาม ความหมายของคำ ได้แก่ สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร การประดิษฐ์ กรรมวิธี แบบผลิตภัณฑ์ ผู้ทรงสิทธิบัตร ผู้ทรงอนุสิทธิบัตร คณะกรรมการ พนักงานเจ้าหน้าที่ อธิบดี รัฐมนตรี <p>ตัวอย่าง นิยาม ความหมายของคำ "สิทธิบัตร" หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามที่กำหนดในหมวด ๒ และหมวด ๓ แห่งพระราชบัญญัตินี้ (หมวด ๒ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมวด ๓ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์) <p>หมวด ๒ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ <p>-ส่วนที่ ๑ การขอรับสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๒ การออกสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๓ สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๔ การชำระค่าธรรมเนียมรายปี <p>-ส่วนที่ ๕ การใช้สิทธิตามสิทธิบัตร <p>-ส่วนที่ ๖ การคืนสิทธิบัตร การเลิกข้อถือสิทธิ และการเพิกถอนสิทธิบัตร <p>หมวด ๓ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ <p>หมวด ๔ คณะกรรมการสิทธิบัตร <p>หมวด ๕ เบ็ดเตล็ด <p>หมวด ๖ ความผิดและกำหนดโทษ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
กฎหมายการเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
กฎหมายว่าด้วยบริษัท[เศรษฐศาสตร์]
กฎหมายป้องกันการผูกขาด[เศรษฐศาสตร์]
กฎหมายการธนาคาร[เศรษฐศาสตร์]
กฎหมายแพ่ง[เศรษฐศาสตร์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
คุณมีข้อตกลงทางกฎหมายที่จะปกป้อง เหยื่อที่มีศักยภาพBasic Instinct (1992)
และเป็นการแต่งงาน ถูกต้องตามกฎหมาย"Wuthering Heights (1992)
ไม่เคยคิดว่าฉันต้องการความไว้วางใจ คนภาษาอังกฤษอีก? โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักกฎหมายIn the Name of the Father (1993)
ไม่มีคุณสมบัติ ไม่มีกฎหมายIn the Name of the Father (1993)
ในการประกอบอาชีพตามกฎหมายของฉันยาว ผมจำไม่ได้กรณี ... ที่มีอารมณ์ ดังนั้นการเรียกเก็บเงินIn the Name of the Father (1993)
Giuseppe Conlon, พี่ชายของเธอกฎหมายใน ... ผู้ส่งสาส์นมาถึง กับวัตถุระเบิดขึ้นIn the Name of the Father (1993)
พ่อของฉันบอกว่า เราต้องการต่อสู้เพื่ออุทธรณ์ ... แต่ฉันไม่ได้อยากจะรู้ เกี่ยวกับระบบกฎหมายIn the Name of the Father (1993)
เขามีจุดของความรำคาญ กับนักกฎหมายในอดีตIn the Name of the Father (1993)
พระเจ้าของฉันเอกสารนี้ ... นำทั้งอังกฤษ ระบบกฎหมายในความไม่น่าไว้วางใจIn the Name of the Father (1993)
อย่าพยายามและทำให้ฉัน คนที่แต่งตัวประหลาดตก ... สำหรับทั้ง สถานประกอบการตามกฎหมายอังกฤษIn the Name of the Father (1993)
คุณอยู่บนพื้นที่ส่วนบุคคล ซึ่งไม่ได้รับอนุญาติตามกฎหมายDeep Throat (1993)
รัฐบาล ไม่อยู่เหนือกฎหมายหรอกSqueeze (1993)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kotmāi] (n) EN: law ; legislation ; statute ; enactment ; rule ; act  FR: loi [ f ] ; droit [ m ] ; code [ m ] ; législation [ f ]
[kotmāi kammasit] (n, exp) EN: property law
[kotmāi kānkīlā] (n, exp) EN: sport law
[kotmāi kānkhā rawāng prathēt] (n, exp) EN: law of international business
[kotmāi kānseuksā] (n, exp) EN: education laws  FR: loi sur l'éducation [ f ]
[kotmāi kān yārāng] (n, exp) EN: divorce law
[kotmāi khrøpkhrūa] (n, exp) EN: family laws
[kotmāi khwām pløtphai] (n, exp) EN: safety law
[Kotmāi Khwām Mankhong Phāinai] (n, prop) EN: Internal Security Act (ISA) ; ISA 2008 ; security law  FR: Acte de sécurité intérieure [ m ] ; Loi de sécurité intérieure [ f ] ; Loi sur la sécurité intérieure [ f ]
[kotmāi khumkhrøng phūbøriphōk] (n, exp) EN: consumer protection act ; consumer protection law  FR: loi sur la protection du consommateur [ f ]
Longdo Approved EN-TH
(n)(คนที่อยู่) อย่างไม่ถูกต้อง, โดยไม่มีเอกสารอนุญาตให้อยู่ในประเทศนั้นอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
(adj)เกี่ยวข้องกับทางศาลหรือกระบวนการทางกฎหมาย
(n)ความเคารพกฎหมายSee Also:law-abiding adj.
(n)ลัทธิดื้อแพ่ง/อารยะขัดขืน, เป็นการปฏิเสธที่จะปฏิบัติตามกฎหมายบางมาตรา ด้วยเหตุผลที่ว่ากฎหมายนั้นๆ ไม่ชอบธรรม
(n, org)สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สถาบันที่ปรึกษากฎหมายของรัฐ)ดูข้อมูลเพิ่มเติม <a href=http://www.krisdika.go.th/>http://www.krisdika.go.th/</a>
(adj)เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวตามกฎหมายล้มละลาย
(n)การฆ่าแบบไม่เคารพกฎหมาย, การฆ่าที่ผิดกฎหมาย
(n)การถูกตัดบท (โดยกฎหมาย), กฎหมายปิดปาก เช่น That decision was based on the legal concept of estoppel.
(n, name, uniq)เครื่องหมายการค้าของ ซีร็อกซ์ คอร์ปอเรชั่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ใช้สำหรับเครื่องผลิตภัณฑ์ถ่ายเอกสาร และอื่นๆ โดยในประเทศไทยได้มีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าอย่างถูกต้องตามกฎหมายไทย และขอความร่วมมือคนไทยเลิกใช้คำว่า XEROX ในความหมายว่า เครื่องถ่ายเอกสาร หรือ กระบวนการถ่ายเอกสาร ในลักษณะคำสามัญ เพราะจะทำให้เครื่องหมายการค้าของซีร็อกซ์เสื่อมซึ่งลักษณะเฉพาะ
[เฟรม-เมอ](n)บุคคลผู้ซึ่งเขียนกฎหมายใหม่ หรือ แผนงานต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น "the framers of the Constitution" (บุคคลที่เขียนกฎหมายรัฐธรรมนูญ)See Also:Constitution, law
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)กฎหมายSyn.law
(n)กฎหมายอาญา
(n)กฎหมายแรงงาน
(n)ตัวบทกฎหมายSee Also:กฎหมายSyn.law
(n)กฎหมายSee Also:รัฐธรรมนูญSyn.Magna Charta
(n)กฎหมายSee Also:รัฐธรรมนูญSyn.Magna Carta
(n)การปกครองที่ไม่ดีSee Also:กฎหมายที่ไม่ดีSyn.misgovernment
Hope Dictionary
(อะบอร์' เชินนิสทฺ) n. ผู้ทำแท้ง (อย่างผิดกฎหมาย)
(อะดัล' เทอเริส) adj. ซึ่งเจือปน, ผิดกฎหมาย, เป็นชู้ (impure, adultering, illegal) -adulterously adv.
(อะเกนสฺทฺ') prep. ต่อต้าน, ต้าน, สู้, ทวนน้ำ, ย้อน, ผิดกฎหมาย, แนบเนื้อ, ประชิดกับ, อยู่ข้างหน้า, เทียบกับ, ป้องกัน, ไม่เห็นด้วย, ตรงกันข้ามSyn.counter or contrary to
(เอ' เลียนนิสซึม, แอล' ยันนิสซึม) n. alienage, การศึกษาหรือรักษาโรคจิต (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับปัญหากฎหมาย) นิติจิตเวชศาสตร์. ภาวะวิกลจริต (alienage)
(เอ' เลียนนิสทฺ, แอล' เยินนิสทฺ) แพทย์ผู้รักษาโรคจิต (โดยเฉพาะผู้ที่รู้เรื่องกฎหมาย) นิติจิตแพทย์ physcian who treats mental disorders)
(แอน' นะคิสซีม) n. ลัทธิที่เห็นว่าบ้านเมืองไม่ควรมีกฎหมายหรือรัฐบาล, ลัทธิไม่มีรัฐบาล, อนาธิปไตย
(แอพ'พะเนจ) n. ที่ดินหรือรายได้รับตามระบบศักดินาแก่สมาชิกราชวงศ์กษัตริย์, ทรัพย์สินที่ครอบครองตามกฎหมาย
(อาร์'บิทระรี) adj. ตามอำเภอใจ, ไร้เหตุผล, เอาแต่อารมณ์, โดยพลการ, ตัดสินโดยผู้ตัดสิน (แทนที่จะโดยกฎหมายของรัฐ) . -arbitrariness n.Syn.capricious, frivolous
(อะเทอ'นี) n., (pl. -neys) ทนายความ, นักกฎหมาย, ตัวแทน, ผู้รับมอบอำนาจ
(-ดอร์) adj. ด้วยวิถีทางที่ผิดกฎหมาย หรือลึกลับSyn.illicit, secret
Nontri Dictionary
(n)การกระทำ, พฤติการณ์, พระราชบัญญัติ, กฎหมาย, องก์(ละคร)
(n)เจ้าหน้าที่กองทัพเรือ, กฎหมายหรือศาลแห่งกองทัพเรือ
(n)ทนายความ, หมอความ, นักกฎหมาย, อัยการ
(adj)ลับ, ผิดกฎหมาย
(n)คนร้าย, โจร, คนเลว, คนนอกกฎหมาย
(n)โจร, ผู้ร้าย, คนนอกกฎหมาย
(n)ทนายความ, หมอความ, นักกฎหมาย, เนติบัณฑิต
(adj)ที่ไม่ถูกกฎหมาย
(n)ลูกไม่มีพ่อ, ลูกนอกกฎหมาย
(n)เทศบัญญัติ, กฎหมายท้องถิ่น
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)กฎหมายต่อต้านการทุ่มตลาด
(n)กฎหมายการป้องกันการผูกขาดทางการค้า
(n)กฎหมายจารีตประเพณี
(n)กฎหมายภายใน
กฎหมายกำหนด
Longdo Approved JP-TH
[ろうどうほう, roudouhou](n)กฎหมายแรงงาน
[ほうりつ, houritsu](n)กฎหมาย
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
電子商法
[でんししょうほう, denshishouhou](n)กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
民法
[みんぽう, minpou]กฎหมายแพ่ง
刑法
[けいほう, keihou]กฎหมายอาญา
商法
[しょうほう, shouhou]กฎหมายพาณิชย์
国際法
[こくさいほう, kokusaihou]กฎหมายระหว่างประเทศ
Longdo Approved DE-TH
(n)|das, pl. Gesetze| กฎหมาย
ใช่ เช่น Studieren Sie Jura? - Ja. คุณเรียนกฎหมายใช่ไหม - ใช่See Also:A. nein
(n)|das| กฎหมาย
(n)|die| วิชากฎหมาย, นิติศาสตร์ เช่น Sie studiert Jura. = หล่อนเรียนนิติศาสตร์
(vt)|knackte, hat geknackt, etw.(A)| ถอดรหัส, เจาะเข้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์อย่างผิดกฎหมาย เช่น Die Passwörter wie 'Kitty' und 'Tokyo' kann man sich zwar leicht merken, sie sind aber eben auch genauso einfach zu knacken.
(adj)|zweifelhafter, zweifelhaftest-| ที่น่าเคลือบแคลงสงสัยหรืออาจผิดกฎหมาย เช่น ein zweifelhaftes Geschäft ธุรกิจที่น่าสงสัย
(vt)|befolgte, hat befolgt, etw.(A)| ทำตามที่ถูกบอกหรือสั่ง, ทำตามกฎหมาย เช่น Bitte befolgen Sie die Bedienungsvorschrift für dieses Gerät! กรุณาทำตามคำแนะนำการใช้สำหรับเครื่องมือชิ้นนี้
(n)|das, pl. Erziehungslager| สถานที่หรือหน่วยงานที่ตั้งขึ้นเพื่อฝึกอบรมผู้เยาว์ที่ทำผิดกฎหมาย หรือก่ออาชญากรรม เช่น การอบรมเรื่องระเบียบวินัย การประพฤติ เช่น Deutschland diskutiert über Erziehungslager für kriminelle Jugendliche. In Frankreich existieren solche Anstalten schon seit mehreren Jahren.
Longdo Approved FR-TH
(n)|m, pl. travaux| งาน เช่น travail au noir งานที่ผิดกฎหมายหรืองานที่มีการรับค่าจ้างโดยไม่ได้เสียภาษีSyn.boulot
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ