การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน[นิวเคลียร์]
การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี, การจำแนกชนิดและตรวจหาปริมาณของธาตุในสารตัวอย่าง โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาลักษณะเฉพาะที่ปลดปล่อยจาก <em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ที่เกิดขึ้นจากการนำสารตัวอย่างนั้นไปก่อกัมมันตภาพรังสี (ดู Activation ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ผลผลิตจากการก่อกัมมันตภาพรังสี, <em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ที่เกิดจาก<em>การก่อกัมมันตภาพรังสี</em> (ดู Fission products ประกอบ)[นิวเคลียร์]
การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน[นิวเคลียร์]
คาร์บอนกัมมันต์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอน, เอ็นเอเอ, การจำแนกชนิดและปริมาณของธาตุในสารตัวอย่างโดยใช้อนุภาคนิวตรอนเป็นตัวกระทำให้เกิดกัมมันตภาพรังสีแก่สารตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ แล้ววัดรังสีแกมมาเฉพาะตัวที่ปลดปล่อยจากนิวไคลด์รังสีที่เกิดขึ้น <br>(ดู activation ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยา, Example:กระบวนการบำบัดน้ำเสียที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ประกอบด้วยถังเติมอากาศเพื่อให้จุลินทรีย์ใช้ออกซิเจนในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำจนเกิดเป็นตะกอนและถังตกตะกอนเป็นหลัก เรียกในชื่อต่างๆ กัน เช่น กระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ์, , กระบวนการสลัดจ์ไวงาน กระบวนการเอเอส[สิ่งแวดล้อม]
การกระตุ้นทางเคมี[TU Subject Heading]
คาร์บอนกัมมันต์[TU Subject Heading]
การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสีนิวเคลียร์[TU Subject Heading]
แอกทิเวเต็ดสลัดจ์, เอเอส. สลัดจ์ไวงาน, Example:จุลินทรีย์ที่เลี้ยงไว้ในถังเติมอากาศเพื่อใช้ กำจัดสารอินทรีย์ในน้ำเสีย [สิ่งแวดล้อม]
กระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ์, กระบวนการเอเอส, กระบวนการสลัดจ์ไวงาน, Example:กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยาที่นิยมใช้ กันอย่างแพร่หลาย ประกอบด้วยถังเติมอากาศและถังตกตะกอนเป็นหลัก [สิ่งแวดล้อม]
ถ่านไวงาน ถ่านกัมมันต์ คาร์บอนกัมมันต์, Example:ถ่านสังเคราะห์ซึ่งมีคุณสมบัติในการดูดซับสูง [สิ่งแวดล้อม]
ภาระแอกทิเวเต็ดสลัดจ์, ภาระเอเอส, ภาระสลัดจ์ไวงาน, Example:ปริมาณบีโอดีต่อวันต่อน้ำหนักจุลินทรีย์ มีหน่วยเป็น กก.บีโอดี/วัน-กก. จุลินทรีย์ หรือ วัน -1 [สิ่งแวดล้อม]
ระบบเอเอสแบบแอนแอโรบิก, Example:ชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งของ Anaerobic Contact Process [สิ่งแวดล้อม]
สลัดจ์ไวงาน ส่วนเกิน, Example:ปริมาณสลัดจ์ จากระบบเอเอสที่เกิดขึ้นเกินความต้องการและต้องถูกกำจัดออกไปจากระบบ [สิ่งแวดล้อม]
สารเคมีหรือส่วนผสมของสารเคมีทำหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของตัว เร่งปฏิกิริยาให้สามารถเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น ตัวอย่างของสารกระตุ้นปฏิกิริยาที่ใช้กันมากที่สุดในอุตสาหกรรมยาง ได้แก่ ซิงก์ออกไซด์และกรดสเตียริก[เทคโนโลยียาง]
แอคติเวท, กระตุ้น[การแพทย์]
ว่องไว, ถูกกระตุ้น[การแพทย์]
การกระตุ้น, การเร่งโดยกระตุ้น[การแพทย์]
ตัวร่วมกระตุ้น, สารกระตุ้น, สารตัวกระตุ้น, ตัวกระตุ้น, ตัวเร่ง[การแพทย์]
พวกที่ยับยั้งการปลุกฤทธิ์[การแพทย์]
การกระตุ้นบีเซลล์ที่เดียวหลายๆตระกูล[การแพทย์]
เชื้อบัคเตรีที่ทำให้ตาย[การแพทย์]
ฤทธิ์ในการกระตุ้นพฤติกรรม[การแพทย์]
สารตัวกระตุ้นที่มีในเลือด[การแพทย์]
ถ่านผง, แอ๊คติเวตเต็ดคาร์บอน[การแพทย์]
คาร์บอนแบบเกร็ด[การแพทย์]
ผงถ่าน, แอคติเวตชาโคล[การแพทย์]
โครโมโซมที่ไม่สามารถแบ่งตัวได้[การแพทย์]
เลือดจับลิ่มที่ถูกกัมมันตกรณ์แล้ว[การแพทย์]
การกระตุ้นระบบคอมปลีเมนต์[การแพทย์]
การกระตุ้นคอมพลีเมนท์[การแพทย์]
การกระตุ้นคอมพลีเมนท์[การแพทย์]
สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น[การแพทย์]
สารควบคู่ที่ถูกปลุกฤทธิ์แล้ว[การแพทย์]
ยาที่ถูกปลุกฤทธิ์แล้ว[การแพทย์]
สารตัวกระตุ้นที่ได้จากในกาย[การแพทย์]
พลังงานของการกระตุ้น[การแพทย์]
พลังงานกระตุ้น, การทำให้เกิดแรงกระตุ้น[การแพทย์]
เอนไซม์, การทำให้ออกฤทธิ์, เอ็นซัยม์, การปลุกฤทธิ์[การแพทย์]
กระตุ้นเอ็นซัยม์[การแพทย์]
สารตัวกระตุ้นที่ได้จากนอกกาย[การแพทย์]
พลังงานก่อกัมมันต์, พลังงานปริมาณน้อยที่สุดที่โมเลกุลของสารตั้งต้นจำเป็นต้องมีหรือได้รับ จึงจะสามารถเกิดปฏิกิริยาเคมีได้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]