น. จิตใจ, อัธยาศัย, อารมณ์, บางทีใช้ในทางร้ายก็มี เช่น ใจคอจะทิ้งบ้านทิ้งช่องไปได้หรือ.
น. น้ำใจที่แท้จริง (มักใช้ในทางดี) เช่น เขาเป็นคนมีน้ำใสใจคอโอบอ้อมอารี.
น. อัธยาศัย, นิสัยที่เกิดจากใจจริง เช่น นิสัยใจคอมีเมตตากรุณา นิสัยใจคอโหดเหี้ยมทารุณ.
ว. ไม่กว้างขวางพอ เช่น บ้านคับแคบ, ไม่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เช่น ใจคอคับแคบ.
ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า.
ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า.
ถอดแบบ, ถอดลักษณะหรือนิสัยใจคอมา, เช่น ถ่ายแบบพ่อ ถ่ายแบบแม่.
น. ใจแท้ ๆ, ใจจริง, ความรู้สึกนึกคิดจริง ๆ, เช่น อยู่ด้วยกันไม่นานก็เห็นนํ้าใจว่าเขาเป็นคนอย่างไร, ความจริงใจ เช่น เราเห็นว่าเขามีน้ำใจกับเรา ไม่เคยหลอกลวงเราเลย, นิสัยใจคอ เช่น นํ้าใจชาย นํ้าใจหญิง, ความเอื้ออาทร เช่น เขาเป็นคนมีนํ้าใจ เธอช่างแล้งนํ้าใจ.
ก. แสดงกิริยาท่าทีหรือคำพูดให้รู้ว่ามีลักษณะนิสัยใจคอหรือชาติตระกูลเป็นอย่างไรเป็นต้น.
ก. เคลื่อนไหวไปมาอย่างรุนแรงผิดปรกติ เช่น ทะเลป่วนปั่น, สับสนวุ่นวายผิดปรกติ เช่น ใจคอป่วนปั่น ท้องป่วนปั่น บ้านเมืองป่วนปั่น, ปั่นป่วน ก็ว่า.
ก. เคลื่อนไหวไปมาอย่างรุนแรงผิดปรกติ เช่น ทะเลปั่นป่วน, สับสนวุ่นวายผิดปรกติ เช่น ใจคอปั่นป่วน ท้องปั่นป่วน บ้านเมืองปั่นป่วน, ป่วนปั่น ก็ว่า.
ไม่กลับกลายเป็นอย่างอื่น เช่น ใจคอมั่นคง.
ว. เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาไม่แน่นอน เช่น จิตใจรวนเร ใจคอรวนเร, เรรวน ก็ว่า.
ก. รู้อัธยาศัยใจคอว่าเป็นอย่างไร หรือชอบอะไร ไม่ชอบอะไร เช่น ลูกน้องรู้ใจนาย, รู้เส้น ก็ว่า.
ว. เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาไม่แน่นอน เช่น จิตใจเรรวน ใจคอเรรวน, รวนเร ก็ว่า.
ก. ใจคอหงุดหงิดไม่เป็นปรกติ.
ก. ใจคอขุ่นมัวหรือรู้สึกโกรธ.
ว. ไม่แน่นอน (มักใช้แก่นิสัยใจคอ) เช่น มีจิตใจโลเล, ไม่อยู่กับร่องกับรอย (มักใช้แก่กริยาพูด) เช่น พูดจาโลเล.
ว. ใจคอวิปริต, เคลือบแคลง
ก. ห่อเหี่ยวไม่ชื่นบาน, สลดใจ, เช่น เห็นสภาพบ้านเมืองทรุดโทรมแล้วใจคอหดหู่.
ไม่โกรธง่าย เช่น เขาเป็นคนใจคอหนักแน่น ไม่โกรธใครง่าย ๆ
นิสัยใจคอ, ความรู้จักผ่อนปรน.
นิสัยใจคอ, ความรู้จักผ่อนปรน
(อัดทะยาไส) น. นิสัยใจคอ เช่น เขาเป็นคนมีอัธยาศัยดี