(อะเบรสทฺ') adj., adv. เคียงข้าง, พร้อมกัน, เป็นแนวเดียวกัน, เสมอกัน, ทัน, Syn.beside
(อะจอยน์') vt., vi. ประชิดกับ, ติดกับ, ข้างเคียงกับ, Syn.border
(อะจังคฺ' เชิน) n. การอยู่ติดกัน, การอยู่ข้างเคียง (addition to an adjunct)
(อะลอง' ไซดฺ, อะลอง' ไซดฺ) adv., prep. อยู่ข้าง, อยู่ติดกับ, เทียบท่า, เคียง
(แอพพะซิท'เชิน) n. การวางเข้าด้วยกัน, การวางเคียงข้างกัน, นามสรรพนามหรืออนุประโยคที่ขยายความหมายของนามสรรพนาม, อนุประโยคอื่น, Syn.juxtaposition
(อะพอซ'ซิทิฟว) n. คำหรือวลีที่อยู่เคียงข้างกัน. -adj. ซึ่งวางเคียงข้างกัน, ซึ่งเคียงข้าง (ตามหลัง) นามหรือวลีที่มันขยายความ
(อะพรอค'ซิเมท) adj., vt., vi. ประมาณ, ใกล้เคียง, จำนวนใกล้เคียง, คล้ายกันมาก, เลียนแบบ -approximately adv.
(อะพรอคซิเม'เชิน) n. การเดา, การประมาณ, ความใกล้เคียง, ค่าประมาณ
(อาร์'เดบ) n. หน่วยความจุที่ใช้ในอียิปต์ และประเทศที่ใกล้เคียง (a unit of capacity)
(อาร์'แรค) n. น้ำตาลเมา, เหล้าในประ-เทศตะวันออกกลางหรือประเทศใกล้เคียง., Syn.arak
(ออสทระเล'เชียะ, -ชะ) n. ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และเกาะข้างเคียงใน
การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะเกณฑ์มาตรฐานหมายถึง การทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการประมวลผล หรือการทำงานของ โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐาน
(บอร์'เดอะ) { bordered, bordering, borders } n. ชายแดน, ขอบ, ริม, เนิน -v. มีเขตแดนติดต่อกับ, คล้ายกับ, ใกล้เคียง, เหมือน, Syn.brink
n. การว่ายน้ำเคียงคู่เพื่อมีโอกาสช่วยเหลือกันได้, การทำงานเป็นทีม, Syn.team work
(ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม
n. เคียงข้าง, ประชิดกัน, ติดกัน
(โคลน) n. พวกสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์จากระบบไร้เพศ., See Also:clonal adj. คอมพิวเตอร์เลียนแบบหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำเลียนแบบเครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อดัง ๆ ส่วนใหญ่จะมีราคาถูก โดยปกติ เขาแบ่งระดับขั้นของคอมพิวเตอร์กันดังนี้ คือ ถ้าเป็นระดับที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด ก็มีคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็ม IBM แมคอินทอช Macintosh และคอมแพค Compaq ถัดลงมาอยู่ในระดับเทียบเคียงได้ compatible หมายถึง พวกที่มีชื่อ แต่โด่งดังน้อยกว่า เช่น เอ็ปซอน Epson ที่ขั้นต่ำสุดก็คือพวกที่ทำเลียนแบบในราคาถูก .....ถูกจนคนมักจะชอบเสี่ยงซื้อไปใช้ จึงจะเรียกว่า "clone"
(คะแลท'เทอรัล) adj. เคียงข้าง, ขนานกัน, เพิ่มเติม, ประกอบ, สังกัด, เป็นส่วนเสริม, ที่สอง, โดยทางอ้อม, ไม่ใกล้ชิด, ห่าง ๆ, See Also:collaterality n., Syn.adjunct
(คอม'เพอระเบิล) adj. ซึ่งเปรียบเทียบกันได้, พอเปรียบเทียบได้, เทียบเคียงได้., See Also:comparability, comparableness n. ดูcomparable, Syn.similar, matching
(คัมแพ'ระทิฟว) adj. เกี่ยวการเปรียบเทียบ, ซึ่งเทียบเคียง, พอสมควร., See Also:comparativist ผู้เปรียบเทียบ, Syn.parallel -Conf. superlative
(คัมแพร์ ') { compared, comparing, compares } vt .เปรียบเทียบ, เทียบเคียง, อุปมา. vi. เทียบได้กับ, สู้ได้, เทียบได้กับ, การเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง., See Also:comparer n. ดูcompare -Conf. contrast
(คัมแพ'ริเซิน) n. การเปรียบเทียบ ภาวะที่ถูกเปรียบเทียบ, การเทียบเคียง. -Phr. (degree of comparison การเปรียบเทียบคุณลักษณะในไวยากรณ์), Syn.equation, matching, similarity, correlation
ความเข้ากันได้ความใช้แทนกันได้การเทียบเคียงกันได้หมายถึง ความสามารถในการทำงานของอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่สามารถเทียบแทนกันได้กับอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับอยู่แล้ว เช่น ถ้าใช้ว่า "IBM Compat" ก็แปลความได้ว่าคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ยี่ห้อไอบีเอ็ม แต่ผลิตขึ้นมาด้วยมาตรฐานเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และสามารถนำมาใช้แทนเครื่องไอบีเอ็มได้ (หมายถึง ใช้โปรแกรมหรือคำสั่งต่าง ๆ ของไอบีเอ็มได้นั่นเอง)
กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ บุคคลเหล่านี้มักจะรวมตัวกันเพื่อช่วยกันศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์และเครี่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ประโยชน์สูงสุด บางทีก็จะแบ่งย่อยลงไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เฉพาะผู้ที่มีความสนใจใกล้เคียงกันจริง ๆ เช่นแบ่งไปตามชนิดของเครื่องที่ใช้ (พีซี/แมคอินทอช) หรือตามประเภทของโปรแกรมที่ใช้ เช่น ประมวลผลคำ (word processing) , ตารางจัดการ (spreadsheet) บางที ใช้เรียกเพื่อให้ดูต่างจากกลุ่มผู้ที่ขายคอมพิวเตอร์ดู computer vendor group เปรียบเทียบ
(คันเฟอร์') { conferred, conferring, confers } vt. ให้เป็นของขวัญเป็นเกียรติหรืออื่น ๆ , ประสาทให้. vi. ปรึกษา, หารือ, ประชุม, เทียบเคียง., See Also:conferment, conferral n. conferrable adj. ดูconfer conferrer n. ดูconfer คำที่มีความหมายเหมือนกั
(คันวี'เนียนทฺ) adj. สะดวก, เหมาะสม, ใกล้มือ, ใกล้เคียง, Syn.handy, fit -Conf. suitable
(คอ'ริเลท) vt. เทียบเคียง, ทำให้สัมพันธ์กัน. vi. มีความสัมพันธ์กัน adj. ซึ่งสัมพันธ์กัน, ซึ่งเกี่ยวพันกัน n. สิ่งที่สัมพันธ์กัน
ระบบปฏิบัติการแบบใช้จานโปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่สั่งการให้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทำงาน ถ้าจะแปลให้ตรงตัว ก็จะเรียกได้ว่า เป็นระบบปฏิบัติการแบบที่ใช้จานบันทึกข้อมูล เรามักจะใช้คำย่อที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า DOS (อ่านว่า ดอส) ส่วนระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ เรียกว่า OS อ่านว่า โอเอส (Operating System) ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ประเภทเทียบเคียงกับไอบีเอ็ม (IBM compatibles) หรือพีซี (PC) จะใช้ "ดอส" ที่เขียนโดยบริษัทไมโครซอฟต์ นิยมเรียกกันว่าMS-DOS หรือ Microsoft DOS ส่วนระบบปฏิบัติการที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช มีชื่อว่า System 6 หรือ 7
(อีซา) ย่อมาจาก extended industry standard architecture (แปลว่า การออกแบบมาตรฐานแบบขยาย) คอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มจะออกแบบและใช้บัส (bus) แบบ ISA (industry standard archi- tecture) เป็นมาตรฐาน แต่เครื่องที่เทียบเคียงกับเครื่องไอบีเอ็ม (IBM compatibles) นั้น แทนที่จะใช้ตามมาตรฐานนี้ กลับออกแบบบัสให้เพิ่มความเร็วขึ้น เรียกว่า อีซา เมื่อไอบีเอ็มผลิตคอมพิวเตอร์ PS/2 จึงได้กำหนดมาตรฐานของบัสใหม่ โดยพัฒนาให้เร็วยิ่งขึ้นไปอีก เรียกว่า MCA ซึ่งย่อมาจาก micro channel architecture ดู MCA ประกอบ
extended industry standard architecture การออกแบบมาตรฐานแบบขยายใช้ตัวย่อว่า EISA (อ่านว่า อีซา) คอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มจะออกแบบและใช้บัส (bus) แบบ ISA (Industry Standard Architecture) เป็นมาตรฐาน แต่เครื่องที่เทียบเคียงกับเครื่องไอบีเอ็ม (IBM compatibles) นั้น แทนที่จะใช้ตามมาตรฐานนี้ กลับออกแบบบัสให้เพิ่มความเร็วขึ้น เรียกว่า อีซา เมื่อไอบีเอ็มผลิตคอมพิวเตอร์พีเอสทู (PS/2) จึงได้กำหนดมาตรฐานของบัสใหม่ โดยพัฒนาให้เร็วยิ่งขึ้นไปอีก เรียกว่า MCA ซึ่งย่อมาจาก micro channel architecture ดู MCA ประกอบ
เทียบได้กับเฮย์สใช้อธิบายถึงสมรรถนะของโมเด็ม (Modem) หมายถึงว่า มีมาตรฐานเทียบเคียงได้กับโมเด็มยี่ห้อเฮย์ส
(เฮีย'ระเบาทฺ) adv. รอบที่นี้, ที่ใกล้เคียง, อยู่แถวนี้., Syn.hereabouts
(ฮิท'เธอะ) adv. มาที่นี้ Phr. (hither and thither ที่โน่นและที่นี่, ที่ต่าง ๆ), See Also:Phr. hither and yon ไปยังที่อื่น ๆ ไปหลายที่ adj. ที่นี้, ที่ใกล้เคียง
ภาษาแนวมนุษย์หมายถึงภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ เขียนได้ง่าย เข้าใจง่าย และกระทัดรัด สะดวกในการใช้งาน ภาษานี้มีลักษณะเหมือนภาษาหนังสือ ใช้เขียนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่คอมพิวเตอร์จะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อนจึงจะเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ1. ภาษาระดับสูง (high level language) 2. ภาษาระดับต่ำ (low level language) การใช้ภาษามนุษย์เขียนชุดคำสั่งนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่าย มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่าย เขียนได้สั้น เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลายคำสั่งในภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดีตรงที่สามารถใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่าเพราะไม่เสียเวลาในการแปลดู computer language ประกอบดู machine language เปรียบเทียบ
abbr. Intercontinental Ballistic Missile จรวดขีปนาวุธข้ามทวีป, International Business Machines Corporation, บริษัทไอบีเอ็ม เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตเครื่องจักรประมวลผลสำหรับธุรกิจหลายชนิด ซึ่งก็หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ไอบีเอ็มเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ที่สุดและเก่าแก่ที่สุดบริษัทหนึ่งในด้านนี้ ในปัจจุบัน เริ่มมีคู่แข่งมากขึ้น บริษัทไอบีเอ็มนี้ผลิตคอมพิวเตอร์ทุกขนาดตั้งแต่ขนาดใหญ่ (mainframe) จนถึงไมโครคอมพิวเตอร์ ราคาเครื่องของบริษัทนี้จะแพงกว่าของบริษัทอื่น และมีบริษัทมากมายพยายามเลียนแบบ จนเกิดมีคำ"IBM compatibles" ซึ่งใช้เรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่เทียบเคียงกับคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มได้ กล่าวคือ ใช้โปรแกรมระบบ (operating system) อย่างเดียวกัน
ไอบีเอ็ม พีซีเป็นชื่อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่บริษัทไอบีเอ็ม เริ่มผลิตออกสู่ตลาดมาตั้งแต่ ค.ศ.1981 ก่อนหน้านี้ บริษัทไอบีเอ็มจะผลิตแต่เครื่องขนาดใหญ่ที่เรียกว่า เมนเฟรม (mainframe) คำ PC นั้นย่อมาจาก personal computer ในปัจจุบัน คำพีซีกลายเป็นคำที่หมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้ออะไรก็ได้ ที่ใช้ระบบปฏิบัติการเดียวกับไอบีเอ็ม บางทีก็เรียกว่า "เทียบเคียงกับไอบีเอ็ม" หรือ "IBM compatibles"
นิยมเรียกชื่อย่อว่า IBM (อ่านว่า ไอบีเอ็ม) เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตเครื่องจักรประมวลผลสำหรับธุรกิจหลายชนิด ซึ่งก็หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ไอบีเอ็มเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ที่สุดและเก่าแก่ที่สุดบริษัทหนึ่งในด้านนี้ ในปัจจุบัน เริ่มมีคู่แข่งมากขึ้น บริษัทไอบีเอ็มนี้ผลิตคอมพิวเตอร์ทุกขนาดตั้งแต่ขนาดใหญ่ (mainframe) จนถึงไมโครคอมพิวเตอร์ ราคาเครื่องของบริษัทนี้จะแพงกว่าของบริษัทอื่น และมีบริษัทมากมายพยายามเลียนแบบ จนเกิดมีคำ"IBM compatibles" ซึ่งใช้เรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่เทียบเคียงกับคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มได้ กล่าคือ ใช้โปรแกรมระบบเดียวกัน
(จัคซทะโพซิซ'เชิน) n. การวางชิดกัน, การวางเคียงกัน
เครื่องปลายทางระยะใกล้หมายถึงเครื่องปลายทางที่มีสายเชื่อมต่อกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ มักจะอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน
ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) ฉะนั้น คอมพิวเตอร์จะแปลได้ง่ายกว่าภาษาระดับสูงอย่างภาษา FORTRAN, COBOL หรือ C แต่ผู้เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับนี้ จะพบว่าเขียนยากกว่าใช้ภาษาระดับสูง ซึ่งมีลักษณะเหมือนภาษามนุษย์มากกว่า ตัวอย่างของภาษานี้มี ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) อยู่เพียงภาษาเดียว ดู high level language เปรียบเทียบ
n. จำนวนnucleonsในนิวเคลียสของอะตอมมีค่าใกล้เคียงกับน้ำหนักอะตอม
ใช้ตัวย่อว่า MS-DOS (อ่านว่า เอ็มเอสดอส) เป็นชื่อระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีที่บริษัทไมโครซอฟต์เป็นผู้ผลิตขึ้น และได้พัฒนาให้ดีขึ้นอยู่เรื่อย ๆ จนปัจจุบันเป็นรุ่น (version) 6.21 แล้ว รุ่นใหม่นี้สามารถป้องกันไวรัสได้ถึงกว่า 8, 000 ชนิด ไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม และเครื่องเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เกือบทั้งหมดใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS นี้ (ระบบปฏิบัติการของบริษัทไอบีเอ็มเอง มีชื่อเรียกว่า IBM DOS แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่า MS-DOS)
(มิส'เทริล, มิสทราล') n. ลมเหนือที่หนาวและแห้งในภาคใต้ของฝรั่งเศสและบริเวณใกล้เคียง
(มอดูลา-ทู) เป็นภาษาโครงสร้างของคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่งใกล้เคียงกับภาษาปาสกาล (Pascal) ภาษานี้ผู้สร้างชื่อ Niklaus Wirth คนเดียวกับที่สร้างภาษาปาสกาล
เอ็มเอสดอสย่อมาจากคำว่า Microsoft disk operating system เป็นชื่อระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีที่บริษัทไมโครซอฟต์เป็นผู้ผลิตขึ้น และได้พัฒนาให้ดีขึ้นอยู่เรื่อย ๆ จนปัจจุบันเป็นรุ่น (version) 6.21 แล้ว รุ่นใหม่นี้สามารถป้องกันไวรัสได้ถึงกว่า 8, 000 ชนิด ไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม และเครื่องเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เกือบทั้งหมดใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS นี้ (ระบบปฏิบัติการของบริษัทไอบีเอ็มเอง มีชื่อเรียกว่า IBM DOS แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่า MS-DOS)
(เนียร์) adv., adj. ใกล้, ใกล้เคียง, เกือบจะ, เกือบจะ -prep เร็ว ๆ นี้, จวน, แทบ vt., vi. ใกล้เข้ามา., See Also:nearness n., Syn.close
คุณภาพเกือบคมชัดใช้ตัวย่อว่า NLQ แปลตามตัวอักษรว่า เกือบเหมือนตัวพิมพ์ดีด ใช้เป็นคำอธิบายถึงคุณภาพของเครื่องพิมพ์ว่า มีคุณภาพเกือบคมชัด หรือใกล้เคียงตัวพิมพ์ดีด เครื่องพิมพ์ที่มีคุณภาพ จะมองดูเหมือนการนำจุดมาเรียงกันให้เป็นรูปตัวอักษร ฉะนั้น เครื่องพิมพ์ชนิดที่มีจุดมาก ๆ ติด ๆ กัน จะทำให้ดูมีความคมชัด (high resolution) ตัวอักษรที่พิมพ์ออกมา จะดูสวยและประณีต เหมือนตัวพิมพ์ดีด การวัดคุณภาพของเครื่องพิมพ์ จึงวัดเป็นจำนวนจุดต่อนิ้ว เช่น 600 จุดต่อนิ้ว ย่อมดีกว่า 300 จุดต่อนิ้ว เป็นต้น (300 จุดต่อนิ้ว พอจะเรียกได้ว่า คุณภาพเกือบคมชัด) ดู printer และ letter quality ประกอบ
(เนียร์'ไบ') adj., adv. ใกล้เคียง, ถัดไป, ใกล้ชิด., Syn.adjacent