ว. ทั้ง ๆ ที่เป็นอยู่ในลักษณะอาการเช่นนั้น เช่น เพิ่งตื่นนอนมาก็รีบออกไปทั้งอย่างนั้น.
ใช้เป็นคำอุปมาหมายความว่า เวรสนองเวร, กรรมสนองกรรม, เช่น ทำแก่เขาอย่างไร ตนหรือลูกหลานเป็นต้นของตนก็อาจจะถูกทำในทำนองเดียวกันอย่างนั้นบ้าง เป็นกงเกวียนกำเกวียน.
ว. นั้น, ดังนั้น, อย่างนั้น.
(กฺรึ๊บ) ว. เสียงเกิดจากการกลืนของเหลวเช่นเหล้าอย่างรวดเร็ว, ลักษณนามเรียกการดื่มเหล้าอึกหนึ่ง ๆ ด้วยอาการอย่างนั้น เช่น ดื่มเหล้ากรึ๊บหนึ่ง ดื่มเหล้า ๒ กรึ๊บ.
น. กะลามะพร้าวที่มีปุ่มนูนเป็นรูปสามเส้า ใช้สำหรับทำซอสามสาย, เรียกลักษณะของหัวกะโหลกศีรษะที่เป็นรูปอย่างนั้น.
(ขะหฺมวด) น. ลักษณนามเรียกของที่ขมวดอย่างนั้น เช่น หัวหอม ๔ ขมวด.
(ขะยุ่ม) ก. เอาปลายนิ้วทั้ง ๕ หยิบรวบขึ้นมาเพื่อให้ได้มาก, โดยปริยายใช้ในอาการอย่างนั้น เช่น แมงมุมขยุ้มหลังคา.
น. เรียกบุคคลที่หาเลี้ยงชีพอย่างนั้นว่า ขอทาน.
ว. หัวเราะเสียงอย่างนั้น.
ก. สั่ง, บอกให้ทำ, เช่น ต้องไขลานกันอยู่เรื่อย ไม่อย่างนั้นไม่ทำ
ก. พูดอย่างนั้นเสมอ ๆ, พูดจนเป็นนิสัย.
ก. ทำอย่างนั้นเสมอ ๆ, ทำจนเป็นนิสัย.
ว. เป็นอยู่อย่างนั้นจนถึงบัดนี้.
เป็นอย่างนั้นแน่แท้ ไม่กลับเป็นอย่างอื่น เช่น ข้อนี้เป็นความจริง, ไม่เท็จ, ไม่โกหก, ไม่หลอกลวง, เช่น เรื่องจริง พูดจริง, เป็นไปตามนั้น เช่น ความฝันกลายเป็นความจริง.
ก. ทำอย่างขอไปที ไม่ได้อย่างนี้ก็เอาอย่างนั้นเข้าแทนเพื่อให้ลุล่วงไป.
ว. ต้องเป็นอย่างนั้น, ต้องทำ, ขาดไม่ได้.
ก. เอาปากดูดโดยเร็วและแรง, อาการที่ปลาทำอย่างนั้น เรียกว่า ปลาจุบ.
ว. เชียว, ทีเดียว, อย่างนั้น, แน่นอน.
น. สิ่งที่ทำหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด เช่น ใจก็คิดว่าอย่างนั้น, หัวใจ เช่น ใจเต้น, ลมหายใจ เช่น กลั้นใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สึกนึกคิด เช่น ใจคด ใจซื่อ
ว. เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เป็นอยู่อย่างนั้น, จะไจ้ ก็ว่า.
ว. ฉันนั้น, เช่นนั้น, อย่างนั้น, ดังนั้น, ดั่งนั้น, เพราะฉะนั้น, เพราะเหตุนั้น.
ส. อย่างนั้น, เช่นนั้น, (เป็นคำรับใช้เข้าคู่กับคำ ฉันใด).
ไม่ว่าผู้มีอำนาจจะว่าอย่างใด ผู้น้อยก็ต้องคล้อยตามไปอย่างนั้นเพราะกลัวหรือประจบ.
ว. คำรับรองแสดงว่า เป็นเช่นนั้น, เป็นอย่างนั้น, ถูก, แน่
ว. คำร้องตวาดเสียงดังอย่างนั้น เป็นเสียงสำหรับไล่ไก่เป็นต้น.
(ไซ้) ว. คำสำหรับเน้นความหมายของคำหน้า มีความหมายไปในทางว่า อย่างนั้น, เช่นนั้น, ทีเดียว, เช่น ผลเดื่อเมื่อสุกไซร้ มีพรรณ ภายนอกแดงดูฉัน ชาดบ้าย (โลกนิติ), ไซ้ ก็ว่า.
ว. คงสภาพอยู่อย่างนั้นเป็นเวลานาน (มักใช้ในเรื่องที่ไม่เจริญก้าวหน้า) เช่น เป็นเสมียนอยู่ดักดาน โง่ดักดาน.
ว. เรื่อย ๆ ไปโดยไม่มีจุดหมาย เช่น ไปดุ่ย ๆ ทำดุ่ย ๆ ไปอย่างนั้นเอง.
ว. เฉียบขาด, ไม่เปลี่ยนแปลง, ว่าอย่างใดทำอย่างนั้น, ถึงที่สุด.
รู้เอาเองว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้.
น. เรียกพิธีกรรมอย่างนั้นหรือที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น ว่า พิธีตัดไม้ข่มนาม.
(ตัดตะวะ-) น. ความเป็นอย่างนั้น, ความเป็นจริง.
(ตัด) น. ความเป็นอย่างนั้น, ความจริง.
(ตัด) ว. เป็นอย่างนั้นจริง.
น. คนที่รู้อะไรด้านเดียวหรือนัยเดียวแล้วเข้าใจว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างนั้น.
ก. คงที่อยู่อย่างนั้น เช่น ราคาตายตัว อัตราตายตัว.
ก. ขยับออกจากที่ไปข้างหน้าแล้วไปข้างหลัง สลับกันอยู่อย่างนั้น เช่น กว่าจะจอดรถได้ ต้องถอยหน้าถอยหลังอยู่นาน
ก. เอาผ้าถวายพระภิกษุโดยวางไว้บนกิ่งไม้เพื่อให้พระภิกษุชักเอาเอง, โดยปริยายหมายถึงอาการที่วางไว้อย่างนั้น เช่น ทอดผ้าป่าเรียงวางไว้กลางสนาม (อภัย).
น. เรียกไม้แหลมสำหรับตอกต้นไม้เป็นระยะ ๆ เพื่อเหยียบขึ้นไป ว่า ลูกทอย, เรียกกิริยาที่ตอกลูกทอยอย่างนั้น ว่า ตอกทอย.
ว. อย่างนั้นอย่างนี้, โยกโย้, เช่น พูดท่านั้นท่านี้.
ก. ตู่เอาเป็นของตัว, ถือเอาเป็นจริงเป็นจัง, เหมาเอาว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้.
สัน. ใช้ในความที่ขัดแย้งกัน เช่น แทนที่จะเขียนอย่างนั้น เขากลับเขียนอย่างนี้.
ว. คำประกอบหน้ากริยา หมายความว่า ควร เช่น น่าจะทำอย่างนั้น น่าจะเป็นอย่างนี้
แนะนำ เช่น บอกให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้, สอน เช่น อย่าบอกหนังสือสังฆราช
ว. ใช้ประกอบคำอื่นหมายความว่า บางจำนวนหรือบางส่วนของสิ่งที่กล่าวถึงโดยเฉพาะ เช่น อย่างนั้นบ้าง อย่างนี้บ้าง ขอบ้าง, บางส่วนของจำนวนรวมที่แบ่งเป็น ๒ เช่น เรื่องที่เล่าจริงบ้าง เท็จบ้าง, มีส่วนร่วม มีความหมายคล้ายคำว่า ด้วย เช่น ขอเล่นบ้าง ขอขี่จักรยานบ้าง, เอาอย่าง เช่น เห็นเขาทำก็ทำบ้าง.
ว. ใช้ในความหมายที่ยืนยัน หมายความว่า เป็นอย่างนั้น เช่น นั่นเป็นไรล่ะ, ใช้ในความหมายที่เป็นคำถาม หมายความว่า เป็นอย่างไรไป เช่น นั่นเป็นไรหรือ.
เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่มี ไม่เป็นอย่างนั้น
ว. สีเหลืองนวล, เรียกชันที่ผสมน้ำมันยาง มีลักษณะเหลว ที่มีสีอย่างนั้น สำหรับใช้พอนเรือเป็นต้น ว่า ชันพอน หรือ ลาพอน.
แทนที่จะเป็นอย่างนี้กลับเป็นอีกอย่างหนึ่ง เช่น เคยทำอย่างนี้ ไพล่ไปทำอย่างนั้น.
หินชนิดหนึ่งซึ่งมีรูปร่างอย่างนั้น.