ก. ในที่สุด, ผลสุดท้าย, เช่น ทำไปทำมากลับได้กำไร ทำไปทำมาจวนติดตะราง.
(กฺริดสะดา) ว. อันกระทำแล้ว เช่น เพื่อพระราชกฤษฎา แต่กี้ (ราชกิจที่ทรงทำมาแล้ว) (ตะเลงพ่าย).
น. เครื่องถ้วยปั้นที่ทำมาจากแคว้นเกียงสีในประเทศจีน.
น. ชื่อเครื่องดื่มชนิดหนึ่ง ทำมาจากเมล็ดต้นกาแฟ.
น. ชื่อเครื่องดื่มที่ทำมาจากเมล็ดผลโกโก้.
เครื่องสานที่ทำจากผิวไม้ไผ่ซึ่งนำมาเรียดแล้วทำเป็นโครง ฉาบด้วยรักสมุกหรือรักชาดเพื่อกันน้ำรั่วซึม ไทยได้รับวิธีการทำมาจากไทเขินซึ่งอยู่ในยูนนานตอนใต้ จึงเรียกว่า เครื่องเขิน.
ก. ทำมาหากินในทางซื้อขาย.
ใช้เป็นคำประกอบหน้ากริยาแสดงว่ากริยานั้น ๆ ได้เป็นมาแล้ว เช่น เคยทำ = ได้ทำมาแล้ว เคยเห็น = ได้เห็นมาแล้ว, บางทีใช้พูดละกริยาที่ประกอบเสีย เหลือแต่ว่า เคย ก็มี เช่น เคยไปหรือไม่เคย ไม่เคยเลย.
น. เครื่องสานที่ทำจากผิวไม้ไผ่ซึ่งนำมาเรียดแล้วทำเป็นโครง ฉาบด้วยรักสมุกหรือรักชาดเพื่อกันน้ำรั่วซึม ไทยได้รับวิธีการทำมาจากไทเขินซึ่งอยู่ในยูนนานตอนใต้ จึงเรียกว่า เครื่องเขิน.
ว. ใช้ประกอบข้อความหรือคำอื่น มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ข้อความแวดล้อม เช่น หยิบไปเฉย ๆ คือ หยิบไปโดยไม่ได้บอกกล่าว, อยู่บ้านเฉย ๆ คือ อยู่บ้านโดยไม่ทำอะไรให้เป็นกิจจะลักษณะ หรือไม่ได้ทำมาหากินอะไร
หนทางหรือโอกาสที่จะทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ที่จังหวัดนี้มีช่องทางทำมาหากินได้ง่าย.
น. ผลของกรรมที่ทำมาแล้ว ทำให้ต้องพบเหตุการณ์ในชีวิตตามผลของกรรมนั้น เช่น ทุกคนต้องรับทุกข์และสุขไปตามชะตากรรม
(ชะเลียง) น. ชื่อเครื่องดินเผาที่ทำมาจากเมืองเชลียง ซึ่งอยู่ในอำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย.
ก. ซ่อน, แอบซ่อนคอยทีอยู่, แอบ ๆ ทำ เช่น งานชิ้นนี้ซุ่มทำมาหลายปี.
น. ดินปืนทำมาจากยุโรป ใช้ต่างดินหู.
น. เครื่องรางอย่างหนึ่ง ทำด้วยโลหะเป็นรูปปลาตะเพียนสีเงินตัวหนึ่ง สีทองตัวหนึ่ง เชื่อว่าเป็นสิริมงคลให้ทำมาค้าขึ้น.
ก. ทำให้หมดช่องทาง เช่น ตัดทางทำมาหากิน
ว. ตามแบบอย่างที่เคยทำมาแต่เก่าก่อน.
น. ถิ่นที่, ตำบล, ภูมิที่ตั้ง, (มักใช้แก่แหล่งทำมาหากิน) เช่น ทำเลการค้า.
น. แหล่ง, ถิ่น, เช่น ที่ประกอบอาชีพ ที่ทำมาหากิน, สถานที่ เช่น ที่ประชุม ที่พัก, ตำแหน่งแห่งที่ เช่น เอาของวางไว้ให้ถูกที่
ก. ตัดอาชีพ, ทำลายหนทางทำมาหากิน.
ก. เอาฟันหน้ากัดให้หลุดออกมาทีละน้อย ๆ, เล็มกินทีละน้อย ๆ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาไม่ทำมาหากินคอยแต่แทะเงินเพื่อน ๆ.
(ทำมา-) น. อาทิตย์แห่งธรรม หมายถึง พระพุทธเจ้า.
(ทำมา-) น. ธรรมและอธรรม, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
(ทำมาทิปะไต, ทำมาทิบปะไต) น. การถือธรรมเป็นใหญ่, การถือความถูกต้องเป็นหลัก.
(ทำมาทิดถาน, ทำมาทิดสะถาน) ว. มีธรรมเป็นที่ตั้ง ที่ยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วน ๆ ขึ้นมาอ้างหรืออธิบาย, คู่กับ บุคลาธิษฐาน.
(ทำมา-) น. การประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม, การประพฤติความดีสมควรแก่ฐานะ.
(ทำมา-) น. ความถูกตามธรรม, ทางหรือวิธีแห่งความยุติธรรม, ความระลึกตามธรรม.
(ทำมา-) ว. หันหน้าเฉพาะธรรม, มุ่งแต่ยุติธรรม.
(ทำมา-) น. การตรัสรู้ธรรม, การสำเร็จมรรคผล.
(ทำมายะตะนะ) น. แดนที่ต่อคือธรรมารมณ์, แดนที่ต่อกับใจ ได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้.
(ทำมา-) น. อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ.
(ทำมาด) น. ที่สำหรับพระภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม.
ว. มีความสุขสบายมากโดยไม่ต้องทำมาหากินอะไร.
น. นาที่ได้ทำมาแล้วนาน เป็นนาดี ทำแล้วไม่ใคร่เสีย.
ในทางกฎหมายอาญา หมายถึง การลบล้างการกระทำความผิดอาญาที่บุคคลได้กระทำมาแล้ว โดยมีกฎหมายกำหนดให้การกระทำนั้นไม่เป็นความผิด และให้ผู้ที่ได้กระทำการนั้นพ้นจากการเป็นผู้กระทำความผิด.
ช่วยกันทำมาหากินทั้งผัวทั้งเมีย, ชายหาบหญิงคอน ก็ว่า.
(มานยา) น. การลวง, การแสร้งทำ, เล่ห์กล, เช่น เจ้ามารยา มารยามาก ทำมารยา.
น. การทำให้เขาหลงผิดหรือเข้าใจผิด เช่น เขาทำมารยาสาไถย.
ว. ล่วงไปมากจวนถึงที่หมาย, เกือบ, เกือบถึง, เช่น ร่วมถึง ร่วมเสร็จ ทำมาร่วมเดือนแล้ว ซากสัตว์นี้มีอายุร่วม ๑, ๐๐๐ ปี.
ก. ตั้งที่อยู่ทำมาหากินเป็นหลักแหล่ง.
ก. เลิกการแสดงมหรสพ เช่น โขน ละคร ลิเกครั้งหนึ่ง ๆ, (ปาก) เลิกกิจการหรืองานที่เคยทำมา เช่น เขาลาโรงจากการเมืองแล้ว.
น. กำลังความสามารถในการทำมาหากินด้วยตนเองไม่ต้องพึ่งใคร เช่น หากินด้วยลำแข้งของตนเองจนมั่งมี, ปลีแข้ง ก็ว่า.
น. ฝิ่นดิบที่ทำมาจากเหนือ เรียกว่า ฝิ่นลิ้นกระบือ.
น. ลาดเลา, ช่องทาง, เช่น ดูลู่ทางทำมาหากิน ผู้ร้ายหาลู่ทางเข้าไปโจรกรรม.
ผู้ที่ทำมาหากินอยู่ตามท้องทุ่ง
ก. เลี้ยงตัว, ทำมาหากินเพื่อให้ชีวิตดำรงอยู่ได้, เลี้ยงอาตมา ก็ว่า.
ก. ทำมาหากินเพื่อให้ชีวิตดำรงอยู่ได้, เลี้ยงชีพ หรือ เลี้ยงอาตมา ก็ว่า, ดำเนินงานพอให้กิจการดำรงอยู่ได้ เช่น กิจการพอเลี้ยงตัวได้