แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
389 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ฉบับ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ฉบับ, -ฉบับ-
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอ
tesis
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(clas)copySee Also:issueExample:บ้านนี้รับหนังสือพิมพ์วันละ 2 ฉบับUnit:ฉบับ
(n)copySee Also:issue, edition, versionSyn.เล่มหนังสือ, แผ่นจดหมาย, แผ่นเอกสารExample:เราจะพูดถึงวิธีแก้ปัญหาอีกครั้งหนึ่งในฉบับต่อไปUnit:ฉบับThai Definition:หนังสือเรื่องเดียวกันซึ่งมีข้อความหรือสำนวนแตกต่างกันเป็นต้น เช่น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
(n)duplicateSee Also:copy, counterfoilExample:ตราสารใดไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์ จะใช้ต้นฉบับ คู่ฉบับ คู่ฉีก หรือสำเนาตราสารนั้นเป็นพยานหลักฐาน ในคดีแพ่งไม่ได้Unit:ฉบับThai Definition:หนังสือที่ทำขึ้นเป็นต้นฉบับตั้งแต่ 2 ฉบับขึ้นไป มีข้อความตรงกัน โดยฉบับหนึ่งเป็นคู่ฉบับของอีกฉบับหนึ่งNotes:(กฎหมาย)
(n)manuscriptSee Also:typescript
(n)original manuscriptSee Also:source document, master copySyn.ต้นร่าง, ต้นสำเนา, แบบร่าง, ฉบับร่างExample:นักเขียนทุกคนต้องส่งต้นฉบับภายในวันศุกร์นี้Thai Definition:ฉบับจริงของเรื่องที่ประพันธ์ไว้เดิม, ฉบับที่เขียนหรือดีดพิมพ์ไว้เดิมก่อนตีพิมพ์
(n)modelSee Also:pattern, example, archetype, ideal, paradigm, standard, prototype, paragonSyn.แบบอย่าง, แม่แบบ, ต้นแบบExample:เด็กยึดพ่อแม่เป็นแบบฉบับในการดำเนินชีวิตThai Definition:หลักปฏิบัติที่เป็นบรรทัดฐาน, สิ่งที่ถือเป็นแบบได้
(n)draftSee Also:early version, preliminary outlineExample:หัวหน้าจัดการส่งฉบับร่างของแบบงานไปให้สถาปนิก พร้อมกับคำสั่งให้ดำเนินงานได้เลยUnit:ฉบับThai Definition:ฉบับที่ทำเพียงเค้าโครงขึ้นมา เพื่อลอกคัดหรือแต่งภายหลัง
(adj)draftSee Also:draughtExample:ที่ประชุมมีมติให้จัดทำกฎหมายฉบับร่างขึ้นมาก่อน แล้วจึงแก้ไขตามสมควรภายหลังThai Definition:ที่ทำเพียงเค้าโครงขึ้นมา เพื่อลอกคัดหรือแต่งภายหลัง
(adj)typicalSee Also:representative, archetypal, characteristic, standardExample:วิรุณคิดว่ารามเกียรติ์เป็นวรรณคดีตามแบบฉบับThai Definition:ที่เป็นหลักปฏิบัติซึ่งเป็นบรรทัดฐาน, สิ่งที่ถือเป็นแบบได้
(n)source languageExample:นักแปลที่ดีจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องที่จะแปล และมีความรู้ทั้งภาษาต้นฉบับ และภาษาเป้าหมายเป็นอย่างดีThai Definition:ภาษาที่ใช้ในฉบับจริงหรือฉบับต้นเรื่อง
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. หนังสือหรือเอกสารที่ทำขึ้นตั้งแต่ ๒ ฉบับขึ้นไป มีข้อความตรงกัน โดยถือว่าทุกฉบับเป็นต้นฉบับ.
(ฉะ-) น. หนังสือเรื่องเดียวกันซึ่งมีข้อความหรือสำนวนแตกต่างกันเป็นต้น เช่น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ต้นเดิมของหนังสือที่พิมพ์หรือเขียน เรียกว่า ต้นฉบับ
ลักษณนามเรียกหนังสือเล่มหรือหนังสือเป็นแผ่นที่ถือว่าเป็นหน่วยหนึ่ง ๆ เช่น จดหมาย ๓ ฉบับ สลากกินแบ่ง ๕ ฉบับ หนังสือสัญญา ๒ ฉบับ.
ว. ที่มีขนาดเล็กสามารถพกพาไปได้สะดวก เช่น พจนานุกรมฉบับกระเป๋า คอมพิวเตอร์ฉบับกระเป๋า.
น. ฉบับจริงของเรื่องที่ประพันธ์หรือแต่งไว้เดิม, ฉบับที่เขียนหรือดีดพิมพ์ไว้เดิมก่อนตีพิมพ์, ต้นสำเนา.
น. หลักปฏิบัติที่เป็นบรรทัดฐาน, บุคคลหรือสิ่งที่ถือเป็นแบบได้.
ว. ทะมึน, มีลักษณะดำมืดสูงใหญ่น่าเกรงขาม, เช่น กายาศีรษะพลัดพราย หัวขาดเด็ดตาย จรลู่กระมึนเหมือนเขา (เสือโค, บางฉบับเป็น ตระหมื้น), ตระมึน หรือ ตระมื่น ก็ใช้, โดยมากใช้ว่า ทะมื่น.
(คันลอง) น. ทาง, แนวทาง, แบบฉบับ.
ลอกข้อความหรือลวดลายออกมาจากต้นฉบับ เช่น เอาหนังสือนี้ไปคัด.
ก. ลอกข้อความเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ.
ชื่อตำราแบบเรียนหนังสือไทยโบราณ เช่น จินดามณีฉบับพระโหราธิบดีแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จินดามณีฉบับไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิทแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์.
น. ผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปฏิบัติงานให้แก่รัฐหรือในหน่วยงานของรัฐ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานองค์การมหาชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กฎหมายบางฉบับก็ขยายไปถึงสมาชิกสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติด้วย.
น. แบบดั้งเดิม, แบบที่มีมาแต่แรก, แบบที่ทำขึ้นไว้แต่แรก, สิ่งที่สร้างขึ้นเป็นแบบฉบับ ใช้เป็นต้นเค้าสำหรับสร้างสิ่งอื่นให้มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน.
น. ฉบับที่ร่างไว้เดิม.
สอบหนังสือให้ถูกต้องหรือให้ตรงกับต้นฉบับ, ทาน ก็ว่า.
ก. ติ, ทัก, เช่น โปรดแปลงเอาอย่าเตียน ข้อยข้าเขียนตามฉบับ (จินดามณี).
ก. ถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร.
ก. สอบหนังสือให้ถูกต้องหรือให้ตรงกับต้นฉบับ, ตรวจทาน ก็ว่า.
น. ธนบัตรที่ราคาต่ำกว่าฉบับราคาสูง เช่น ธนบัตรราคา ๕๐ บาท ๒๐ บาท เป็นธนบัตรย่อยของธนบัตรราคา ๑๐๐ บาท.
ก. ประพฤติไม่ตรงตามคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์, ประพฤติไม่ตรงตามแบบฉบับที่นิยมกันมา.
ก. พูดหรือทำนอกแบบฉบับ.
ว. ใช้ประกอบนามหรือข้อความที่กล่าวอ้างมาแล้ว เช่น ในจดหมายฉบับนั้น ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้น, ใช้ประกอบนามที่หมายถึงบุคคล หรือสิ่งที่อยู่ห่างออกไป เช่น คนนั้น สิ่งนั้น, ใช้ประกอบคำอื่นคู่กับคำ ใด แสดงความแน่นอน เช่น คนใด…คนนั้น เมื่อใด…เมื่อนั้น.
(ปะถมมะ-) ว. เริ่มแรก เช่น ฉบับปฐมฤกษ์.
ก. พิมพ์สำเนาโดยการฉายแสงผ่านต้นฉบับที่เป็นกระดาษบาง ๆ ลงบนกระดาษที่เคลือบสารเคมีซึ่งไวต่อแสง ให้ปรากฏเป็นลวดลายสีขาวบนพื้นสีนํ้าเงินหรือลวดลายสีนํ้าเงินบนพื้นขาว.
(พิดสะดาน) ว. กว้างขวาง, ละเอียดลออ (ใช้แก่เนื้อความ) เช่น ประวัติศาสตร์ฉบับพิสดาร มีความพิสดารดังนี้
น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก.
น. ชื่อคัมภีร์กฎหมายมนูธรรมศาสตร์ฉบับย่อ.
น. แบบที่จำลองให้มีรูปทรง ขนาด เล็กลงกว่าต้นแบบตามส่วนอย่างหุ่นจำลอง เช่น นี่เป็นย่อส่วนของแผนที่ฉบับนั้น.
เรียกธนบัตรที่ราคาน้อยกว่าฉบับที่มีราคามาก ว่า ธนบัตรย่อย หรือ แบงก์ย่อย.
(โยชะนา) น. ชื่อคัมภีร์บาลีประเภทหนึ่ง ซึ่งบอกสัมพันธ์ศัพท์บาลีว่า ศัพท์ไหนเข้ากับศัพท์ไหนในต้นฉบับนั้น ๆ เช่น โยชนาฎีกาสังคหะ.
หนังสือสำคัญและสมุดไทยที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้เป็นการส่วนพระองค์ เช่น กฎหมายตรา ๓ ดวงฉบับรองทรง.
น. แบบ, ฉบับ.
น. เรื่อง, ความ, ฉบับ, อย่าง.
ว. ที่ทำรูปโครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ฉบับร่าง ต้นร่าง ภาพร่าง โครงร่าง.
ก. เอาตัวพิมพ์มาเรียงตามต้นฉบับเพื่อตีพิมพ์.
(ละบอง) น. แบบ, ฉบับ.
เขียน คัด หรือจำลองออกมาจากต้นฉบับ ต้นแบบ เช่น ลอกหนังสือ ลอกลวดลาย ลอกแบบ, โดยปริยายหมายถึงอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลอกความคิด.
น. วันที่ระลึกเนื่องในวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม.
น. ศิษย์ที่ประพฤติไม่ตรงตามคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ประพฤติไม่ตรงตามแบบฉบับที่นิยมกันมา.
ก. ตรวจสอบหนังสือ ข้อความ หรือตัวเลข ให้ตรงกับต้นฉบับหรือถ้อยคำที่บอกเป็นต้น.
(สาระ-) น. ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร เช่น สารประโยชน์ของกฎหมายฉบับนี้ เกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของประชาชน, สารัตถประโยชน์ ก็ว่า.
น. ข้อความหรือภาพเป็นต้นที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ
ลักษณนามเรียกจำนวนแผ่นหรือชุดที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ.
ก. คัดหรือถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ เช่น ก่อนส่งใบเสร็จรับเงินไปให้ลูกค้า ควรสำเนาไว้ก่อน.
ว. ถัดไป เช่น อาทิตย์หน้า ฉบับหน้า
โดยปริยายหมายความว่า ไม่กระชับ, ไม่รัดกุม, เช่น สำนวนหลวมไป เหตุผลยังหลวมอยู่, ไม่รอบคอบ เช่น สัญญาฉบับนี้ทำไว้หลวมเกินไป.
น. ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้.
ว. อย่าง เช่น เป็นอันมาก เป็นอันดี, ใช้เป็นคำนำหน้านามที่เป็นประธานหรือใช้ขึ้นต้นข้อความต่าง ๆ เช่น อันอายุความนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ท่านให้มีกำหนดสิบปี. (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔ ฉบับเก่า), ใช้ว่า อันว่า ก็มี เช่น อันว่าทรัพย์นั้น โดยนิตินัยได้แก่วัตถุมีรูปร่าง. (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๘ ฉบับเก่า).
ว. ใช้เป็นคำนำหน้านามที่เป็นประธานหรือใช้ขึ้นต้นข้อความต่าง ๆ เช่น อันว่าทรัพย์นั้น โดยนิตินัยได้แก่วัตถุมีรูปร่าง. (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๘ ฉบับเก่า), ใช้ว่า อัน ก็มี เช่น อันอายุความนั้น ถ้าไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ท่านให้มีกำหนดสิบปี. (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔ ฉบับเก่า).
ก. ระบุที่มาเพื่อเป็นหลักฐาน, ยกมากล่าวเป็นหลัก, เช่น ในการให้ความหมายของคำ เขามักอ้างอิงพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ชั้นหินแบบฉบับเสริม[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
คล้ายแบบฉบับ[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
พินัยกรรมฉบับหลังสุด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ชั้นหินแบบฉบับเพิ่มเติม[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
แทนแบบฉบับ[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
๑. ปล่อย ๒. ฉบับที่[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. ปล่อย๒. ฉบับที่[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ตามต้นฉบับ[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
สำเนาชั่วคราว, ฉบับไม่พิมพ์, สำเนาอิเล็กทรอนิกส์[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พยานเอกสารที่ใช้แทนต้นฉบับ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ต้นฉบับ, ต้นทาง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รหัสต้นฉบับ, รหัสต้นทาง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รหัสต้นฉบับ, รหัสต้นทาง[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เอกสารต้นฉบับ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ภาษาต้นฉบับ, ภาษาต้นทาง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
โปรแกรมต้นฉบับ, โปรแกรมต้นทาง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ฉบับง่าย[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
ชั้นหินแบบฉบับ[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
เบี้ยประกันภัยรับสุทธิตามกรมธรรม์ฉบับต้น[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
เบี้ยประกันภัยรับสุทธิตามกรมธรรม์ฉบับต้นที่คงไว้[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ต้นฉบับของเอกสาร[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สลิปต้นฉบับ[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อกำหนดฉบับต้น[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
เงื่อนไขกรมธรรม์ฉบับต้น[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความคุ้มครองต้นฉบับ[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ส่วนลดตามกรมธรรม์ฉบับต้น[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
เบี้ยประกันภัยรวมตามกรมธรรม์ฉบับต้น[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ต้นฉบับ, ต้นกำเนิด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เอกสารที่เขียนเองทั้งฉบับ [ ดู holograph ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หรือตามกรมธรรม์ฉบับต้น[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ฉบับตัดย่อ[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
ตามกรมธรรม์ฉบับต้น[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ฉบับเคลือบแคลง[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
การรวมความในเอกสารหลายฉบับไว้ในบันทึกเดียวกัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เส้นเขตชั้นหินแบบฉบับ[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
๑. เอกสารตัวเขียน๒. ต้นฉบับ[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
ต้นฉบับ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การเขียนโปรแกรมแบบหลายฉบับ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
กฎหมายที่รวมเข้าเป็นฉบับเดียวกัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คู่ฉบับ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พินัยกรรมฉบับแก้ไขพินัยกรรมฉบับเดิม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ฉบับแท้[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
การวิเคราะห์เชิงแบบฉบับ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ตรรกศาสตร์แบบฉบับ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เซตแบบฉบับ [ มีความหมายเหมือนกับ crisp set ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ชั้นหินแบบฉบับรวม[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
พยานเอกสารที่ใช้แทนต้นฉบับ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ชื่อเรื่องแบบฉบับ[เทคโนโลยีการศึกษา]
ฉบับสมบูรณ์[เทคโนโลยีการศึกษา]
ฉบับล่วงเวลา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับล่วงเวลาExample:<p>คำว่าฉบับล่วงเวลา (Back issue) หมายถึง วารสารฉบับพิมพ์ในรูปแบบตัวเล่มที่เป็นฉบับเก่า ไม่ใช่ฉบับปัจจุบันที่สำนักพิมพ์ตีพิมพ์หรือผลิตออกมา <p>วารสารเป็นสิ่งพิมพ์ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนึ่ง ที่มีความสำคัญต่อการศึกษา ค้นคว้า และวิจัย ในการเป็นช่องทางเสนอ เผยแพร่ และติดตาม ข้อมูลผลงานวิจัยและวิชาการที่ทันสมัยและรวดเร็ว <p>การให้บริการวารสารในรูปแบบฉบับพิมพ์ โดยทั่วไป มี 2 รูปแบบ คือ วารสารฉบับใหม่ และ วารสารฉบับล่วงเวลา (ฉบับเก่า) <p>วารสารฉบับใหม่ ให้บริการในระบบชั้นเปิด จัดวางไว้ที่ชั้นวารสารใหม่ จัดเรียงตามลำดับตัวอักษร โดยแยกเป็นวารสารภาษาไทย และ วารสารภาษาอังกฤษ <p>วารสารฉบับล่วงเวลา ขึ้นอยู่ว่าเป็นวารสารฉบับเก่าแค่ไหน หากย้อนหลังไม่มาก ให้บริการที่ชั้นวารสารล่วงเวลา จัดเรียงตามลำดับตัวอักษร โดยแยกเป็นวารสารภาษาไทย และ วารสารภาษาอังกฤษ เช่นเดียวกัน หากฉบับเก่ามาก มักให้บริการในระบบชั้นปิด ผู้ใช้บริการที่ต้องการ ต้องติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อหยิบให้บริการ <p>วารสารฉบับล่วงเวลา อาจมีทั้งฉบับปลีก และเย็บเล่ม <p>ทั้งนี้ห้องสมุดส่วนใหญ่มีระเบียบกำหนดไว้ ไม่ให้บริการยืมวารสารออกนอกห้องสมุด โดยเฉพาะวารสารฉบับปัจจุบัน วัตถุประสงค์เพื่อให้หมุนเวียนกันใช้อย่างทั่วถึง แต่บางแห่งก็ให้บริการยืมออกได้ แต่ระยะเวลาการยืมจะสั้นกว่าสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ <p>อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันห้องสมุดส่วนใหญ่ได้บอกรับวารสารในรูปแบบออนไลน์หรืออิเล็กทรอนิกส์หรือฐานข้อมูล นอกเหนือจากวารสารฉบับพิมพ์มากขึ้น ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึง สืบค้นข้อมูล ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว อีกทั้งยังลดภาระห้องสมุดในการบริหารจัดการตัวเล่ม และประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลาเหล่านั้นด้วย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
พจนานุกรมฉบับสมบูรณ์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับสมบูรณ์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
พจนานุกรมฉบับรวบรัด, พจนานุกรมฉบับย่อ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับดัดแปลง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
งานที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง, หนังสือแบบฉบับที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
พจนานุกรมฉบับย่อ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับแก้ไข[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับขยายตัวพิมพ์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับตัดทอน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ต้นฉบับลายมือ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับรวมนิพนธ์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับห้องสมุด[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ต้นฉบับตัวเขียนExample:Manuscript หมายถึง (1) ต้นฉบับตัวเขียน คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือที่จัดทำในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นหิน แผ่นดินเหนียว แผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นหนัง ใบลาน กระดาษ เป็นต้น ตัวอย่างของต้นฉบับตัวเขียน ได้แก่ ศิลาจารึก สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) ต้นฉบับตัวเขียนมีความสำคัญในการใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการและเป็นแหล่งสารสนเทศทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม ของประเทศและชุมชนต่าง ๆ ในอดีต (2) ต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือ ก่อนที่จะนำไปพิมพ์เผยแพร่ อาจอยู่ในรูปของต้นฉบับตัวเขียนที่เขียนด้วยลายมือของผู้แต่งเอง หรือเป็นต้นฉบับพิมพ์ดีดก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับพิมพ์ครั้งใหม่[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
พ็อกเกตบุ๊ก, หนังสือฉบับกระเป๋าExample:เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยใช้เรื่องราวสมมติ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความ เพลิดเพลิน สนุกสนาน มักมีขนาดเล็ก (5x7 นิ้ว) เช่นหนังสือนวนิยาย หนังสือคู่มือ เรียกว่า หนังสือฉบับกระเป๋า หรือ Pocket Book ได้[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
พจนานุกรมฉบับกระเป๋า[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับพิมพ์ซ้ำ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับแก้ไข[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
พจนานุกรมฉบับนักเรียน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ชื่อเรื่องแบบฉบับ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ฉบับเพิ่มเติม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ระบุว่าเป็นคำนาม หมายถึง ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่พระสงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด[ศัพท์พระราชพิธี]
การทำบัตรรายการต้นฉบับตัวเขียน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
กัมมันตภาพ, <em>การสลาย</em>ของ<em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ต่อหน่วยเวลา ปัจจุบันหน่วยที่ใช้ คือ <em>เบ็กเคอเรล</em> คำนี้ตามรายงานฉบับที่ 33 ของคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านหน่วยและการวัดรังสี (International Commission on Radiation Units and Measurement: ICRU No. 33) ให้ความหมายว่า เป็นจำนวนของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในขณะใดขณะหนึ่งที่สลายเปลี่ยนแปลงไปต่อวินาที (ดู Becquerel, Bq และ Curie, Ci ประกอบ)[นิวเคลียร์]
ฉบับที่Example:ตัวเลขที่อยู่ทางขวาของเครื่องหมายจุดทศนิยมในหมายเลขโปรแกรม เมื่อบริษัทซอฟต์แวร์แก้ไขปรับปรุงซอฟแวร์ชุดหนึ่งอย่างขนาดใหญ่แล้ว ก็จะนำซอฟต์แวร์นั้นออกจำหน่ายเป็นรุ่นใหม่ (new version) หมายเลขรุ่นนี้จะอยู่ทางซ้ายมือของเครื่องหมายจุดทศนิยม ต่อมาเมื่อบริษัทซอฟต์แวร์ไปบ้างเล็กน้อย หรือแก้ไขซอฟต์แวร์ให้ถูกต้องมากขึ้น บริษัทอาจจะยังคงเรียกซอฟต์แวร์ใหม่เป็นรุ่นเดิมอยู่ แต่จะเปลี่ยนหมายเลขแสดงฉบับที่ไป[คอมพิวเตอร์]
รหัสต้นฉบับExample:คำสั่งและโปรแกรมที่เขียนขึ้นเป็นภาษาระดับสูงเพื่อแปลเป็นภาษาเครื่องสำหรับใช้งาน[คอมพิวเตอร์]
การวิเคราะห์ต้นฉบับ[TU Subject Heading]
ฉบับพิมพ์จำกัดจำนวน[TU Subject Heading]
ต้นฉบับตัวเขียน[TU Subject Heading]
ฉบับถอดความ[TU Subject Heading]
ฉบับละเมิดลิขสิทธิ์[TU Subject Heading]
การแปล, ใช้เป็นหัวเรื่องย่อยตามหลังชื่อเรื่องแบบฉบับของงานเขียนอันศักดิ์สิทธิ์ ชื่อเฉพาะของภาษา กลุ่มภาษาและหัวเรื่องตามเนื้อหา[TU Subject Heading]
ประชาคมอาเซียน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 เมื่อเดือนตุลาคม 2547 เกาะบาหลี ได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 เห็นชอบให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในสามด้านหลักภายในปี พ.ศ. 2563 ได้แก่ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน[การทูต]
กรอบความร่วมมือสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว และจีน (มณฑลยูนนาน) ที่มา : หนังสือคำศัพท์-คำย่อทางการทูต สถาบันการต่างประเทศ กต. (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2)[การทูต]
ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียนฉบับที่ 2 ผู้นำประเทศสมาชิก อาเซียนได้ลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่เกาะบาหลี เมื่อเดือนตุลาคม 2547 กำหนดที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายใน พ.ศ. 2563[การทูต]
Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ[การทูต]
การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
แผนปฏิบัติการฮานอย เป็นแผนงานระยะ 6 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2542-2547 ซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 2 ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 ได้ให้ความเห็นชอบเพื่อใช้เป็นแผนงานฉบับแรกของอาเซียนสำหรับการสร้างเสริม ความร่วมมือของอาเซียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะนำไปสู่วิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563[การทูต]
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540[การทูต]
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม " เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2542 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 "[การทูต]
คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล[การทูต]
การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946[การทูต]
แผนปฏิบัติการมาดากัสการ์ เป็นแผนพัฒนาประเทศมาดากัสการ์ที่เป็นรูปธรรมฉบับแรก นับตั้งแต่มาดากัสการ์ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2503 รัฐบาลมาดากัสการ์ ได้รับงบประมาณที่ใช้ดำเนินการ (ประมาณ 9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) มาจากแหล่งเงินทุนจากต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ เป้าหมายหลักของ MAP ได้แก่ การพัฒนาระบบคมนาคม การพัฒนาชนบท การปรับปรุงระบบสาธารณสุข และการส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนาเศรษฐกิจ[การทูต]
หมายถึง สนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งในบรรยากาศ ในอวกาศ และใต้น้ำ สนธิสัญญาฉบับนี้ได้มีผลบังคับเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ประเทศที่ลงนามเริ่มแรกในสนธิสัญญาได้แก่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา รวมสามประเทศจุดมุ่งหมายสำคัญของสนธิสัญญาคือ รัฐบาลของประเทศทั้งสาม ต้องการให้มีการทำความตกลงกันเป็นผลสำเร็จเกี่ยวกับการลดอาวุธ หรือปลดกำลังอาวุธทั้งหมดโดยสิ้นเชิง ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด ตามความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งต้องการให้ยุติหรือเลิกการแข่งขันกันสะสมอาวุธ และกำจัดมิให้มีเหตุจูงใจที่จะผลิตและทดสอบอาวุธไม่ว่าชนิดใดทั้งหมด รวมทั้งอาวุธนิวเคลียร์ด้วย นอกจากนี้ ยังเสาะแสวงหาที่จะให้หยุดการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ไปตลอดชั่วกาลนานสนธิ สัญญานี้มีข้อความอยู่ 5 มาตรา และไม่จำกัดอายุเวลา ทั้งยังเปิดโอกาสให้ประเทศอื่น ๆ ทั้งหลายเข้าร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ในทางตรงกันข้าม ประเทศภาคีก็มีสิทธิใช้อธิปไตยแห่งชาติได้เพื่อถอนตัวจากสนธิสัญญา ถ้าหากประเทศนั้น ๆ เห็นว่า ประโยชน์อันสูงสุดของประเทศตนต้องตกอยู่ในอันตราย และแจ้งล่วงหน้าสามเดือนให้ประเทศภาคีอื่น ๆ ทั้งหมดทราบการตกลงใจนั้น[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
นี่มันไม่ใช่รายงานฉบับจริงBasic Instinct (1992)
"แกมีทุกอย่าง แต่ฉันไม่มี" ส่งมาอีกฉบับแล้วThe Bodyguard (1992)
แปลว่าอะไรอีกฉบับThe Bodyguard (1992)
นุ๊ค มาสเตอร์ ฉบับพิเศษThe Lawnmower Man (1992)
ฉบับที่แท็กซี่ได้ โตโยต้า CorollaIn the Name of the Father (1993)
- ฉบับที่หยุดมันIn the Name of the Father (1993)
นาง Peirce, ฉันพยายาม เพื่ออ่านเอกสารฉบับนี้In the Name of the Father (1993)
- ป้าพยายามเขียนจดหมายอีกฉบับ... บอกพวกเขาว่า "ช่างน่าเศร้า สายเกินไปแล้ว แม่เสียแล้ว ตายแล้ว"The Joy Luck Club (1993)
- ป้าลินโด ป้าต้องเขียนจดหมายอีกฉบับนะคะThe Joy Luck Club (1993)
เราอยู่ใน lnglewood? ฉบับที่Pulp Fiction (1994)
RED: ดังนั้นแอนดี้เริ่มเขียนจดหมายฉบับหนึ่งสัปดาห์ เช่นเดียวกับที่เขากล่าวว่าThe Shawshank Redemption (1994)
จากนี้ไปฉันจะเขียนจดหมายสองฉบับต่อสัปดาห์แทนหนึ่งThe Shawshank Redemption (1994)
เขาเขียนจดหมายสองฉบับสัปดาห์แทนหนึ่งThe Shawshank Redemption (1994)
ผมจะหวังว่าจดหมายฉบับนี้หาคุณ และพบว่าคุณดีThe Shawshank Redemption (1994)
เคนส่งต้นฉบับมาให้เขา มันเป็นตอนต่างๆ ของหนังสือเล่มใหม่ ราวสองอาทิตย์ก่อนIn the Mouth of Madness (1994)
เอาต้นฉบับกลับไปยังโลกแทนฉันด้วย นั่นแหละสิ่งที่แกต้องทำIn the Mouth of Madness (1994)
นั่นคือเหตุผลที่ผมทำลายต้นฉบับทิ้งซะIn the Mouth of Madness (1994)
คุณนำต้นฉบับนั่นมาส่งให้ผมเมื่อเดือนก่อนIn the Mouth of Madness (1994)
เธอถึงวิเศษสุดในแบบฉบับ สัตว์ร้ายในป่าHeat (1995)
ล่าม เป็นล่ามส่วนตัวของ เฮนเคิล ได้อ่านจากต้นฉบับดั่งเดิมThe Great Dictator (1940)
ให้มือของคุณขึ้น ตามแบบฉบับ ฉันจะได้รับมันออกHelp! (1965)
ฉบับต่อไปของญาติ, คิดว่าพวก เขาHow I Won the War (1967)
ฉบับวันนั้นมีมากกว่าHow I Won the War (1967)
คุณสามารถผ่านสำหรับต้นฉบับYellow Submarine (1968)
เราคือต้นฉบับYellow Submarine (1968)
มีอีกหนึ่งฉบับครับBlazing Saddles (1974)
เขาทิ้งไว้ 1 ฉบับในปากหมาด้วยOh, God! (1977)
นักบวชอังกฤษคนนั้นส่ง โทรเลขหลายฉบับเมื่อบ่ายวานนี้Gandhi (1982)
ได้ยินว่าฉบับหนึ่ง ส่งถึงท่านไวซ์รอยด้วยGandhi (1982)
จดหมายฉบับนี้ทำให้เป็นเรื่องธรรมดา คุณยายรักหลานชาย Krcun มากแค่ไหนIdemo dalje (1982)
We hope you enjoy Return of Condor Heroes '06 as much as we did. _ อ้างอิงชื่อตัวละครจากหนังสือฉบับปรับปรุงล่าสุดReturn of the Condor Heroes (1983)
ดังนั้นเขาจึงรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ต้นฉบับ กว่าใคร2010: The Year We Make Contact (1984)
คุณเห็นไฟใด ๆ ฉบับที่ไม่มีไฟ2010: The Year We Make Contact (1984)
ดี ... นี้เป็นชิ้นส่วนของต้นฉบับเก่าIndiana Jones and the Temple of Doom (1984)
และยังมีฟิลม์ต้นฉบับของหนังที่คุณชอบDay of the Dead (1985)
คุณริชาร์ดบอกฉันแล้วว่าให้คอยจับตาดูนายไว้ แต่... ฉันว่าฉันจะจัดการนายตามแบบฉบับของฉัน ให้สะใจดีกว่า..Mannequin (1987)
ท่านเขียนจดหมาย 4 ฉบับThe Princess Bride (1987)
หลังจากจดหมายฉบับสุดท้าย เขาตกลงจากหน้าผา1999 - Nen no natsu yasumi (1988)
ผมไม่คิดว่าพวกเขาจะอ่านจดหมายฉบับนี้1999 - Nen no natsu yasumi (1988)
มันคือจดหมายฉบับสุดท้ายของผม1999 - Nen no natsu yasumi (1988)
แล้วถ้าด้วยการแลกเปลี่ยน นายอ่านจดหมายฉบับนี้ นายจะให้อภัยผมมั้ย?1999 - Nen no natsu yasumi (1988)
ทํารายงานขี้นมาฉบับ -เขียนให้ดูเป็นไปได้หน่อยBig (1988)
กรอกข้อความ 3ฉบับBig (1988)
คนต่อไปค่ะ กรอกข้อความ 3 ฉบับBig (1988)
ฉันไม่ได้จดหมายซักฉบับ เอกสารก็ไม่ได้จดเข้าแฟ้มBig (1988)
นิตยสารเจ็ตฉบับ เดือนเมษายน ปี 1962 มีเรื่องของเขา "นี่ไม่ใช่กระบอกเสียง"Field of Dreams (1989)
"จดหมายชาวอียิปต์," ฉบับเช้า.Indiana Jones and the Last Crusade (1989)
ผมมีต้นฉบับที่สำคัญสำหรับเขา มันเป็นเพราะนายแบลร์ เพียง แต่นายแบลร์The Russia House (1990)
คุณไม่สามารถคิดว่าเหตุผลที่ว่าทำไมการแก้ไขหนังสือที่เรียกว่าคัทย่า Orlova ใด ๆ ควรจะเสี่ยงคอของเธอที่จะส่งต้นฉบับหรือไม่The Russia House (1990)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[baēpchabap] (n) EN: model ; pattern ; example ; archetype ; ideal ; paradigm ; standard ; prototype ; paragon  FR: modèle [ m ] ; standard [ m ]
[chabap] (n) EN: model ; edition ; issue ; version ; copy ; transcript ; duplicate  FR: modèle [ m ] ; exemplaire [ m ] ; copie [ f ] ; édition [ f ] ; numéro [ m ] ; version [ f ] ; volume [ m ]
[chabap] (n) EN: [ classifier : newspapers ; letters ; manuscripts ; documents ; periodicals ]  FR: [ classificateur : journaux ; lettres ; documents manuscrits ]
[chabap hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition
[chabap khūmeū] (n, exp) EN: handy edition
[chabap krapao] (n, exp) EN: pocket edition ; pocket book  FR: édition de poche [ f ] ; livre de poche [ m ]
[chabap phim khrang raēk] (n, exp) EN: first edition  FR: première édition [ f ]
[chabap phitsadān] (n, exp) EN: unabridged édition ; enlarged edition  FR: édition complète [ f ]
[chabap prajam hǿngsamut] (n, exp) EN: library edition
[chabap prajam krapao] (n, exp) EN: pocket edition  FR: édition de poche [ f ]
[chabap prajam to] (n, exp) EN: desk edition
[chabap prapprung kaēkhai] (n, exp) EN: revised edition
[chabap rāng] (n, exp) EN: draft ; early version ; preliminary outline  FR: ébauche [ f ] ; brouillon [ m ]
[chabap rāng] (adj) EN: draft ; draught
[chabap rūam lem] (n, exp) EN: collection ; anthology  FR: collection [ f ]
[chabap sarup yø] (n, exp) EN: summary
[chabap sombūn] (n, exp) FR: édition complète [ f ]
[chabap thī ...] (x) EN: number ... ; issue ... (+ number)  FR: numéro ... (+ nb) ; édition ... (+ nb)
[chabap yø] (n, exp) EN: abridged edition  FR: édition abrégée [ f ]
[khūchabap] (v) EN: duplicate
[nittayasān chabap thī ...] (n, exp) FR: magazine numéro ... [ m ] ; revue numéro ... [ f ] ; périodique numéro ... [ m ]
[phāsā tonchabap] (n, exp) EN: source language
[Photjanānukrom Chabap Rātchabandittayasathān] (n, prop) EN: Royal Institute Dictionary (RID)  FR: Dictionnaire de l'Institut Royal [ m ]
[photjanānukrom chabap yø] (n, exp) EN: concise dictionary
[tonchabap] (n) EN: original ; manuscript ; master copy  FR: original [ m ] ; manuscrit [ m ] ; script [ m ] (anglic.) ; copie conforme [ f ]
[tonchabap banchī rākhā sinkhā] (n, exp) EN: original invoice
Longdo Approved EN-TH
(n)วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)เงินตราเข้ารหัสลับ, คริปโทเคอร์เรนซี, สินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นสื่อกลางในการทำธุรกรรม ซึ่งใช้วิทยาการเข้ารหัสลับสำหรับรับประกันความถูกต้องของธุรกรรมนั้น เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินดิจิทัลเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนสินทรัพย์ เป็นเงินดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลางผ่านบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)บล็อกเชน, วิธีการเก็บข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงตามหลักการทางบัญชี โดยการเข้ารหัสและจัดเรียงข้อมูลเหล่านี้ต่อกันตามลำดับเวลาที่ข้อมูลเข้ามา กลุ่มข้อมูลดังกล่าวจะเผยแพร่ไปให้ผู้ใช้ในเครือข่ายที่กำหนดได้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ ผู้ใช้ทุกคนจะทราบการแก้ไขเพิ่มเติมรายการเปลี่ยนแปลงในบล็อกเชนทุกรายการตลอดเวลา [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)บิตคอยน์, ชื่อสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งซึ่งใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)อวทาร์, รูปแทนตัวผู้ใช้ในโลกเสมือนหรือเกม ซึ่งอาจเป็นสองมิติหรือสามมิติก็ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)ความเป็นจริงเสริม (เออาร์), สภาวะจริงที่แต่งเติมขึ้นด้วยเทคโนโลยี เช่น ผู้ใช้กำลังดูรถยนต์อยู่และต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับรถยนต์ ก็อาจจะใช้แว่นตาชนิดพิเศษซึ่งสามารถแสดงข้อมูลรถยนต์ซ้อนลงบนภาพรถยนต์ที่กำลังมองอยู่ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)[ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)การระรานทางไซเบอร์, การกลั่นแกล้ง การให้ร้าย การด่าว่า การข่มเหง หรือการรังแกผู้อื่นทางสื่อสังคมต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ฉบับย่อ
(n)ฉบับย่อ
(vt)ปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม)
(vi)ปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม)
(n)การปรับแต่งบทเพลงใหม่ (ให้ต่างจากต้นฉบับเดิม)
(n)หนังสือพิมพ์/นิตยสารที่เคยตีพิมพแล้วแต่ยังมีค่าอยู่See Also:สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารฉบับที่ออกไปแล้วSyn.back issue
(vt)ทำให้เป็นธรรมเนียมSee Also:ทำให้เป็นแบบฉบับSyn.conventionalize
(vt)ทำให้เป็นธรรมเนียมSee Also:ทำให้เป็นแบบฉบับSyn.conventionalise
(vt)แก้ไขต้นฉบับSee Also:ปรับปรุงต้นฉบับSyn.copyread, subedit
(n)ผู้ที่ทำงานคัดลอกจากต้นฉบับ
(vt)แก้ไขต้นฉบับSee Also:ปรับปรุงต้นฉบับSyn.copy-edit, subedit
(n)ฉบับตัดต่อ (ภาพยนตร์)
(n)เอกสารฉบับร่างSee Also:ฉบับร่าง, ร่างจดหมาย, แผนร่าง
(vt)ส่งต้นฉบับไปที่สำนักพิมพ์See Also:ส่งต้นฉบับไปที่สำนักข่าว
(n)ฉบับSee Also:ชุด, จำนวนSyn.edition, copy, number
(n)การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย
(vi)ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่งSee Also:วิ่งเต้นSyn.solicit, beg
(vt)ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่งSee Also:วิ่งเต้น
(n)ต้นฉบับที่เขียนหรือพิมพ์See Also:ต้นสำเนาSyn.copy, original
(n)ต้นฉบับSyn.original, file, copy
(adj)ซึ่งเป็นแบบฉบับSee Also:ซึ่งเป็นต้นฉบับ, ที่เป็นอันแรกSyn.primary, first
(vt)ทำให้เป็นสำเนาสี่ฉบับ
(vt)ทำสำเนา 5 ฉบับSee Also:ผลิตให้เป็น 5 ชิ้น
(n)เรื่องราวที่เขียนใหม่See Also:ฉบับปรับปรุงแก้ไขSyn.reivision
(n)ต้นร่างSee Also:ฉบับร่างSyn.draft, outline
(n)ผู้จดต้นฉบับSee Also:อาลักษณ์
(n)เกี่ยวกับต้นฉบับหรือถ้อยคำเดิมSee Also:ที่เกี่ยวกับข้อความSyn.verbal, scriptural
(n)เล่มหรือฉบับ
(vt)ทำสำเนาสามฉบับ
(adv)อย่างเป็นแบบฉบับSyn.essentially, regularly
(n)ฉบับSee Also:ชุด, เวอร์ชั่นSyn.issue
(adj)เกี่ยวกับฉบับหรือชุดSee Also:เกี่ยวกับเรื่องราว
Hope Dictionary
(แอดแดพเท' เชิน) n. การปรับตัว, การปรับให้เหมาะ, สิ่งที่ได้จากการปรับให้เหมาะ, ภาวะที่เหมาะสม, ฉบับแก้ไขปรับปรุง, สิ่งที่แก้ไขปรับปรุง, การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม, การปรับตัวของรูม่านตาSyn.version, adjustmentAnt.rigid
(ออ'โทกราฟ) n. ลายเซ็นของตัวเอง (เพื่อเก็บไว้เป็นอนุสรณ์) , สิ่งที่เขียนด้วยมือตัวเอง, ต้นฉบับ. -adj. เขียนด้วยมือตัวเอง. -vt. เซ็นชื่อตัวเองบน, เขียนด้วยมือของตัวเอง. -autographic (al) adj. -autography n.
(ไบพาร์'ไททฺ) adj. ประกอบด้วย หรือแบ่งออกเป็นสองส่วน, แบบเดียวกัน 2 ฉบับ
n. หนังสือพิมพ์ฉบับตอนเช้า
(แคน'นะไนซ) { canonized, canonised, canonizeingcanonising, canonizes, canonises } vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) , ยกย่องว่าประเสริฐ, ถือว่าศักดิ์สิทธิ์, ถือว่าถูกต้องแท้จริง, จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล.See Also:canonisation n. ดูcanoniz
(แคน'นะไนซ) { canonized, canonised, canonizeingcanonising, canonizes, canonises } vt. ประกาศให้เป็นนักบุญ (saint) , ยกย่องว่าประเสริฐ, ถือว่าศักดิ์สิทธิ์, ถือว่าถูกต้องแท้จริง, จัดอยู่ในบทหนังสือฉบับแท้ของพระคัมภีร์ไบเบิล.See Also:canonisation n. ดูcanoniz
(แคลส'ซิเคิล) adj. เกี่ยวกับแบบกรีกและโรมันโบราณ, ชั้นหนึ่ง, ดีเด่น, เป็นแนวหน้า, เกี่ยวกับวรรณคดีสมัยคลาสซิค, ชื่อเสียงโด่งดัง, เป็นมรดกตกทอดแต่โบราณ, เป็นแบบฉบับที่เชื่อถือได้See Also:classicality, classicalness n. -Conf. classic
(คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น
(คอพ'พี) n. สำเนา, ฉบับสำเนา, 1เล่ม, 1ฉบับ, 1ชุด, เล่มตัวอย่าง vt., vi. คัดลอก, ลอกแบบ, เลียนแบบ, เอาอย่าง, อัดสำเนาSyn.reproduce, imitateAnt.prototype -Conf. facsimile
(คอพ'พีโฮลดฺ) n. กรรมสิทธิ์ที่ดินโดยมีหนังสือกรรมสิทธิ์ที่คัดลอกจากต้นฉบับของศาลที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อื่น, กรรมสิทธิ์ที่ดินฉบับคัดลอก
(คอพ'พีโฮลเดอะ) n. ผู้มีกรรมสิทธิ์ที่ดินฉบับคัดลอก, เครื่องยึดหนังสือ ผู้ช่วยคนตรวจปรุ๊ฟ
(คอพ'พีไรเทอะ) n. คนเขียนต้นฉบับ
(ดีริฟ'วะทิฟว) adj., n. (สิ่งที่, คำ) ซึ่งได้มาจากที่อื่น, เป็นอนุพันธุ์, ซึ่งแตกกิ่งสาขามา, ไม่ใช่ต้นฉบับ, อนุพันธุ์Syn.derived
การจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใช้ตัวย่อว่า DTP (อ่านว่า ดีทีพี) หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
(ดราฟทฺ) { drafted, drafting, drafts } n. ต้นร่าง, ฉบับร่าง, การร่าง, การวาด, การสเก็ตช์ภาพ, กระแสลมในห้องหรือช่องว่าง, เครื่องเป่าลม, เครื่องควบคุมกระแสลม, การเกณฑ์ทหาร, การลากหรือดึงของ, สิ่งที่ถูกลากหรือดึง, สัตว์ที่ใช้ลากของ, แรงลากหรือแรงดึง, ตั๋วแลกเงิน, การเอาออก, กา
(ดราฟทฺ) n. การลาก, การดึง, การถอน, การดื่ม, การสูบ, การสูด, ปริมาณของเหลวที่ดื่มหนึ่งครั้ง, ปริมาณยาที่ใช้ต่อครั้ง, จำนวนปลาที่จับได้, กระแสลม, หมากรุกยุโรป (ส่วน'checkers'เป็นหมากรุกอเมริกา) , ต้นร่าง, ฉบับร่าง, ตั๋วแลกเงิน, การเกณฑ์ทหาร. vt. ร่าง, ยกร่าง, ออกแบบ, เกณฑ์ท
(ดีทีพี) ย่อมาจาก desktop publishing ซึ่งแปลว่า การจัดพิมพ์ (หรือการจัดเตรียมต้นแบบของเอกสารสิ่งพิมพ์) ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
(ดิว'พละเคท) n. จำลอง, สำเนา, ฉบับเทียบ, โรเนียวฉบับคู่, ฉบับก๊อบปี้, สิ่งที่เหมือนกันทุกอย่าง. -Phr. ((n duplicate เป็นสำเนา 2 ใบ, เป็นคู่, เป็นครั้งละ2ฉบับ) . vi. ทำสำเนา, ถ่ายสำเนา, โรเนียว, อัดสำเนา, จำลอง, ทำซ้ำ. -adj. คู่, สองเท่า, เหมือนกันทุกอย่าง. คำศัพท์ย่
(อิดิช, 'เชิน) n. ฉบับพิมพ์, ฉบับพิมพ์ครั้งที่, การพิมพ์, สิ่งที่คล้ายกันมาก, คนที่คล้ายกันมาก, การเป็นบรรณาธิการ
(อิคซฺโพ'เนินทฺ) n. ผู้อธิบาย, ผู้ชี้แจง, สิ่งที่อธิบาย, ตัวแทน, แบบฉบับ, สัญลักษณ์, ผู้สนับสนุน, เลขกำลังที่อยู่เหนือสัญลักษณ์Syn.spokeswoman
(กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา
(ฮามูรา'บี) n. ชื่อกษัตริย์องค์หนึ่งของบาบิโลเนีย เป็นผู้ตราประมวลกฎหมายฉบับแรกของโลก
(ฮามูรา'บี) n. ชื่อกษัตริย์องค์หนึ่งของบาบิโลเนีย เป็นผู้ตราประมวลกฎหมายฉบับแรกของโลก
(แฮนฺด'ไรทิง) n. ลายมือ, สิ่งที่เขียนด้วยมือ, ต้นฉบับที่เขียนด้วยมือ
(อิช'ชิว) n. การปล่อยออกมา, การออกคำสั่ง, การตีพิมพ์ออกมา, สิ่งที่ปล่อยออก, สิ่งตีพิมพ์, จำนวนหรือปริมาณที่ปล่อยออกมาแต่ละครั้ง, ฉบับ, ชุด, คราว, ปัญหา, ผลที่เกิดขึ้น, บุตร, ทายาท, ทางออก, ผลผลิต, ผลกำไร. -Phr. (at issue ที่กำลังเป็นปัญหา ที่กำลังถกเถียงกัน) vt., vi. ไหล
(ลอบ'บี) { lobbied, lobbying, lobbies } n. ห้องพักแขก, ระเบียง, ห้องพักผ่อนของสภา, ห้องรับรอง, กลุ่มคนผู้รณรงค์หาเสียงสนับสนุนเกี่ยวกับนิติบัญญัติ. vt., vi. พยายามวิ่งเต้นให้สมาชิกนิติบัญญัติสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งSee Also:lobbyer n. ดูlobb
(แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่, รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ
การผสานจ่าหน้า (จดหมาย) หมายถึง กระบวนการในการนำชื่อและที่อยู่ของผู้รับซึ่งเก็บรวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูลไว้ มาผนวกกับจดหมายที่ทำเป็นต้นแบบ จดหมายแต่ละฉบับที่สั่งพิมพ์ออกมา ก็จะมีชื่อผู้รับแต่ละคน จากรายชื่อที่เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลรายชื่อนั้น ใช้ในการทำจดหมายเวียน โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) เกือบทุกโปรแกรมจะต้องมีคำสั่งให้ทำงานประเภทนี้ได้
(แมน'นิวสคริพทฺ) n., adj. ต้นฉบับ, หนังสือเอกสาร จดหมายหรืออื่น ๆ ที่เขียนด้วยมือ, การเขียนด้วยมือ, ซึ่งเขียนด้วยมือ
ภาษาจุดหมายหมายถึง ชุดคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามได้ทันที่ถ้าผ่านการเชื่อมโยง (link) โดยปกติ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาระดับสูง (high level language) หรือที่เรียกว่าภาษาต้นฉบับ (source language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจและจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องหรือภาษาจุดหมายก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้
โปรแกรมจุดหมายโปรแกรมภาษาเครื่องหมายถึงโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว การแปลนี้จะใช้ตัวแปลที่เรียกว่า compiler ทั้งนี้ เพราะการเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเครื่องนั้นยากเกินความสามารถของมนุษย์ธรรมดา เราจึงเขียนกันด้วยภาษาที่เรียกว่าภาษาเชิงมนุษย์ (human-oriented language) ซึ่งง่ายกว่า แล้วเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า "โปรแกรมต้นฉบับ" (source program) เมื่อตัวแปลทำการแปลโปรแกรมต้นฉบับนี้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามได้ดู compiler, ประกอบดู source program เปรียบเทียบ
n. พระคัมภีร์ไบเบิลฉบับเก่าหรือเล่มต้นของคริสต์ศาสนา
(อะริจ'จิเนิล) adj., n. แรกเริ่ม, ต้นตอ, ต้นฉบับ, เดิม, ซึ่งมีมาแต่เดิม, เป็นราก, เป็นฐาน, ใหม่, สด, เป็นครั้งแรก, เป็นของแท้ , มูลเหตุ, รากฐาน
n. หนังสือฉบับกระเป๋า
(โพรเจน'นิเทอะ) n. บรรพบุรุษ, ต้นตระกูล, ปฐมาจารย์, รากเง่า, ต้นฉบับSyn.forefather
(โควดรู'พละคิท) n., v. (ทำ) สำเนา4 ฉบับ, 4คน (อัน, ชิ้น...) , คุณด้วย4See Also:quadruplication n.Syn.make fourfold
(รีเซน'เชิน) n. ฉบับปรับปรุงใหม่, การปรับปรุงใหม่, การแก้ไขเพิ่มเติม
n. ฉบับแก้ไขปรับปรุง
(รีวิส'เชิน) n. การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงแก้ไข, กระบวนการปรับปรุงแก้ไข, การชำระใหม่See Also:revisional, adj. revisionary adj.Syn.redaction, updating
ประวัติการปรับปรุงโปรแกรมหมายถึง ประวัติการปรับปรุงโปรแกรมแต่ละรุ่นตามลำดับ เช่น ประวัติการปรับปรุงโปรแกรม Adobe Illustrator จากฉบับ 1.0 ถึงฉบับ 3.2 ว่า ฉบับใดปรับปรุงในเรื่องใดบ้าง อย่างนี้เป็นต้น
(รีไว'ซะรี) adj. เกี่ยวกับ (การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงแก้ไข, กระบวนการปรับปรุงแก้ไข, การชำระใหม่)
(สโคพ) n. ทัพพี, กระบวย, กระชอน, ถังตัก, พลั่วตัก, ปริมาณดังกล่าว, โพรง, การตักด้วยทัพพี (กระบวย...) , การฉวยโอกาส, การแทง, ข่าวตีพิมพ์ที่ออกก่อนฉบับอื่น, ทำให้เป็นโพรง, ตีพิมพ์ข่าวก่อน vi. ใช้ทัพพ' (กระบวย) ตักSyn.trowel, shovel, ladle, spoon
(สคริพทฺ) n. ลายมือ, แบบตัวเขียน, เอกสารต้นฉบับ, ฉบับเขียน, ต้นร่าง, ระบบการเขียน, vt. เขียนต้นร่าง, เขียน, ร่าง.See Also:scripter n.Syn.handwriting
(โซล) n. วิญญาณ, จิตวิญญาณ, พลังจิต, มนุษย์, บุคคล, ส่วนที่สำคัญ, แก่นสาร, แบบฉบับ, Soul พระผู้เป็นเจ้า. adj. เกี่ยวกับนิโกร, เป็นลักษณะของนิโกร, คุ้นเคยกับนิโกร, เห็นอกเห็นใจนิโกรSyn.spirit, basis, essence, person
รหัสต้นฉบับรหัสต้นทางหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เป็นตัวต้นฉบับของโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง พูดง่าย ๆ ก็คือเป็นโปรแกรมที่เครื่องแปลเป็นภาษาเครื่อง (machine language) เรียบร้อยแล้ว
ภาษาเป้าหมายหมายถึง ภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และปฏิบัติตามได้ทันที โดยปกติในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาต้นฉบับ (source language) หรือภาษาระดับสูง (high level language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ และจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ ภาษาเป้าหมายก็คือภาษาเครื่องนั่นเองมีความหมายเหมือน object language หรือ machine languageดู source language เปรียบเทียบ
(เทน'เนอะ) n. แนวโน้ม, วิถีทางชีวิต, เสียงร้องระดับสูงสุดของผู้ชาย ที่เป็นผู้ใหญ่, ฉบับคัดลอกที่ถูกต้อง. adj. เกี่ยวกับเสียงร้องดังกล่าว
(เทคซฺทฺ) n. ต้นฉบับเดิม, ข้อความเดิม, แม่บทเดิม, ใจความ, แบบฉบับการเขียน, เนื้อเพลง, ตำรา, แบบเรียน, หนังสือเรียน, ข้อความสั้น ๆ ในพระคัมภีร์ไบเบิล, อักษรในพระคัมภีร์ไบเบิล, หัวข้อสำคัญ, ตัวพิมพ์.Syn.textbook
(เทคซฺ'ชวล) adj. เกี่ยวกับต้นฉบับหรือถ้อยคำเดิม, เกี่ยวกับใจความ, เกี่ยวกับข้อความในพระคัมภีร์ไบเบิลSyn.literal
(แทรสซฺ'คริพทฺ) n. สำเนา, บันทึก, ฉบับคัดลอก, ฉบับสำเนา, จานเสียง, หนังสือรับรองผลการศึกษา, แผ่นโลหะบันทึกเสียง
Nontri Dictionary
(n)ลายเซ็น, ลายมือ, ต้นฉบับ
(n)ฉบับคัดลอก, ต้นฉบับ, สำเนา, การลอกเลียนแบบ, การก๊อบปี้
(n)คนเขียนต้นฉบับ, คนคิดคำโฆษณา
(n)สำเนา, ฉบับเทียบ, ของคู่กัน, สิ่งที่เสริมกัน, สิ่งที่คล้ายกัน
(n)เสื้อรัดรูปของชาย, ฉบับเทียบ, ฉบับจำลอง, สิ่งที่เป็นคู่
(n)ฉบับร่าง, การเกณฑ์ทหาร, การสเก็ตภาพ, ใบสั่งจ่ายเงินในต่างประเทศ
(n)การลาก, การดึง, กระแสลม, ตั๋วแลกเงิน, ฉบับร่าง
(adj)มีสำเนา, มีสองฉบับ, สองเท่า, ซ้ำ, เหมือนกัน
(n)สำเนา, ฉบับคู่, ฉบับก๊อบปี้, ภาพจำลอง
(n)การพิมพ์ครั้งหนึ่งๆ, ฉบับพิมพ์ครั้งที่, จำนวนพิมพ์ครั้งที่
(n)ตัวอย่าง, แบบอย่าง, แบบฉบับ, อุทาหรณ์
(n)ผู้ชี้แจง, ผู้อธิบาย, ตัวแทน, แบบอย่าง, แบบฉบับ, สัญลักษณ์
(n)สิ่งพิเศษ, สิ่งที่ใหญ่กว่าปกติ, สิ่งที่เพิ่มเติม, ฉบับพิเศษ
(n)สำเนา, ฉบับก๊อบปี้
(n)การออกไป, ปัญหา, ผลลัพธ์, ผลประโยชน์, การส่งออกไป, รุ่น, ชุด, ฉบับ
(n)ต้นฉบับ
(n)มาตรฐาน, แบบฉบับ, แบบแผน, รูปแบบ, ค่าเฉลี่ย
(adj)ดั้งเดิม, แรกเริ่ม, เป็นราก, เป็นต้นฉบับ
(n)กระสวน, แบบฉบับ, แบบแผน, หุ่น, ลวดลาย, ตัวอย่าง, แบบเสื้อ
(n)ต้นตระกูล, บรรพบุรุษ, ครู, ผู้เบิกทาง, ต้นฉบับ
(n)การแก้ไขใหม่, การทบทวน, การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงใหม่
(n)ตัวเขียน, ต้นฉบับ, ลายมือ, ต้นร่าง
(n)จิตใจ, วิญญาณ, คน, บุคคล, แก่นสาร, แบบฉบับ
(n)หัวข้อ, ต้นฉบับ, ตัวหนังสือ, แบบเรียน, เนื้อหา, ใจความ
(n)การแปล, การแปลง, ฉบับแปล, การถอดความ, การย้าย
(vt)ทำเป็นแบบอย่าง, ทำเครื่องหมาย, ทำเป็นแบบฉบับ
(n)หนังสือ, ฉบับ, ปริมาตร, เล่ม, ปริมาณ, ชุดแผ่นเสียง
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)คู่ฉบับ
(n)สัญญาอนุญาตให้ผู้อื่นนำสำเนาผลงานของผู้เขียน ผู้ประพันธ์ หรือผู้สร้างไปเผยแพร่ผลงานต่อ ซึ่งมีอยู่หลายแบบ โดยผู้สร้างสามารถเลือกได้ว่าจะให้อนุญาตแบบไหน ซึ่งได้แก่ "ยอมรับสิทธิของผู้สร้าง" (Attribution) "ไม่ใช้เพื่อการค้า" (Noncommercial) "ไม่แก้ไขต้นฉบับ" (No Derivative Works) และ "ใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน" (Share Alike)Syn.copyleft
ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์, ภาวะที่เครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม และข้อมูล พ้นจากภัยคุกคาม มีลักษณะสำคัญ ๓ ประการ คือ คงความลับ คงความถูกต้องครบถ้วน และคงความพร้อมใช้งาน ภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยบุคลากร กระบวนการทำงาน และเครื่องมือ ที่เหมาะสม [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)(ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง
(adj)ฉบับกลาง (interim report = รายงานฉบับกลาง)
(n)เทพนิยม (เทียบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หน้า 539)
[ฟามาโคเปีย](n, pharm)หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ
(n)หนังสือสอนภาษาฉบับย่อ
(n)ประโยชน์เพื่อคนอื่น, ประโยชน์ผู้อื่น มาจากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า 152
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
原紙
[げんし, genshi](n)ต้นฉบับ พิมพ์เขียว
草案
[そうあん, souan](n)เอกสารฉบับร่าง
草案
[そうあん, souan](n)เอกสารฉบับร่าง
文案
[ぶんあん, bun'an](n)ฉบับร่าง (ของบทความต่างๆ)
เรอกุโตะ
[ぶんあん](n, vi, vt, modal, ver)เลิกกันในฉบับ ภาษา ประเทศ โอซาว่าSee Also:S. เรกุโตะ
[かん, kan](n)เล่ม , ฉบับ เช่น ฉบับที่ 10 , เล่มที่ 10
原稿
[げんこう, genkou]ต้นฉบับ
投稿
[とうこう, toukou]ส่ง(ต้นฉบับให้สำนักพิมพ์) , ปล่อย, ลง(ภาพ วิดิโอ หรือบทความ ลงอินเตอร์เน็ต)
朝刊
[ちょうかん, choukan](adj)ฉบับเช้า
Saikam JP-TH-EN Dictionary
[ぶ, bu] TH: ฉบับ
[ごう, gou] TH: ฉบับที่
[ごう, gou] EN: issue
Longdo Approved DE-TH
(adj)ที่เป็นต้นแบบ, ต้นฉบับ, ของแท้ เช่น Die originale Sacher Torte bekommt man nur bei dem Hotel Sacher. ขนมเค้ก Sacher ต้นตำรับหาทานได้ที่โรงแรม Sacher เท่านั้นSee Also:authentisch, A. gefälscht, nachgemachtSyn.echt
(vt, jargon)|kriegte, hat gekriegt, etw.(A)| ได้รับ เช่น Sie hat einen Brief gekriegt. เธอได้รับจดหมายหนึ่งฉบับSee Also:erhaltenSyn.bekommen
(n)|die, pl. Sonderausgaben| ฉบับพิมพ์พิเศษ
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ