เงินทุนเพื่อการส่งออก[เศรษฐศาสตร์]
เงินทุนจากภายนอก[เศรษฐศาสตร์]
การเงินบริษัท[เศรษฐศาสตร์]
การเงินเพื่อการพัฒนา[เศรษฐศาสตร์]
บริษัทการเงินเพื่อการพัฒนา[เศรษฐศาสตร์]
การเงินเพื่อการเคหะ[เศรษฐศาสตร์]
บริษัทเงินทุนเพื่อการพาณิชย์[เศรษฐศาสตร์]
การคลังของมหานคร[เศรษฐศาสตร์]
การเงินเพื่อการค้า[เศรษฐศาสตร์]
การเงินธุรกิจ[TU Subject Heading]
บรรษัทเงินทุน[TU Subject Heading]
เงินฝืด[TU Subject Heading]
แฟคตอริ่ง[TU Subject Heading]
การเงิน[TU Subject Heading]
บริษัทเงินทุน[TU Subject Heading]
รัฐมนตรีคลัง[TU Subject Heading]
การเงินส่วนบุคคล[TU Subject Heading]
การคลังสาธารณะ[TU Subject Heading]
การป้องกันความเสี่ยง (การเงิน)[TU Subject Heading]
เงินเฟ้อ[TU Subject Heading]
การเงินระหว่างประเทศ[TU Subject Heading]
การคลังท้องถิ่น[TU Subject Heading]
การเงินรายย่อย[TU Subject Heading]
การคลังเทศบาล[TU Subject Heading]
การเงินพิพิธภัณฑ์[TU Subject Heading]
สิทธิซื้อขาย (การเงิน)[TU Subject Heading]
การซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า[TU Subject Heading]
การรวมทุน[TU Subject Heading]
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกระทรวงการคลังและธนาคารกลางอาเซียน[การทูต]
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสกระทรวงการคลังและธนาคารกลางอาเซียนกับผู้แทนจาก จีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี[การทูต]
การประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียน จัดขึ้นปีละครั้ง ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 ต่อมาได้มีการจัดการประชุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับญี่ปุ่น (AFMM + Japan) เพื่อหารือเกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและความช่วยเหลือที่ ญี่ปุ่นให้แก่อาเซียน อาทิ แผนมิยาซาวา ควบคู่กันไปด้วย[การทูต]
การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับผู้แทนจากจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ในช่วงการประชุม ประจำปีของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ที่กรุงมะนิลา และได้ ตกลงในหลักการที่จะจัดเป็นประจำทุกปี เพื่อหารือสถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจในภูมิภาค และร่วมมือหามาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขวิกฤตการณ์การเงินในภูมิภาค ผลงานที่สำคัญคือ ข้อตกลงริเริ่มที่เชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative)[การทูต]
คณะมนตรียุโรปด้านเศรษฐกิจและการคลัง " เป็นองค์กรในสหภาพยุโรปประกอบด้วยรัฐมนตรีเศรษฐกิจและ การคลังจากประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป "[การทูต]
บรรษัทการเงินระหว่างประเทศ มีความเกี่ยวเนื่องกับธนาคารโลก แม้ว่าจะมีสถานะเป็นองค์กรแยก ต่างหาก IFC มีหน้าที่สนับสนุนภาคเอกชนในประเทศกำลังพัฒนา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ[การทูต]
คือบรรษัทการเงินระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1956 และเริ่มมีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษที่มีสัมพันธ์กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957 แม้บรรษัทจะดำเนินงานใกล้ชิดกับธนาคารโลก แต่ก็มีฐานะเป็นสิ่งที่มีตัวตนทางกฎหมายแยกต่างหาก และมีกองทุนที่แตกต่างจากกองทุนของธนาคารโลกด้วยวัตถุประสงค์ของบรรษัทคือ ส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนให้การผลิตของวิสาหกิจของเอกชนในประเทศสมาชิกเจริญเติบโตยิ่ง ขึ้น การที่จะกระทำตามวัตถุประสงค์นี้ได้ บรรษัทจะนำเงินไปลงทุนในวิสาหกิจด้านการผลิตฝ่ายเอกชน โดยดำเนินงานร่วมกับเอกชนผู้ลงทุน ทำหน้าที่เป็นสำนักหักบัญชี (Clearing House) คล้ายกับเป็นแหล่งรวมโอกาสต่าง ๆ ของการลงทุนฝ่ายเอกชนทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมทั้งฝ่ายจัดการที่มีประสบการณ์ชำนาญ นอกจากนั้น ยังช่วยกระตุ้นการลงทุนด้านการผลิตของเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศด้วย บรรษัทยังได้รับอนุญาตให้ทำการกู้ยืมเงินโดยใช้วิธีขายพันธบัตรของตนเอง รวมทั้งตั๋วสัญญาการใช้เงินบรรษัทการเงินระหว่างประเทศดำเนินงานโดยองค์กร ต่าง ๆ ของตน คืออำนาจทั้งหมดของบรรษัทจะขึ้นอยู่กับคณะผู้ว่าการ (Board of Govemors) ประกอบด้วยผู้ว่าการและผู้ว่าการสำรอง (Altemates) จากธนาคารโลกซึ่งเป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ อันเป็นสมาชิกของบรรษัทด้วย คณะผู้ว่าการจะคอยควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของบรรษัทให้ถูกต้อง ตัวประธานธนาคารโลก จะทำหน้าที่เป็นประธานคณะผู้ว่าการของบรรษัทโดยตำแหน่งด้วย บรรษัทมีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตันดีซี[การทูต]