แอฟริกา[TU Subject Heading]
แอฟริกากลาง[TU Subject Heading]
แอฟริกาเหนือ[TU Subject Heading]
แอฟริกาใต้[TU Subject Heading]
แอฟริกาตะวันตก[TU Subject Heading]
เด็กชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน[TU Subject Heading]
ครอบครัวชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน[TU Subject Heading]
ผู้ตรากฎหมายชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน[TU Subject Heading]
นักดนตรีอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน[TU Subject Heading]
ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน[TU Subject Heading]
ช้างแอฟริกัน[TU Subject Heading]
ภาษาแอฟริกัน[TU Subject Heading]
สภาแห่งชาติแอฟริกัน[TU Subject Heading]
แอฟริกัน ไวโอเลต[TU Subject Heading]
ชาวแอฟริกัน[TU Subject Heading]
ศิลปะแอฟริกา[TU Subject Heading]
ศิลปะแอฟริกาตะวันออก[TU Subject Heading]
ศิลปะแอฟริกาใต้[TU Subject Heading]
ศิลปกรรมแอฟริกา[TU Subject Heading]
ศิลปกรรมแอฟริกาใต้[TU Subject Heading]
เรื่องสั้นแอฟริกัน (ภาษาอังกฤษ)[TU Subject Heading]
การประชุมความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียกับแอฟริกา[การทูต]
การประชุมองค์การอนุภูมิภาคเอเชีย-แอฟริกา มีการประชุมครั้งแรกที่เมืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซียเมื่อปี 2546[การทูต]
กลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคแอฟริกา หมู่เกาะในแคริบเบียน และแปซิฟิก ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าจากสหภาพยุโรป[การทูต]
สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน[การทูต]
ความร่วมมือระหว่างเอเชียกับแอฟริกา " เป็นความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียกับ ภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบการประชุมระหว่างประเทศเพื่อ การพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว (Tokyo International Conference on African Development - TICAD) "[การทูต]
ตลาดร่วมแห่งภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกาตอนใต้ " จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2537 มีประเทศสมาชิกรวม 20 ประเทศ ได้แก่ แองโกลา บุรุนดี คอโมโรส สาธารณรัฐประชาธิปไตย คองโก จิบูตี อียิปต์ เอริเทรีย เอธิโอเปีย เคนยา มาดากัสการ์ มาลาวี มอริเชียส นามิเบีย รวันดา เซเชลส์ ซูดาน สวาซิแลนด์ แซมเบีย ซิมบับเว และยูกันดา "[การทูต]
ประชาคมแอฟริกาตะวันออก " จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2510 มีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ คือ เคนยา ยูกันดา และแทนซาเนีย เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก และการจัดตั้งตลาดร่วมขึ้น "[การทูต]
ประชาคมเศรษฐกิจแห่งรัฐแอฟริกาตะวันตก จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2518 มีประเทศสมาชิกรวม 16 ประเทศคือ เบนิน บูร์กินาฟาโซ เคปเวิร์ด โกตดิวัวร์ แกมเบีย กานา กินี กินีบิสเซา ไลบีเรีย มาลี มอริเตเนีย ไนเจอร์ ไนจีเรีย เซเนกัล เซียร์ราลีโอนและโตโก[การทูต]
เวทีเจรจาสามฝ่าย ระหว่างอินเดีย บราซิล และแอฟริกาใต้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสิมความร่วมมือในกรอบใต้-ใต้ใน วงกว้าง เป้าหมายหลัก IBSA คือการส่งเสริมและขยายโอกาส ด้านการค้า การลงทุน การพัฒนาสังคม และการเลแกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างกัน[การทูต]
ความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ใหม่ระหว่างเอเชียกับ แอฟริกา เกิดขึ้นเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.2548 (ค.ศ.2005)[การทูต]
หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน[การทูต]
องค์การเอกภาพแอฟริกา จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2506 ที่กรุงแอดดิสอาบาบา ประเทศเอธิโอเปีย ปัจจุบัน OAU มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 52 ประเทศ[การทูต]
สหภาพศุลกากรแอฟริกาใต้ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2512 ปัจจุบันประกอบด้วยสมาชิก 5 ประเทศ คือ บอตสวานา เลโซโธ นามิเบีย แอฟริกาใต้ และสวาซิแลนด์[การทูต]
ประชาคมเพื่อการพัฒนาแอฟริกาตอนใต้ " จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2535 ประกอบด้วย 14 ประเทศ คือ อังโกลา บอตสวานา เลโซโธ มาลาวี มอริเชียส โมซัมบิก นามิเบีย แอฟริกาใต้ สวาซิแลนด์ แทนซาเนีย แซมเบีย ซิมบับเว สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และเซเชลส์ "[การทูต]
การประชุมระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว " เป็นการริเริ่มของรัฐบาลญี่ปุ่น ร่วมกับองค์การสหประชาชาติและ องค์การ Global Coalition for Africa เพื่อสนับสนุนการพัฒนาใน ภูมิภาคแอฟริกา ในรูปของความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเอเชียกับ แอฟริกาอย่างเป็นรูปธรรมและมีเอกภาพ โดยเป็นการประชุมในระดับรัฐมนตรี และมีการประชุมแล้ว 2 ครั้ง โดยครั้งแรก (TICAD I) มีขึ้นระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม 2536 โดยมีการรับรองเอกสารปฏิญญา กรุงโตเกียว (Tokyo Declaration) ซึ่งเป็นสัญญาประชาคมที่ประเทศต่าง ๆ จะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาแก่แอฟริกา และครั้งที่ 2 (TICAD II) มีขึ้นระหว่างวันที่ 19-21 ตุลาคม 2541 โดยมีการรับรองแผนปฏิบัติการกรุงโตเกียว (Tokyo Agenda for Action) ซึ่งเป็น แนวทางในการพัฒนาแอฟริกาในด้านต่าง ๆ ทั้งสังคมและเศรษฐกิจ "[การทูต]
เซลล์เพาะเนื้อไตลิง, เซลล์เพาะเลี้ยงต่อเนื่องที่ได้มาจากเซลล์ไตลิง[การแพทย์]