น. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง.
น. ภาชนะรูปคลุ่ม ๆ ชนิดหนึ่ง สำหรับใส่อาหารเป็นต้น.
น. ชามเนื้อกระเบื้อง รูปร่างคล้ายกะลา ด้านนอกสีน้ำตาลแก่ ด้านในสีขาว เขียนลายสีคราม มีขนาดต่าง ๆ กัน.
น. ชามอย่างเก่าขนาดใหญ่ รูปคล้ายโคมจีนหรือลูกฟักตัดครึ่ง, ลักษณนามว่า ใบ, ลูก.
น. ชามชนิดหนึ่ง ก้นเล็กปากบานอย่างรูปงอบหงาย.
น. ชามขนาดใหญ่อย่างชามโคม.
น. ชื่อทองคำเนื้อบริสุทธิ์ที่กล่าวอยู่ในไตรภูมิพระร่วงว่าเกิดจากผลหว้าที่ตกลงกลางแม่น้ำในชมพูทวีป, ชมพูนท ชมพูนุท หรือ ชัมพูนท ก็ว่า.
น. บายศรีตองที่จัดวางลงปากชาม.
น. มติของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศที่แสดงออกในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือที่ใดที่หนึ่ง. (อ. plebiscite)
มติของประชาชนที่รัฐให้สิทธิออกเสียงลงคะแนนรับรองร่างกฎหมายสำคัญที่ได้ผ่านสภานิติบัญญัติแล้ว หรือให้ตัดสินในปัญหาสำคัญในการบริหารประเทศ. (อ. referendum)
ดู การออกเสียงประชามติ ประกอบ.
น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุด รูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กระโบม ก็เรียก, อีสานและพายัพว่า กะบมหรือกะโบม.
น. วัสดุใช้มุงหลังคา ทำผนังหรือปูพื้น เป็นต้น ทำด้วยดินเผาหรือซีเมนต์ หรือวัสดุอื่น ๆ มักทำเป็นแผ่นสี่เหลี่ยม มีขนาดต่าง ๆ อาจมีสีหรือลวดลายก็ได้, เครื่องถ้วยชามที่ปั้นด้วยดินประสมอย่างดี เนื้อมีลักษณะแข็งและขาว เคลือบผิวเป็นมัน มีพื้นหรือลวดลายเป็นสีต่าง ๆ เรียกรวมว่า เครื่องกระเบื้อง, ชิ้นของเครื่องกระเบื้องที่แตกออก, กระทะแบน ๆ สำหรับละเลงขนมเบื้องเป็นต้น เดิมทำด้วยดินเผา แต่ปัจจุบันทำด้วยโลหะ
น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุด รูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กระบม ก็เรียก, อีสานและพายัพว่า กะบมหรือกะโบม.
(กฺรับ) ก. แห้งติดอยู่เหมือนกาวติดชาม ว่า กรับแห้ง.
เอาคมมีดสะบัดบนของแข็งเพื่อให้คม เช่น เอามีดกรีดหินเพื่อให้คม กรีดมีดบนปากชาม.
กินอย่างรวดเร็วเพราะหิว เช่น กะซวกก๋วยเตี๋ยวไป ๓ ชาม.
น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุดรูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กะโบม ก็เรียก. (ดู กระบม).
น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ขุดรูปวงกลมมีขอบ ด้ามสั้น สำหรับสงข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ ๆ หรือคนข้าวเหนียวนึ่งให้ลดความร้อนก่อนนำไปใส่ในกล่องข้าว หรือใช้เป็นภาชนะรองถ้วยชามอย่างสำรับ, กะบม ก็เรียก. (ดู กระโบม).
น. ภาชนะที่ทำด้วยโลหะเคลือบ มีขนาดต่าง ๆ กัน เช่น ชามกะละมัง ถาดกะละมัง.
เรียกชามเนื้อกระเบื้อง รูปร่างคล้ายกะลา ด้านนอกสีน้ำตาลแก่ ด้านในสีขาว เขียนลายสีคราม มีขนาดต่าง ๆ กัน ว่า ชามกะลา
ก. กินเลี้ยงในงานมงคล [ สี่ถ้วย คือ ขนม ๔ อย่าง อย่างละถ้วย ได้แก่ ไข่กบ (สาคูหรือเมล็ดแมงลัก), นกปล่อย (ลอดช่อง), มะลิลอย (ข้าวตอก), อ้ายตื้อ (ข้าวเหนียว) มีนํ้ากะทิใส่ชามอยู่กลาง ].
เรียกภาชนะที่ทำด้วยแก้วสำหรับใส่นํ้ากินเป็นต้น ว่า ถ้วยแก้ว หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แก้ว, เรียกภาชนะที่ทำด้วยแก้ว เช่น ชามแก้ว
น. เครื่องบูชามีข้าวตอกและดอกไม้.
น. ชื่อเฟินอิงอาศัยชนิด Asplenium nidus L. ในวงศ์ Aspleniaceae ใบเรียงเป็นวง รูปทรงคล้ายชาม แตกใบอ่อนตรงกลาง.
น. ชื่อชามสมัยก่อน สีเขียวปนครามอ่อน ๆ รูปก้นสอบ ปากผาย.
กิริยาที่เอาด้านหน้าลง เช่น นอนคว่ำ, กิริยาที่เอาด้านบนลงล่าง เช่น คว่ำชาม, ตรงข้ามกับ หงาย
ก. ค้างอยู่, ติดอยู่, เช่น ข้าวคาปาก คาถ้วยคาชาม.
น. เครื่องตามไฟหรือเครื่องให้แสงสว่างซึ่งมีเครื่องบังลมหรือเครื่องบังคับแสงไฟ ใช้ตั้ง หิ้ว หรือแขวน เช่น โคมไฟฟ้า, ลักษณนามว่า โคม ดวง ใบ หรือ ลูก, เรียกชามอย่างเก่าขนาดใหญ่ รูปคล้ายโคมจีนหรือลูกฟักตัดครึ่ง ว่า ชามโคม, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก.
(จันโจด) ก. โจษจัน, พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, เช่น จรรโจษประชามี พลพิรียชาญชม (สมุทรโฆษ), จันโจษ ก็ว่า.
น. ชื่อทองคำเนื้อบริสุทธิ์ที่กล่าวอยู่ในไตรภูมิพระร่วงว่าเกิดจากผลหว้าที่ตกลงกลางแม่น้ำในชมพูทวีป, ชัมพูนท หรือ ชามพูนท ก็ว่า.
(ชำพูนด) น. ชื่อทองคำเนื้อบริสุทธิ์ที่กล่าวอยู่ในไตรภูมิพระร่วงว่าเกิดจากผลหว้าที่ตกลงกลางแม่น้ำในชมพูทวีป, ชมพูนท ชมพูนุท หรือ ชามพูนท ก็ว่า.
ก. ทำให้แห้งหรือให้สะอาดโดยใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีผ้าหรือกระดาษเป็นต้น เช่น เช็ดนํ้าตา เช็ดพื้น เช็ดถ้วยชาม, ทำให้ข้าวสะเด็ดน้ำด้วยการรินน้ำออก เช่น ข้าวเช็ดให้สะเด็ดน้ำแล้วจึงดง.
ก. กิน เช่น ซัดก๋วยเตี๋ยวไป ๓ ชาม
ว. ตํ่าลงไปจากขอบน้อยกว่าปรกติ เช่น ชามก้นตื้น, หยั่งลงไปได้ไม่ไกลจากผิวหน้าหรือขอบบน เช่น นํ้าตื้น คลองตื้น, เข้าไปไม่ไกลจากขอบเป็นต้น เช่น ตรอกตื้น
น. ชื่อเตาโบราณชนิดหนึ่ง สำหรับเผาเครื่องถ้วยชามและเครื่องกระเบื้องต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัย, (ทุเรียง อาจเพี้ยนมาจากชื่อเมืองเชลียง).
ก. แยกออกจากส่วนรวม เช่น แก้วแตก ชามแตก, ทำให้แยกออกจากส่วนรวม เช่น แตกสามัคคี แตกหมู่คณะ
ว. มีรอยปริตื้น ๆ ทั่วไปบนพื้นผิวของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ถ้วยชามแตกลายงา, ราน ก็ว่า.
ยกกลับคืนไป เช่น ถอนสำรับอาหาร ถอนชาม ถอนเครื่องสังเวย
ว. ที่ผายออก เช่น ชามปากบาน กางเกงขาบาน กระโปรงบาน
น. เครื่องเชิญขวัญหรือรับขวัญ ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น ๓ ชั้น ๕ ชั้น ๗ ชั้น หรือ ๙ ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรีและมีไข่ขวัญเสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายอย่าง เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่.
ก. แตกลิไปเล็กน้อย (ที่คม ที่แง่ หรือที่ยอด) เช่น มีดบิ่น ชามปากบิ่น.
ซื้อพระพุทธรูป วัตถุมงคล หรือสิ่งที่ถือว่าขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ เช่น พระพุทธรูปองค์นี้บูชามาเท่าไร, เช่า ก็ใช้.
น. แม่สีทั้ง ๕ คือ ดำ แดง ขาว เขียว (คราม) เหลือง, เรียกเครื่องถ้วยชามที่เขียนลวดลายด้วยแม่สีทั้ง ๕ ว่า ถ้วยเบญจรงค์ ชามเบญจรงค์.
ก. พยุงให้ทรงตัวอยู่ เช่น ประคองตัวเอง, ช่วยพยุงไม่ให้เซไม่ให้ล้มเป็นต้น เช่น ประคองคนเจ็บให้ลุก ประคองคนแก่เดิน, ระมัดระวังไม่ให้หกหรือพลั้งพลาด เช่น ประคองชามแกงให้ดี, โอบรัดเบา ๆ เช่น หนุ่มสาวเดินประคองกันไป
น. ชื่อชามชนิดหนึ่ง ก้นเล็กปากบานอย่างรูปงอบหงาย.
(เปฺรื่อง) ว. เสียงดังอย่างเสียงถ้วยชามกระทบกันหรือตกแตก.
เรียกภาชนะบางอย่างที่มีรูปลักษณะอย่างเปล เช่น ชามเปล.