ก. เปิดเผยเรื่องที่ทำกันในที่ลับ.
น. เรียกลูกชายคนที่ ๑๐ ว่า ลูกจ๋ง, คู่กับ ลูกหญิงคนที่ ๑๐ ว่า ลูกอัง.
ว. กระจ่าง, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง.
น. เครื่องดนตรีจีนชนิดหนึ่ง มีสายสำหรับดีด คล้ายจะเข้, กู่เจิง หรือ โกวเจ็ง ก็เรียก.
ก. เลิกล้มกิจการเพราะหมดทุน
ก. แสดงให้รู้, บอกให้รู้, เช่น แจ้งความประสงค์.
ว. กระจ่าง, สว่าง, ชัด, เช่น แจ้งใจ.
ก. บอกให้ทราบความ, แจ้งเหตุต่อเจ้าพนักงาน.
ว. กระจ่างชัด, แจ่มกระจ่าง.
ว. ลักษณะเสียงอย่างหนึ่งคล้ายกับเสียงกลองแขกดัง เลยหมายความเลือนไปถึงทำการสิ่งไร ๆ ที่เป็นการเปิดเผย, อย่างเปิดเผย, อย่างโจ่งแจ้ง, อย่างไม่เกรงกลัวใคร.
ว. ใสมีแต่นํ้า เช่น น้ำแกงใสโจ๋งเจ๋ง.
ว. อย่างเปิดเผย, ไม่ปิดบัง, เช่น เขาแสดงอย่างโจ่งแจ้ง.
น. เอกสารที่กรมตำรวจแจ้งผลการตรวจสอบทะเบียนประวัติของบุคคล โดยในกรณีที่ผลการตรวจสอบปรากฏว่าบุคคลผู้ถูกตรวจสอบนั้นเคยต้องโทษในคดีอาญามาแล้ว เดิมกรมตำรวจใช้กระดาษสีแดง ปัจจุบันเลิกใช้กระดาษสีแดง .
น. เวลาพระอาทิตย์ขึ้นสว่างแล้ว แต่ยังไม่มีแสงแดด.
ก. เข้าใจตลอด, รู้ตามเหตุผลอย่างชัดเจน.
(โหฺลง-) ว. ลักษณะที่มีแต่นํ้าเป็นส่วนใหญ่ แทบไม่มีเนื้อเลย เช่น แกงมีแต่นํ้าโหลงโจ้ง.
คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน).
ว. กระจะ, จะจะ, ชัดเจน, เช่น ฝ่ายล่ามบอกออกอรรถกระจัดแจ้ง (อภัย).
น. ชื่อฆ้องวงขนาดเล็ก ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญ ลักษณะร้านฆ้องเป็นรูปเว้าหงายขึ้น คล้ายฆ้องมอญแต่ปลายไม่สูง วงหนึ่งมีลูกฆ้อง ๑๑ ลูก, ฆ้องขนาดเล็กลูกเดียวแขวนกับไม้ ใช้มือหิ้วหรือแขวนไม้กับไม้ขาหยั่ง ใช้ตีเป็นสัญญาณในการอยู่เวรยามหรือแจ้งข่าวสารต่าง ๆ, ทั้ง ๒ ชนิดเรียกว่า ฆ้องกระแต.
ว. ที่แสดงหรือเล่นเป็นต้นในที่แจ้ง เช่น โขนกลางแปลง หนังกลางแปลง คล้องช้างกลางแปลง.
น. กลางแจ้ง, นอกชายคา ในความว่า รองนํ้าฝนกลางหาว, บนฟ้า เช่น เครื่องบินรบกันกลางหาว, กลางเวหา ก็ว่า.
(กฺล่าว) ก. บอก, แจ้ง, พูด, เช่น กล่าวคำเท็จ
ว. ค่อม, เตี้ย, เช่น มีเจ่งตาบอดพลาย ก่อมก้อ (โลกนิติ).
ว. จังก้า, ลักษณะยืนถ่างขาตั้งท่าเตรียมสู้ เช่น ถกเขมรกังก้าเรียกข้าไทย (ขุนช้างขุนแผน-แจ้ง).
(ขะ-) ก. กระจ่าง เช่น จวบแจ้งขจ่างจา มิกราจำรัสศรี (สรรพสิทธิ์).
ว. มีสีอย่างสำลี, โดยปริยายหมายความว่า แจ่มแจ้ง, สะอาดบริสุทธิ์, ปราศจากมลทิน.
ว. ใช้ประกอบคำอื่นเพื่อเน้นความให้เด่นหรือให้ชัดแจ้งกว่าเดิม เช่น เกิดขึ้น เป็นขึ้น สวยขึ้น สูงขึ้น
ว. พูดไม่บ่งชัดให้จะแจ้ง เช่น พูดคลุม ๆ.
ว. ลักษณะที่กํ้ากึ่งเอาแน่นอนทางใดทางหนึ่งไม่ได้ เช่น อากาศที่จะมืดก็ไม่มืด จะสว่างก็ไม่สว่าง เรียกว่า อากาศคลุมเครือ, อาการไข้ที่จะหายก็ไม่หาย จะหนักก็ไม่หนัก เรียกว่า ไข้คลุมเครือ, พูดไม่บ่งชัดไปทางใดให้จะแจ้ง เรียกว่า พูดคลุมเครือ.
น. ข้อความที่เรียบเรียงเป็นร้อยแก้ว, วรรณกรรมประเภทร้อยแก้วอธิบายความ ซึ่งให้ความรู้หรือแสดงทัศนะอย่างแจ่มแจ้งเกี่ยวกับเรื่องที่นำมาอธิบาย.
น. ข้อความที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งเป็นหนังสือ หรือแจ้งด้วยวาจา ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง แสดงเจตนาที่จะใช้สิทธิ สงวนสิทธิ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คำบอกกล่าวสนองในการทำสัญญา คำบอกกล่าวเลิกสัญญา คำบอกกล่าวว่าจะบังคับจำนอง.
น. การแสดงเจตนาว่าจะกระทำการหรืองดเว้นกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งต่อบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง. (ดู คำสนอง ประกอบ).
น. การป่าวร้องให้ทราบ, การแจ้งความให้ทราบ.
(-กนละนี) น. บัว, บัวดอกคล้ายบัวขม มีเกสรซ้อนหลายชั้น แตกก้านต่อดอกแล้วมีดอกต่อกัน ๓ ดอกบ้าง ๔ ดอกบ้าง. (ทมิฬ เจ็ง ว่า แดง กาฬนีร ว่า บัว หมายความว่า บัวแดง).
(จะตุรงคะ-) น. ชื่อกลอนกลบทโบราณ มีบังคับพิเศษคือ กลอน ๔ วรรค ในแต่ละบทขึ้นต้นวรรคด้วยคำ ๒ คำซ้ำกัน ตัวอย่างว่า พระหน่อไทยได้สดับแสดงกิจ พระหน่อคิดจิตวาบระหวาบหวาม พระหน่อตรึกนึกคะเนคะนึงความ พระหน่อนามแจ้งกระจัดกระจ่างใจ (ชุมนุมตำรากลอน).
(จะหฺรด) ว. จรัส, แจ่มแจ้ง, รุ่งเรือง, สว่าง, เช่น เหลืองจรุลจรสรจนา (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
(จะหฺรัด) ว. แจ่มแจ้ง, รุ่งเรือง, สว่าง.
ก. แจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้น ๆ ไว้เป็นการล่วงหน้า.