ก. สว่าง, สุกใส, ชัดเจน, แจ่ม.
ว. กระจ่าง เช่น เวหาเห็นกระช่าง (ม. คำหลวง กุมาร), กระซ่าง ก็ว่า.
ว. กระจ่าง เช่น กระซ่างฟ้าเห็นกัน (ม. คำหลวง สักบรรพ), กระช่าง ก็ว่า.
(ขะ-) ก. กระจ่าง เช่น จวบแจ้งขจ่างจา มิกราจำรัสศรี (สรรพสิทธิ์).
ทำให้กระจ่างโดยลำดับ เช่น ตำรวจคลี่คลายเงื่อนงำในคดีฆาตกรรม.
ว. ไม่แจ่ม, ไม่กระจ่าง, ไม่ชัด, เช่น ข้อความเคลือบคลุม.
ว. ไม่กระจ่างทำให้เป็นที่สงสัย.
(จะตุรงคะ-) น. ชื่อกลอนกลบทโบราณ มีบังคับพิเศษคือ กลอน ๔ วรรค ในแต่ละบทขึ้นต้นวรรคด้วยคำ ๒ คำซ้ำกัน ตัวอย่างว่า พระหน่อไทยได้สดับแสดงกิจ พระหน่อคิดจิตวาบระหวาบหวาม พระหน่อตรึกนึกคะเนคะนึงความ พระหน่อนามแจ้งกระจัดกระจ่างใจ (ชุมนุมตำรากลอน).
ว. ให้ชัดเจน, กระจ่าง, เช่น เขียนจะจะ
ว. กระจ่าง, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง.
ว. แจ่ม, ใส, กระจ่าง, ชัดเจน, ไม่มัว.
ว. กระจ่าง, สว่าง, ชัด, เช่น แจ้งใจ.
ว. กระจ่างชัด, แจ่มกระจ่าง.
ก. กระจ่าง เช่น ฉ่องพระโฉม
ว. มีแสงกล้า, มีแสงพุ่งออกไป, สว่าง, กระจ่างแจ้ง, จ้า, เช่น แสงฉาน ปัญญาแตกฉาน
ก. ไล่เลียงให้กระจ่างแจ้ง เช่น ทนายซักพยาน ซักถาม.
(ปฺล่ง) ว. ปลอด, ตลอด, จะแจ้ง, เป็นทางไป, กระจ่าง, โปร่ง.
ว. ไม่แจ่ม เช่น พระจันทร์มัว, ไม่กระจ่าง เช่น ข้อความมัว, ฝ้า เช่น กระจกมัว, ฟาง เช่น นัยน์ตามัว, ขมุกขมัว เช่น มืดมัว, ไม่มืดไม่สว่าง เช่น แสงมัว ๆ, หม่น เช่น สีมัว ๆ, ขุ่น, ไม่ผ่อง, เช่น ใจมัว
ว. ไม่กระจ่าง, ไม่ชัดเจน, เช่น เห็นราง ๆ ภาพราง ๆ.
น. เวลาจวนสว่างพอมองเห็นราง ๆ ยังไม่กระจ่างชัด.
ว. กระจ่างแจ้ง, โชติช่วง, เช่น แสงไฟรุ่งโรจน์, เจริญรุ่งเรือง เช่น ชีวิตรุ่งโรจน์.
ว. ปราศจากมลทิน, ไม่มีตำหนิ, ใส, สะอาด, บริสุทธิ์, กระจ่าง, งาม.
(สะหฺลัว) ว. ไม่แจ่ม, ไม่กระจ่าง, เช่น ในห้องมีแสงสลัวมองเห็นได้ราง ๆ ใกล้ค่ำมีแสงสลัว ๆ.
(สะหฺว่าง) ว. ระยะเวลาฟ้าสาง, ระยะเวลาเมื่อรุ่งอรุณ, เช่น สว่างแล้ว, กระจ่าง, มีแสงมาก, เช่น แสงไฟสว่าง แสงจันทร์สว่าง
ก. ทำให้แจ้งให้กระจ่าง เช่น สางคดี, ทำให้หายยุ่ง เช่น สางผม.
ว. กระจ่างหรือบริสุทธิ์แท้.
ว. แจ่มกระจ่าง เช่น ฟ้าใส, ไม่ขุ่น, ไม่มัว, เช่น น้ำใส กระจกใส.
(หฺลัว) ว. มัว, ไม่แจ่ม, ไม่กระจ่าง, เช่น ตอนเช้าใกล้สว่าง อากาศยังหลัว ๆ อยู่ มองอะไรไม่ค่อยชัด, ใช้ว่า สลัว ก็มี.
น. ปมที่ทำไว้สำหรับกระตุกหรือชักออกเมื่อเวลาแก้, โดยปริยายหมายถึงข้อความตรงที่จะต้องไขความให้กระจ่าง.