(เมม'โม) n. ข้อเขียนเตือนความจำ, =memorandum (ดู) pl. memos
(เมม'วาร์, เมม'วอร์) n. บันทึกชีวิตและประสบการณ์ของคน ๆ หนึ่ง, ประมวลรายงานเรื่องทางวิทยาศาสตร์หรือวิชาอื่น ๆ , บันทึกความจำ, ชีวประวัติบุคคล, See Also:memoirist n.
(เมมเมอระบิล'เลีย) n., เรื่องหรือเหตุการณ์ที่ควรจำ
(เมมมะแรน'ดัม) n. บันทึกความจำ, บันทึก, หนังสือบริคณห์สนธิ, ข้อความที่บันทึกไว้, เอกสารข้อสัญญา, จดหมายเหตุ, สารหรือหนังสือไม่เป็นทางการ (โดยเฉพาะระหว่างพนักงานบริษัท) pl. memorandums, memoranda, Syn.note, reminder
(มะมอ'เรียล) n. สิ่งเตือนความจำ, ที่ระลึก, อนุสรณ์, เครื่องระลึกถึง, จดหมายเหตุ adj. เตือนความจำ
(เมม'มะไรซ) vt. จำ, จำใส่ใจ, ท่องจำ., See Also:memorizable adj. memorization n. memorizer n.
(เมม'มะรี) n. ความจำ, ความทรงจำ, บุคคลหรือสิ่งที่จำไว้, หน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ pl. memories
แผนที่แสดงการใช้หน่วยความจำหมายถึงแผนที่หรือแผนผังที่แสดงถึงการใช้หน่วยความจำส่วนที่เรียกว่า แรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะคล้ายกับแผนที่แสดงที่ตั้งจังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละประเทศนั้นเอง สำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไปแล้ว ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องนี้เลยก็ได้
โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts)
หน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่