พลังงานความร้อนใต้พิภพ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
พลังงานความร้อนใต้พิภพ, Example:ป็นพลังงานความร้อนที่สะสมและถูกกักเก็บอยู่ใต้ผิวโลกและสามารถพัฒนาขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ เป็นพลังงานที่ได้มาจากการปลดปล่อยไอน้ำและน้ำร้อนจากพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงในธรรมชาติโดยผ่านหลุมเจาะ จากการวัดอุณหภูมิที่ความลึกต่างๆจากผิวโลก พบว่าอัตราการเพิ่มอุณหภูมิใต้พิภพมีค่าเฉลี่ยประมาณ 30 องศาเซลเซียสต่อกิโลเมตร ที่ความลึกประมาณ 25 - 30 กิโลเมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 250 - 1, 000 องศาเซลเซียส[ปิโตรเลี่ยม]
การวิเคราะห์ทางความร้อน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
เอพิเทอร์มัลนิวตรอน, นิวตรอนที่มีพลังงานสูงกว่าเทอร์มัลนิวตรอนแต่ต่ำกว่านิวตรอนเร็ว มีพลังงานในช่วง 0.5 อิเล็กตรอนโวลต์ ถึง 1 แสนอิเล็กตรอนโวลต์ คำนี้มีความหมายเหมือนกับ intermediate neutron[นิวเคลียร์]
การเทอร์มัลไลซ์, กระบวนการที่นิวตรอนพลังงานสูง หรือนิวตรอนเร็ว เกิดการสูญเสียพลังงานจากการชนวัสดุรอบข้าง[นิวเคลียร์]
รังสีเทอร์มัล, รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกจากลูกไฟจากการระเบิดทางนิวเคลียร์ ซึ่งมีอุณหภูมิสูงมาก รังสีเทอร์มัลอยู่ในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด และแสงสว่าง คิดเป็นร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดจากการระเบิด[นิวเคลียร์]
เทอร์มัลนิวตรอน, นิวตรอนที่มีพลังงานในช่วงประมาณ 0.02 ถึง 0.5 อิเล็กตรอนโวลต์ มีความเร็วเฉลี่ย 2, 200 เมตรต่อวินาที ที่อุณหภูมิห้อง, Example: [นิวเคลียร์]
เครื่องพิมพ์แบบใช้ความร้อน, Example:เครื่องพิมพืที่ใช้อุปกรณ์สร้างความร้อนไปสัมผัสกระดาษพิเศษให้เกิดรูป หรืออักขระต่างไ บนกระดาษ[คอมพิวเตอร์]
แหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ[TU Subject Heading]
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากมหาสมุทร[TU Subject Heading]
การวิเคราะห์ความร้อนในทางโลกวิทยา[TU Subject Heading]
สภาพนำความร้อน[TU Subject Heading]
คุณสมบัติอุณหภาพ[TU Subject Heading]
แหล่งแร่แบบน้ำร้อน, Example:แหล่งแร่ที่เกิดจากการที่สินแร่และแร่กาก มาสะสมตัวในรอยแตก รอยเลื่อน หรือช่องว่างใด ๆ โดยการแทนที่ หรือการบรรจุในช่องว่าง โดยมีน้ำหรือของเหลวที่มีอุณหภูมิตั้งแต่ 500-7000 ซ. และมีความดันตั้งแต่ 1-3 กิโลบาร์ เป็นตัวนำพาแร่ธาตุมาสะสมตัว ของเหลวดังกล่าวมีกำเนิดต่าง ๆ กัน หินท้องที่ในบริเวณแหล่งแร่แบบนี้มักมีการเปลี่ยนสภาพ [สิ่งแวดล้อม]
การแยกชั้นตามอุณหภูมิ[สิ่งแวดล้อม]
ชั้นไอโซเทอม หรือชั้นอุณหภูมิเท่า, Example:ชั้นของบรรยากาศตลอดทั้งชั้นซึ่งไม่มีการ เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ตามความสูง หรือชั้นของบรรยากาศที่มีอุณหภูมิเท่ากันตลอด [สิ่งแวดล้อม]
บ่อน้ำร้อน, Example:ดู Hot spring [สิ่งแวดล้อม]
พลังงานความร้อนใต้พิภพ, Example:พลังงานความร้อนที่สะสมและถูกกักเก็บอยู่ใต้ ผิวโลกและสามารถพัฒนา ขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ เป็นพลังงานที่ได้มาจากการปลดปล่อยไอน้ำและน้ำร้อน จากพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงในธรรมชาติโดยผ่านหลุมเจาะ จากการวัดอุณหภูมิ ที่ความลึกต่าง ๆ จากผิวโลก พบว่าอัตราการเพิ่มอุณหภูมิใต้พิภพมีค่าเฉลี่ยประมาณ 30 องศาเซลเซียสต่อกิโลเมตร ที่ความลึกประมาณ 25 - 30 กิโลเมตร มีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 250 - 1, 000 องศาเซลเซียล [สิ่งแวดล้อม]
พุน้ำร้อน, บ่อน้ำร้อน, Example:แหล่งที่น้ำไหลขึ้นมาจากใต้ดิน และมีอุณหถูมิสูงกว่าอุณหภูมิของร่างกาย มนุษย์ เรียกว่า พุน้ำร้อน น้ำที่พุขึ้นมา อาจจะอุ่น ๆ จนถึงเดือดพล่าน และ อาจจะบริสุทธิ์หรือมีแร่ธาตุรวมทั้งแก๊สละลายอยู่ ทำให้มีรสและกลิ่นต่าง ๆ กัน ปริมาณน้ำที่ไหลออกมาแต่ละพุก็ต่างกัน บางพุเพียงเอ่อ ๆ บางพุไหลแรง บางพุพุ่งกระเซ็นพ้นปากบ่อเพราะแรงดันของแก๊สที่ละลายเอาขึ้นมาจากใต้ดิน เช่น ที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ กับที่ อ.แม่จัน จ.เชียงราย ถ้าน้ำที่พุขึ้นมาเย็นกว่าอุณหภูมิของร่างกาย เรียกแหล่งนั้นว่า นำพุเย็น (cool spring) [สิ่งแวดล้อม]
ภาวะมลพิษความร้อน, Example:ภาวะมลพิษที่เกิดขึ้นเมื่อมีการระบายความร้อน ลงสู่แหล่งน้ำ เช่น ทำให้ปลาตายหรือออกซิเจนลดลง [สิ่งแวดล้อม]
บาดเจ็บจากความร้อน[การแพทย์]
ฟองที่มีความร้อน[การแพทย์]
ลมเทอร์มัล หรือลมความร้อน[อุตุนิยมวิทยา]
กระแสความร้อน[อุตุนิยมวิทยา]
โรงไฟฟ้าระบบกำลังความร้อน, โรงผลิตพลังไฟฟ้าโดยเปลี่ยนพลังงานความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง เช่น ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ น้ำมัน เป็นต้น เป็นพลังงานไฟฟ้า[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สภาพสมดุลทางความร้อน, สภาวะที่วัตถุหรือระบบไม่มีการถ่ายโอนพลังงานความร้อนภายในวัตถุหรือระบบ หรือไม่มีการถ่ายโอนพลังงานความร้อนระหว่างวัตถุหรือระบบกับสิ่งแวดล้อม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
พลังงานความร้อนใต้ธรณี, พลังงานความร้อนที่สะสมอยู่ใต้เปลือกโลกทำให้เกิดภูเขาไฟ น้ำพุร้อน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
อุณหภูมิเท่ากัน, อุณหภูมิคงที่[การแพทย์]
วิธีการที่ไม่ใช้ความร้อน[การแพทย์]