กลุ่มประเทศอาหรับ[TU Subject Heading]
กลุ่มประเทศอาเซียน[TU Subject Heading]
เบเนลักซ์[TU Subject Heading]
กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์[TU Subject Heading]
การพึ่งพาต่างประเทศ[TU Subject Heading]
ประเทศที่กำลังพัฒนา[TU Subject Heading]
การจ้างงานในต่างประเทศ[TU Subject Heading]
กลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจยุโรป[TU Subject Heading]
กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป[TU Subject Heading]
ต่างประเทศ[TU Subject Heading]
กลุ่มประเทศอิสลาม[TU Subject Heading]
ประเทศที่อยู่ในองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา[TU Subject Heading]
องค์การประเทศผู่ส่งออกน้ำมัน, Example:องค์การของประเทศผู้ผลิตและส่งออกน้ำมัน ปิโตรเลียม ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2503 เพื่อมุ่งขจัดอิทธิพลของบริษัทน้ำมันต่างชาติที่เข้าตักตวงผลประโยชน์ มีสมาชิกประกอบด้วย อินโดนีเซีย เอกวาดอร์ เวเนซุเอลา แอสจีเรีย ลิเบีย ซาอุดิอาระเบีย คูเวต อิรัก อิหร่าน ไนจีเรีย และรัฐต่างๆ รอบอ่าวเปอร์เซีย วัตถุประสงค์อีกประการหนึ่งขององค์การนี้คือ การรวมตัวเพื่อกำหนดราคาน้ำมันที่ส่งออกขายในตลาดโลก นอกจากนี้องค์การยังมีนโยบาย ส่งเสริมให้มีการโอนกิจการน้ำมันมาเป็นกิจการของรัฐด้วย เมื่อ พ.ศ. 2516 องค์การนี้ได้ประกาศขึ้นราคาน้ำมันครั้งใหญ่ ซึ่งมีผลให้ระบบเศรษฐกิจปั่นป่วนไปทั่วโลก และเป็นเหตุให้มีการค้นหาและพบแหล่งน้ำมันดิบในแหล่งต่างๆ ทั่วโลก เป็นผลให้ในระยะต่อมาองค์การนี้ไม่สามารถมีอิทธิพลต่อการกำหนดราคาน้ำมันใน ตลาดโลกได้มากนัก [สิ่งแวดล้อม]
Example:ชื่อที่ใช้เรียกประเทศกำลังพัฒนาบางประเทศที่ มี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจไปสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม ธนาคารโลกถือว่า ประเทศที่มีมูลค่าการผลิตของภาคอุตสาหกรรม ระหว่างร้อยละ 22-27 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (ดู GDP) นั้นจึงจะอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ ในแถบเอเชียมีประเทศที่เป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่แล้ว 4 ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน ฮ่องกง สาธารณรัฐเกาหลี และสิงคโปร์ สำหรับไทยหากพิจารณาตามเกณฑ์ของธนาคารโลกแล้ว ในขณะนี้จัดได้ว่าเริ่มเข้าสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ เนื่องจากมีสัดส่วนมูลค่าการผลิตภาคอุตสาหกรรมต่อผลผลิตรวมภายในประเทศ ประมาณร้อยละ 48 ใน พ.ศ. 2538 [สิ่งแวดล้อม]
กลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคแอฟริกา หมู่เกาะในแคริบเบียน และแปซิฟิก ซึ่งได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าจากสหภาพยุโรป[การทูต]
การบริหารราชการในต่างประเทศ[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนในประเทศที่สาม เป็นกลไกประสานงานของอาเซียนที่จัดตั้งขึ้นในเมืองหลวงของประเทศที่สาม ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นประเทศคู่เจรจาของอาเซียน คณะกรรมการดังกล่าว ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำประเทศนั้น ๆ[การทูต]
ประเทศ/องค์การระหว่างประเทศผู้ให้[การทูต]
ระบบสากลว่าด้วยสิทธิพิเศษทางการค้าในระหว่างประเทศกำลังพัฒนาด้วยกัน[การทูต]
กองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน " ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกองทุนให้ความช่วย เหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน พ.ศ. 2539 โดยให้สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบ มีวัตถุประสงค์ให้เงินกู้ผ่อนปรนแก่รัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินของรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม เพื่อลงทุนในโครงการพัฒนาประเทศ โดยเงินกู้ที่ รัฐบาลไทยปล่อยให้กู้นี้ จะต้องเป็นเงินสกุลบาท และส่วนหนึ่งของ เงินกู้จะต้องนำไปซื้อสินค้าและบริการจากภาคเอกชนไทย "[การทูต]
คณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2546 ให้จัดตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (อพบ.) ซึ่งคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ได้มีคำสั่งที่ 4 / 2547 เมื่อ 6 พฤษภาคม 2547 จัดตั้ง อพบ. แล้ว โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจากภาครัฐและเอกชนเป็นอนุกรรมการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกับกรมเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ กระทรวงการต่างประเทศเป็นอนุกรรมการและฝ่ายเลขานุการ อพบ. มีหน้าที่พิจารณากลั่นกรองเสนอแนะนโยบาย แผนงานและโครงการตามแผนงานการจัดระบบเศรษฐกิจตามแนวชายแดนและการพัฒนาความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งครอบคลุมการดำเนินงาน ACMECS ด้วย ทั้งนี้ ในส่วนของ ACMECS มีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทำหน้าที่เป็นหน่วย งานหลักในการประสานกับหน่วยงานภายในของไทยให้ดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติ การ และกระทรวงการต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลักในการประสานกับประเทศ สมาชิก ACMECS[การทูต]
ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา " เป็นกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางวิชาการภายใต้กรอบขององค์การสหประชา ชาติ โดยเป็นการแลกเปลี่ยนคณะเจ้าหน้าที่เพื่อการดูงาน/ฝึกอบรม และแลกเปลี่ยนผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศกำลังพัฒนาด้วยกัน โดยประเทศที่ขอหรือส่งเจ้าหน้าที่จะรับผิดชอบ ค่าเดินทางระหว่างประเทศ ในขณะที่ประเทศเจ้าภาพจะรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายภายในประเทศ อาทิ ค่ากินอยู่ ค่าฝึกอบรม/ดูงาน "[การทูต]
ประเทศที่พัฒนาแล้ว[การแพทย์]
ประเทศกำลังพัฒนา, ประเทศที่กำลังพัฒนา[การแพทย์]