การเรียงลำดับอักษร[เทคโนโลยีการศึกษา]
การเรียงลำดับอักษร[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ชิปอัลฟา, Example:ชื่อของไมโครโพรเซสเซอร์ขนาด 64 บิต ที่บริษัท DEC ผลิตขึ้นในปี 2535 และใช้สำหรับการผลิตคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆ ของบริษัทนี้[คอมพิวเตอร์]
อักขระอักษรเลข, Example:อักขระที่รวมทั้งตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z ตัวเลข 0-9 และอักขระพิเศษที่เราสามารถพิมพ์ด้วยแป้มพิมพ์ได้ ตลอดจนอักขระควบคุมต่างๆ ที่ใช้ควบคุมเครื่องพิมพ์[คอมพิวเตอร์]
อนุภาคแอลฟา, อนุภาคที่มีประจุบวก ประกอบด้วย<em>โปรตอน</em> 2 อนุภาค และ<em>นิวตรอน</em> 2 อนุภาค ซึ่งเหมือนกับนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มีความสามารถในการทะลุทะลวงต่ำ ผ่านอากาศได้เพียง 2-3 เซนติเมตร และไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษหรือผิวหนังได้ อนุภาคแอลฟาเกิดจาก<em>การสลาย</em>ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด เช่น ยูเรเนียม และทอเรียม[นิวเคลียร์]
รังสีแอลฟา, กระแสของ<em>อนุภาคแอลฟา</em> หรืออาจใช้เรียกแทนอนุภาคแอลฟาได้ <br>(ดู Alpha particle ประกอบ)</br>[นิวเคลียร์]
อัลฟ่า วัน-แอนติทริพซิน[TU Subject Heading]
แอลฟา ฟีโตโปรตีน[TU Subject Heading]
อัลฟ่า โฟร์[TU Subject Heading]
แอลฟา-กาแลคโตซิเดส[TU Subject Heading]
แอลฟา-ธาลัสซีเมีย[TU Subject Heading]
อัลฟา โทโคฟีรอล[TU Subject Heading]
ตัวอักษร[TU Subject Heading]
การเรียงลำดับอักษร[TU Subject Heading]
อักษรเทวนาครี[TU Subject Heading]
อินเตอร์เฟียรอน-อัลฟา[TU Subject Heading]
อักษรยาวี[TU Subject Heading]
สัทอักษร[TU Subject Heading]
ทูเมอร์ เนคโครซิส แฟคเตอร์-อัลฟา[TU Subject Heading]
รังสีแอลฟา, Example:มีอำนาจการทะลุทะลวงน้อย กระดาษก็สามารถกั้นรังสี alpha ไว้ได้ รังสีนี้ส่งไปได้ในอากาศเป็นระยะทางเพียง 8 ซม. เท่านั้น อย่างไรก็ดี อันตรายจะมีได้ถ้าสารกัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกาย ด้วยสูดเข้าไป กลืนกิน หรือเข้าทางแผล มิใช่แต่เพียงสารไปตกค้างอยู่ในร่างกายเท่านั้น รังสีที่แผ่ออกมาจะทำลายเนื้อเยื่อภายในด้วยนิวลคาย์ที่ให้รังสี alpha คือ radium, plutonium, thonium, uranium ฯลฯ [สิ่งแวดล้อม]
หนังสือสอนตัวอักษร, Example:<p>Alphabet book หมายถึง หนังสือสอนตัวอักษรสำหรับเด็กเล็ก โดยแสดงตัวอักษรพร้อมด้วยคำที่เกี่ยวข้องที่ตรงกับภาพซึ่งมักจะเริ่มต้นด้วยตัวอักษรที่กำหนด บางครั้ง ใช้จังหวะที่สอดคล้องในบทกวี หรือใช้เพียงแค่ประโยคเดียวเพื่อเน้นตัวอักษรที่กำลังเรียนรู้ โดยมีภาพประกอบตัวอักษรในแต่ละหน้า เพื่อสอนอ่านให้กับเด็กเล็ก ตัวอย่างของหนังสือนี้ ได้แก่ หนังสือ ก. ไก่ และ หนังสือ A B C <p>หนังสือ ก. ไก่ มีประวัติวิวัฒนาการมายาวนาน โดยเริ่มต้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 มีการนำเอา ก ข ไปเขียนควบคู่กับตัวหวย จากนั้นจึงมีการคิดคำกำกับ ก ข ครบทั้ง 44 ตัว เพื่อให้เด็กจดจำได้ง่ายในสมัยรัชกาลที่ 5 ถึงสมัยรัชกาลที่ 7 เริ่มมีการผูกกลอน เพื่อให้เด็กท่องจำได้ง่ายยิ่งขึ้น และมีกลอนกำกับ ก ข ตามมาอีกมากมาย แต่กลอนที่คนรุ่นปัจจุบันจำได้มากที่สุด คือ กลอนของบริษัทประชาช่าง จำกัด เริ่มพิมพ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นมา (อเนก นาวิกมูล, 2536) <p>ในต่างประเทศ หนังสือ Alphabet Book มีวิวัฒนาการเริ่มต้นจาก Hornbooks ซึ่งปรากฏขึ้นครั้งแรกในศตวรรษที่ 15 ในยุโรปและอเมริกา แต่แรก Hornbook ทำด้วยแผ่นไม้มีด้ามถือ มีแผ่นหนังที่เขียนตัวอักษรติดไว้บนแผ่นไม้ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนสำหรับเด็กเล็ก ในศตวรรษที่ 18 มีการใช้กระดาษแข็งและพิมพ์ตัวอักษรบนกระดาษแข็ง เรียกว่า Battledores ใน Battledores นี้มีภาพประกอบด้วย จนกระทั่งปลายศตวรรษที่ 19 เมื่อการพิมพ์มีวิวัฒนาการดีขึ้นและมีความสะดวกในการเย็บเล่มหนังสือมากขึ้น จึงได้เริ่มมีการจัดพิมพ์หนังสือ ABC ในแบบที่หลากหลายมากขึ้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การเรียงลำดับอักษร, Example:Alphabetization หมายถึง การเรียงลำดับอักษรในภาษานั้น ๆ ซึ่งนำมาใช้กับการจัดเรียงรายการในหนังสืออ้างอิง หรือบรรณานุกรม หรือการเรียงบัตรรายการของห้องสมุด โดยปรกติเป็นรายการผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง การเรียงลำดับอักษรนิยมใช้มากที่สุด 2 แบบ คือ การเรียงแบบอักษรต่ออักษร (letter-by-letter) และการเรียงแบบคำต่อคำ (word-by-word) <p>การเรียงแบบอักษรต่ออักษร เป็นการจัดเรียงโดยดูจากอักษรแต่ละตัว โดยไม่คำนึงว่าเป็นคำหรือไม่เป็นคำ ดังตัวอย่าง <p> New <p> Newel <p> Newfoundland <p> New Haven <p> Newton <p> New York <p> การเรียงแบบคำต่อคำ เป็นการจัดเรียงโดยดูจากอักษรทั้งหมดซึ่งประกอบกันเข้าเป็นคำแล้ว ดังตัวอย่าง <p> Book <p> Book binding <p> Book of English essays <p> Book of famous ship <p> Booking <p> Books [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
สารต่อต้านตัวรับแอลฟาแอดรีเนอร์จิก[การแพทย์]
สารสกัดกั้นตัวรับแอลฟาแอดรีเนอร์จิก, สารสกัดกั้นหน่วยรับความรู้สึกแอลฟาอะดรีเนอร์จิก[การแพทย์]
ยาต้านการทำงานระบบแอลฟ่าแอดรีเนอร์จิค[การแพทย์]
สารแอลฟา 1 โกลบูลิน[การแพทย์]
แอลฟ่า 1 แอนติทริพซิน[การแพทย์]
หมู่อัลฟ่าอะมิโน[การแพทย์]
อัลฟ่าอะมิโนไนโตรเจน[การแพทย์]
ยาที่กระตุ้นทั้งตัวรับแอลฟ่าและเบต้า[การแพทย์]
ยาปิดกั้นแอลฟ่า[การแพทย์]
อัลฟาอีมิตติงเรดิโอนิวคลีโอไทด์[การแพทย์]
แอลฟา ฟีโตโปรตีน, สาร[การแพทย์]
แอลฟ่าโกลบูลิน; แอลฟา โกลบูลิน, สาร; แอลฟาโกลบุลิน[การแพทย์]
แอลฟา มาโครโกลบุลิน; แอลฟา มาโครโกลบูลิน, สาร[การแพทย์]
แอลฟาโอลีฟินซัลโฟเนต[การแพทย์]
ช่วงแรก, ระยะอัลฟ่า[การแพทย์]
แอลฟ่า-รีเซพเตอร์, ตัวรับแอลฟ่า[การแพทย์]
เอนซัยม์อัลฟา 1[การแพทย์]
ยากระตุ้นตัวรับแอลฟ่า[การแพทย์]
ยาปิดกั้นตัวรับสัญญาณแอลฟ่าแอดรีเนอร์จิค[การแพทย์]
หมู่อัลฟ่าอะมิโน[การแพทย์]
หมู่อัลฟ่า-อิมิโน[การแพทย์]