แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
153 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*อรรถ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: อรรถ, -อรรถ-
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
อรรถบำบัด
Speech Therapy
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)essenceSee Also:theme, text, story, topicSyn.แก่นเรื่อง, เนื้อความ, สาระ, แก่นExample:เขาพยายามทำความเข้าใจอรรถบทของเรื่องนี้
(n)beautiful wordingSee Also:beautiful words, (poetic) flavorExample:หนังสือเล่มนี้มีความไพเราะงดงามด้วยเสียง ความหมาย และอรรถรสต่างๆThai Definition:รสแห่งถ้อยคำ, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความซาบซึ้ง, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(n)beautiful wordingSee Also:beautiful words, (poetic) flavorExample:หนังสือเล่มนี้มีความไพเราะงดงามด้วยเสียง ความหมาย และอรรถรสต่างๆThai Definition:รสแห่งถ้อยคำ, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความซาบซึ้ง, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(n)exegesisSee Also:commentaryExample:เขาชอบอ่านอรรถกถาเหล่านั้นก่อนนอนทุกคืนThai Definition:คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก
(n)lawsuitSee Also:legal case, legal proceedings, legal actionExample:ศาลพิพากษาอรรถคดีไปตามพยานหลักฐานThai Definition:เรื่องที่ฟ้องร้องกันในศาล
(adv)according to the essence of a matterSee Also:by the textSyn.ตามเนื้อความ
(n)footnoteSyn.อ้างอิง, คำอธิบายเพิ่มเติมExample:ผู้เขียนใส่ความหมายของคำศัพท์เพิ่มเติมในเชิงอรรถThai Definition:คำอธิบายหรือข้ออ้างอิงที่เขียนหรือพิมพ์ไว้ที่ส่วนล่างของหน้าหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง
(n)semanticsThai Definition:วิชาที่เกี่ยวกับความหมาย, การตีความทางความหมาย
(n)utilitarianismSee Also:science of practical life and government, economicsThai Definition:วิชาที่เกี่ยวกับการงานในชีวิตและการปกครอง
(n)explanationSee Also:elucidationSyn.คำอธิบายExample:พระภิกษุกำลังให้อรรถาธิบายแก่ศิษย์Thai Definition:การอธิบายขยายความNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(v)explainSee Also:clarify, amplify (meaning)Syn.อธิบายความ, ขยายความExample:วิทยากรอรรถาธิบายสรรพคุณของสินค้ามากมายNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(v)explainSee Also:clarify, amplify (meaning)Syn.อธิบายความ, ขยายความExample:วิทยากรอรรถาธิบายสรรพคุณของสินค้ามากมายNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(v)free translateSyn.แปลตามเนื้อความ, แปลเอาความExample:นิยายบางเรื่องนักแปลจะแปลตามอรรถจากต้นฉบับเดิม
(n)exegeteSee Also:commentatorExample:เขาเป็นเพียงอรรถกถาจารย์แต่งแก้และขยายความจากปรัชญาของเฮเกลเท่านั้นThai Definition:อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา
(n)advantageSyn.ประโยชน์, คุณประโยชน์Example:เราจะได้รับอรรถประโยชน์มากมายจากงานวิจัยชิ้นนี้Thai Definition:ประโยชน์ที่ต้องการ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. คำอธิบายเพื่อขยายคำหรือข้อความที่อยู่ในเนื้อหา หรือข้ออ้างอิง ซึ่งเขียนหรือพิมพ์ไว้ส่วนล่างของหน้าหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง.
ว. ตามเนื้อความ เช่น แปลภาษาบาลีโดยอรรถ.
ก. แปลตามเนื้อความ, แปลตามอรรถ ก็ว่า.
ก. แปลตามเนื้อความ.
(อัด, อัดถะ-) น. เนื้อความ เช่น แปลโดยอรรถ, คำที่ยังไม่ได้แปลความหมาย เช่น คำอรรถ.
(อัดถะกะถา) น. คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก.
น. อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา.
(อัดถะกอน) ว. ให้ประโยชน์, เป็นประโยชน์.
(อัดถะกะวี) น. กวีผู้มีความสามารถในการแต่งร้อยกรองตามความเป็นจริง.
(อัดถะคะดี) น. เรื่องที่ฟ้องร้องกันในศาล.
(อัดถะบด) น. แก่นเรื่อง, เนื้อความ, หัวข้อ, สาระ.
(อัดถะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในอรรถ คือ ความเข้าใจที่สามารถคาดหมายผลข้างหน้าอันจะเกิดสืบเนื่องไปจากเหตุ, ความเข้าใจอธิบายอรรถแห่งภาษิตย่อให้พิสดาร, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
(อัดถะปฺระโหฺยด) น. ประโยชน์ที่ต้องการ.
(อัดถะรด) น. รสแห่งถ้อยคำ, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความซาบซึ้ง, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ.
ก. ขยายความ, อธิบายความ.
น. การขยายความ, การอธิบายความ.
ดู อรรถ, อรรถ-.
ก. ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้แก่กิริยาที่ทำทีอิดเอื้อนไม่ใคร่พูดออกมาง่าย ๆ.
ว. กระจะ, จะจะ, ชัดเจน, เช่น ฝ่ายล่ามบอกออกอรรถกระจัดแจ้ง (อภัย).
วิธีการ เช่น จัดกระบวนพิจารณาอรรถคดีในโรงศาล, ใช้เข้าคู่กับคำ กระบิด เป็น กระบิดกระบวน.
แสดง เช่น กล่าวเกลาอรรถเอมอร (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์)
(กะวี) น. ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์บทกลอน จำแนกเป็น ๔ คือ ๑. จินตกวี แต่งโดยความนึกคิด ๒. สุตกวี แต่งโดยได้ฟังมา ๓. อรรถกวี แต่งตามความเป็นจริง ๔. ปฏิภาณกวี แต่งโดยฉับพลันทันที.
น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติแบบหนึ่ง กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น คณะ ย คณะ น คณะ ย คณะ บาทละ ๑๒ คำ หรือ ๑๒ พยางค์ (ตามแบบว่า นยสหิตานฺยา กุสุมวิจิตฺตา) ตัวอย่างว่า จะรจิตรอรรถา ปิสุณวจีขวน พิปริตญาณยล บรชนทำลาย (ชุมนุมตำรากลอน).
(คุนนะ-) น. กลบทโบราณชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า “เดชกุศลผล ตนข้าแปล แก้คัมภีร์ ที่ชาดก, ยกจากอรรถ จัดปัญญาส ชาติโพธิสัตว์ คัดประจง”.
(ชะนะกะกำ) น. กรรมอันนำให้เกิดหรือกรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีหรือข้างชั่ว เช่น กรรมอันทำให้เกิดเป็นคนชั้นสูง เป็นชนกกรรมฝ่ายกุศล (อรรถศาสน์).
ชื่อคัมภีร์หนังสือที่แก้หรืออธิบายคัมภีร์อรรถกถา
น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ไตรทศ ก็เรียก.
น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี.
(-ทด) น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์, ในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทหมายถึง พระอินทร์และเทวดาผู้ใหญ่อีก ๓๒ องค์, ตรีทศ ก็ว่า.
น. ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
ว. มิใช่เอก, มิใช่หนึ่ง, มาก เช่น อักษรอรรถบเอ (ม. คำหลวง ทศพร).
(ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
น. ความแตกฉาน, ปัญญาอันแตกฉาน, มี ๔ อย่าง คือ อรรถปฏิสัมภิทา ธรรมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
ก. แปลเอาความ, แปลตามอรรถ หรือ แปลโดยอรรถ ก็ว่า.
น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถ-คดีในศาล.
(ยกกะบัด) น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานเกี่ยวกับอรรถคดี ตรงกับ พนักงานอัยการ หรือ อัยการ ในปัจจุบัน, ยกกระบัตร หรือ พนักงานรักษาพระอัยการ ก็เรียก, เขียนเป็น ยกบัตร์ ก็มี.
น. ตำแหน่งข้าราชการสังกัดกระทรวงวัง มีหน้าที่ออกไปประจำอยู่ตามหัวเมืองเพื่อสอดส่องอรรถคดี
ตำแหน่งเจ้าพนักงานเกี่ยวกับอรรถคดี ตรงกับ พนักงานอัยการ หรือ อัยการ ในปัจจุบัน, ยกบัตร หรือ พนักงานรักษาพระอัยการ ก็เรียก
ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศาลยุติธรรม แต่ไม่รวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี.
(รอหัน) อักษร ร ควบกัน ๒ ตัว ถ้าไม่มีตัวสะกด ใช้แทนสระอะกับแม่กนสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง) สรร (สัน) สรรค์ (สัน), ถ้ามีตัวสะกดใช้แทนสระอะ เช่น วรรณ (วัน) สรรพ (สับ) กรรม (กัม) อรรถ (อัด).
ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น

ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า.
น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O.
(สาน) น. องค์กรฝ่ายตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี, ผู้พิพากษาหรือตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี
น. ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ว่าต่างแก้ต่างคู่ความในเรื่องอรรถคดี, ทนาย หรือ ทนายความ ก็เรียก.
น. วิชาว่าด้วยวิธีการประพันธ์ที่จะทำให้เกิดอรรถรสและความประทับใจ อำนวยประโยชน์ในการศึกษาวรรณคดีมาก.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
อรรถศาสตร์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
อรรถศาสตร์[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. อรรถคดี๒. การฟ้องคดี๓. การกระทำ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อรรถศาสตร์ความหมายโดยตรง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
๑. อรรถาธิบาย๒. บทเปิดเรื่อง[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
อรรถวิภาค[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
อรรถาภิธาน[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
อรรถาภิธาน[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
อรรถาภิธาน[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อรรถปริวรรตศาสตร์[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประโยชน์นิยม, อรรถประโยชน์นิยม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
โปรแกรมอรรถประโยชน์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
โปรแกรมอรรถประโยชน์[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
โปรแกรมอรรถประโยชน์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
โปรแกรมอรรถประโยชน์[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เชิงอรรถอ้างอิง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เชิงอรรถเสริมความ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
สิทธิบัตร, หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention)การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Utility Model)ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด[ทรัพย์สินทางปัญญา]
โปรแกรมอรรถประโยชน์Example:โปรแกรมที่ช่วยให้เราใช้งานคอมพิวเตอร์ได้สะดวกขึ้น เช่น ช่วยจัดการแฟ้มข้อมูล วินิจฉัยและแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการใช้เครื่อง และการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ[คอมพิวเตอร์]
เนตติอรรถกถา[TU Subject Heading]
อรรถศาสตร์[TU Subject Heading]
อรรถศาสตร์ (กฎหมาย)[TU Subject Heading]
อรรถศาสตร์ (ปรัชญา)[TU Subject Heading]
เชิงอรรถExample:หลักฐานการอ้างอิงข้อความที่นำมาจากที่อื่นเพื่อประกอบการเรียบเรียงงาน วิจัย อยู่ส่วนล่างของหน้า งานวิจัยบางเรื่องอาจรวมเชิงอรรถไว้ท้ายบทหรือท้ายเล่มเลยก็ได้ เชิงอรรถมี 3 ประเภท <p> 1. เชิงอรรถอ้างอิง (Citation footnotes) คือ เชิงอรรถแสดงแหล่งที่มาของข้อความที่นำมาประกอบการเรียบเรียง <p> 2. เชิงอรรถเสริมความ (Content footnotes) คือ เชิงอรรถอธิบายศัพท์หรือข้อความเพิ่มเติมในเนื้อเรื่องบางตอนที่มีความสัมพันธ์กัน <p> 3. เชิงอรรถโยง (Cross reference footnotes) คือ เชิงอรรถที่โยงให้ผู้อ่านดูข้อความที่หน้าอื่นในงานวิจัยเรื่องเดียวกัน หรือดูเพิ่มเติมในบทอื่น ๆ ซึ่งมีรายละเอียดไว้แล้วและไม่ต้องการกล่าวซ้ำอีก[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
สิทธิบัตร, หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (UtilExample:<p>สิทธิบัตร หรืออีกความหมายหนึ่งคือ เอกสารที่รัฐบาลให้แก่ผู้ได้รับสิทธิผูกขาดการใช้สิ่งประดิษฐ์เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ตามที่กฎหมายสิทธิบัตรของประเทศกำหนดไว้ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการที่ผู้ขอรับสิทธิบัตรยอมเปิดเผยรายละเอียดของการประดิษฐ์นั้นไว้ในเอกสารสิทธิบัตร <p>สิ่งที่ขอจดสิทธิบัตรได้ <p>1. การประดิษฐ์ที่เป็นผลให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีที่ไม่เคยมีมาก่อน (Novelty) <p>2. การประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์สูงขึ้น ซึ่งไม่อาจทำโดยบุคคลที่มีความรู้ในระดับธรรมดา (Inventive Step) <p>3. การประดิษฐ์ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ในทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรือหัตถกรรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
โปรแกรมอรรถประโยชน์, ซอฟต์แวร์ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ดูแลรักษา ความปลอดภัยและเสถียรภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เพื่ออรรถรสที่แตกต่าง ไม่ใช่ที่จะเห็นอะไรซ้ำๆ กับสิ่งที่ครูสอน ไม่หมายถึงใครโดยเฉพาะนะWild Reeds (1994)
เชิงอรรถสำหรับหนังสือเล่มที่ 19 ของฉันYellow Submarine (1968)
ก็พูดได้ แต่มันจะเสียอรรถรสChuck Versus the Wookiee (2007)
จะให้กล่าวในสุนทรพจน์ รับรางวัลโนเบลไม่ได้หรอกนะ แต่ฉันเขียนอัตตชีวประวัติเมือไหร่... อาจมีเชิงอรรถถึงนายจนยาวเหยียด...The Electric Can Opener Fluctuation (2009)
ครั้งสุดท้ายที่ผมเช็ค ทั้งหมดที่คุณได้มา คือเชิงอรรถของกรมควบคุม โรคติดต่อ ที่เสนอขอทุนBlack Swan (2009)
มันก็แค่เรื่องอรรถศาสตร์ ใช่มั้ยล่ะ?Interpretive Dance (2010)
ผมไม่ได้แต่งเรื่องอรรถคดีกับคุณ จอห์นEpisode #1.3 (2010)
พวกมันดูดีขึ้นเป็นกอง สำหรับเชิงอรรถรสด้านภาพAbed's Uncontrollable Christmas (2010)
ชื่อของผมก็จะกลายเป็นเชิงอรรถ ในแฟ้มคดีแฟ้มใดแฟ้มหนึงของพวกคุณ แล้วก็จะถูกเก็บลืม ไม่มีใครหามันเจออีก เพราะยิ่งถ้ามีเรื่องมากขึ้นเท่าไหร่ มันก็จะยิ่งมีอุปสรรคCountdown (2011)
ให้ตายสิ หนังมันจะเสียอรรถรสEpisode #18.3 (2012)
หลังจากนี้ชื่อพวกเขาจะเป็นแค่เชิงอรรถ ในหน้าประวัติศาสตร์วิทยาการTeenage Mutant Ninja Turtles: Out of the Shadows (2016)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[at] (n) EN: test ; words
[attha-] (pref, (n)) EN: text ; words ; content
[atthabot] (n) EN: essence
[atthakathā] (n) EN: commentary ; exegesis
[atthakathājān] (n) EN: commentator ; exegete  FR: exégète [ m ] ; commentateur [ m ]
[atthakhadī] (n) EN: lawsuit ; case ; legal action ; legal case ; legal proceedings ; litigation
[atthakawī] (n) EN: writer of non-fiction
[atthaniyom] (n) EN: realism
[atthaprayōt] (n) EN: advantage ; utility
[attharot] (n) EN: flavour = flavor (Am.) ; feeling ; aesthetic quality ; beautiful wording
[atthasāt] (n) EN: semantics  FR: sémantqiue [ f ]
[atthasāt] (n) EN: utilitarianism
[atthāthibāi] (n) EN: explanation
[atthāthibāi] (v) EN: explain
[choēng-at] (n) EN: footnote
[dōi at] (adv) EN: according to the essence of a matter
[kaē at] (v, exp) EN: do an exegesis ; explain ; define
[kham at] (n, exp) EN: special term
Longdo Approved EN-TH
(n)อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้นSyn.commentator
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)สาขาวิชาหนึ่งทางภาษาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของความหมายSee Also:อรรถศาสตร์Syn.semasiology, semiology
(n)ประโยชน์ใช้สอยSee Also:ผลประโยชน์, อรรถประโยชน์Syn.usefulnessAnt.uselessness
(n)คำอรรถาธิบาย
Hope Dictionary
(คอน'เทคซฺทฺ) n. คำอรรถาธิบาย, ตอนต้นหรือตอนต่อจากคำหรือถ้อยคำ, สิ่งแวดล้อมSee Also:contextual adj. ดูcontextSyn.circumstance -Conf. point
แผงควบคุมเป็นชื่อโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) กลุ่มหนึ่ง เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับอุปกรณ์ หรือส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น จอภาพ, เมาส์ , แป้นพิมพ์, หน่วยความจำ ระบบเครือข่าย ฯ control panel นี้จะมีให้ใช้ทั้งในแมคอินทอช และระบบวินโดว์บนพีซี หรือ Presentation Manager ของ โอเอสทู (OS 2)
1. abbr. dopamine 2. (ดีเอ) ย่อมาจาก desk accessory (แปลว่า เครื่องใช้อำนวยความสะดวก) มีอยู่ในเครื่องแมคอินทอช หมายถึง โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ เช่น เครื่องคิดเลข สมุดโน้ต นาฬิกา โปรแกรมเหล่านี้สามารถเรียกมาใช้ได้ แม้ในขณะที่ทำโปรแกรมอื่นอยู่ ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์ ก็มีกลุ่มโปรแกรมที่ชื่อ Accessories ซึ่งมีโปรแกรมอรรถประโยชน์ในลักษณะคล้าย ๆ กัน เช่น มีเครื่องคิดเลข นาฬิกา สมุดโน้ต ปฎิทิน มีโปรแกรมที่จำเป็น เช่น ประมวลผลคำ (word processing) และ โปรแกรมวาดภาพ ฯลฯ
เครื่องใช้อำนวยความสะดวกใช้ตัวย่อว่า DA (อ่านว่า ดีเอ) หมายถึง โปรแกรมพิเศษประเภทโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ที่อำนวยประโยชน์ให้แก่ผู้ใช้ได้ตลอดเวลา แม้ในขณะที่ใช้โปรแกรมอื่นอยู่ เช่น เครื่องคิดเลข นาฬิกา ฯ (ดู DA)
(อีเอ็มเอ็ม) ย่อมาจากคำ expanded memory manager เป็นชื่อของโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำให้หน่วยความจำมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ส่วนมากจะใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวประมวลผลเป็นชิป (chip) เบอร์ 80386 หรือ 80486
ชื่อโปรแกรมขยายหน่วยความจำใช้ตัวย่อว่า EMM (อีเอ็มเอ็ม) เป็นชื่อของโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำให้หน่วยความจำมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ส่วนมากจะใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวประมวลผลเป็นชิป (chip) เบอร์ 80386 หรือ 80486
โปรแกรมเพิ่ม/ลดแบบอักษรเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรม หนึ่ง มีเฉพาะในเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ใช้เมื่อ ต้องการ นำแบบอักษรต่าง ๆ เข้าไปเก็บในฮาร์ดดิสก์ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเมื่อต้องการคัดลอกลงไปเก็บ ในจานบันทึก
(จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment)Syn.consideration, ruling, opinion, wisdom
(จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment)Syn.consideration, ruling, opinion, wisdom
(จู'ดะเคเชอะ) n. การพิจารณาอรรถคดีตามกฎหมาย, ผู้พิพากษาทั้งหลาย, อำนาจในการพิพากศาอรรถคดี, ศาลยุติธรรม, กฎหมาย
(จูดิช'เชิล) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีตามกฎหมาย, เกี่ยวกับศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับผู้พิพากษา, เกี่ยวกับกฎหมาย, ซึ่งเกิดจากพระผู้เป็นเจ้าSyn.legal, juridical
(จูดิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีของศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับผู้พิพากษา n. การพิจารณาคดีตามกฎหมาย, ศาลยุติธรรม, ระบบศาล, การะทรวงยุติธรรม, ผู้พิพากษาทั้ง, หลายSyn.legal, discerning
(จูริด'ดิเคิล) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดี, เกี่ยวกับกฎหมาย. -S.juridic -S.judicial
(จัวริสพรูด'เดินซฺ) n. นิติศาสตร์, ธรรมศาสตร์, ระบบกฎหมาย, การตัดสินอรรถคดีของศาลSee Also:jurisprudential adj.
(จัสทิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดีโดยศาลยุติธรรม n. ที่ทำการหรืออำนาจหน้าที่ของตุลาการ
โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts)
สมุดพกเป็นโปรแกรมหนึ่งในประเภทโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ในระบบวินโดว์ (ในแมคอินทอชก็มี) เป็นโปรแกรมที่ทำให้สามารถบันทึกโน้ตย่อ หรือ เรื่องราวสั้น ๆ เก็บไว้ และจะเรียกมาดูได้ตลอดเวลา แม้ว่าในขณะนั้นจะใช้โปรแกรมอื่นอยู่ (เหมือนกระดาษทด)
(พลี) n. คำแก้ตัว, คำแก้ต่าง, คำแก้ฟ้อง, ข้อต่อสู้ในอรรถคดี, คำขอร้อง, การขอร้อง, การวิงวอน
เรซเอดิท <คำอ่าน>ย่อมาจาก resource editor เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งในเครื่องแมคอินทอชที่ยอมให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูลในเครื่องแมคอินทอชได้ เช่น เปลี่ยนกรอบสนทนา หรือเมนู
(ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี
โปรแกรมอรรถประโยชน์หมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นไว้เพื่อให้เราเพิ่มสมรรถนะในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมอรรถประโยชน์ไม่ใช่โปรแกรมใช้งานหรือโปรแกรมที่จะนำมาใช้ผลิตงานใด ๆ ออกมาด้วยตัวเอง เพียงแต่เป็นโปรแกรมที่ทำให้การใช้โปรแกรมอื่นสะดวกขึ้น เดิมเราเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า เป็นเครื่องมือในการทำซอฟต์แวร์ (software tools) เพราะเป็นโปรแกรมที่มีไว้ช่วยนักเขียนโปรแกรมอีกชั้นหนึ่ง ปัจจุบันโปรแกรมประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ขายกันทั่วไป ที่ได้รับความนิยมมาก ก็มี Norton Utiltities, PC Tools, Stacker เป็นต้น
ย่อจากคำเต็มว่า Microsoft Windows เป็นชื่อของโปรแกรมระบบวินโดว์สของบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งทำงานภายใต้ระบบไมโครซอฟต์ดอส (Microsoft DOS) ที่เขียนโดยบริษัทเดียวกัน ถือว่าเป็นโปรแกรมระบบที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิป 80286 ขึ้นไป สามารถใช้ระบบวินโดว์สได้ ระบบวินโดว์ได้พัฒนาตลอดมา ปัจจุบัน กำลังอยู่ระหว่างหัวเลี้ยวหัวต่อที่จะเปลี่ยนจากวินโดว์ส 3.1 เป็นวินโดว์ส 95 วินโดว์ส 97 และวินโดว์ส 2000 ต่อไป ระบบวินโดว์นี้จะรวมเอาโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ไว้ให้อย่างพร้อมมูล นอกจากนั้น หลายบริษัทยังสร้างโปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ให้ทำงานบนระบบวินโดว์สนี้ เช่น Aldus PageMaker, Freelance ทุกโปรแกรมจะมีวิธีการใช้พื้นฐานคล้ายคลึงกัน ทำให้ง่ายในการเรียนรู้ เพราะเรียนรู้โปรแกรมหนึ่ง ก็ทำให้มีแนวที่จะเรียนโปรแกรมอื่นง่ายขึ้น ระบบวินโดว์สนี้ จะเน้นในเรื่องการใช้ภาพเป็นสื่อ มีการใช้เมาส์ ใช้เมนู มีรายการเลือกต่าง ๆ ทำให้ผู้ใช้รู้สึกสะดวกขึ้นมาก
(ซิพ) n. เสี่ยงหวือ, พลังงาน, กำลังวังชา, ศูนย์, ความไม่มีอะไร vi. เคลื่อนที่หรือกระทำด้วยความเร็วหรือพลังสูง vt. เติมพลัง, เติมความเร่าร้อน, รูปซิป, ดึงซิป, ทำให้พ่ายแพ้ , ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อแฟ้มข้อมูลที่ได้ผ่านการอัดแน่นโดยโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่มีชื่อว่า PKZIP การอัดแน่นข้อมูลนั้นมีประโยชน์ในการประหยัดที่เก็บ เมื่อใดที่ต้องการใช้ จะต้องนำมาขยายขนาดเท่าเดิมก่อน โดยใช้โปรแกรมที่ชื่อ PKUNZIP ปัจจุบัน ในระบบวินโดว์ 95 ใช้โปรแกรมชื่อ WinzipSee Also:ziper n.Syn.vitality
Nontri Dictionary
(n)ปริบท, บทความ, ท้องเรื่อง, อรรถาธิบาย, สิ่งแวดล้อม
(n)หมายเหตุ, เชิงอรรถ
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)(ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การถ่ายความหมายของคำจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยไม่คำนึงถึงบริบท ผลงานแปลจึงขาดความพลิ้ว ลีลา และอรรถรส ดังเช่นการแปลด้วยซอฟแวร์แปล
Saikam JP-TH-EN Dictionary
備考
[びこう, bikou] TH: เชิงอรรถ
備考
[びこう, bikou] EN: remarks
Longdo Unapproved FR-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
sémantico-cognitif, -ive
(adj)ทางอรรถศาสตร์ปริชาน, ซึ่งเกี่ยวกับอรรถศาสตร์ปริชาน
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ