น. การเรียนคัมภีร์ปริยัติ, คู่กับ วิปัสสนาธุระ การเรียนวิปัสสนา.
(ทุระ-) น. หน้าที่การงานที่พึงกระทำ, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ
เรื่อง, เรื่องส่วนตัว, เช่น นี่เป็นธุระของฉัน ไม่ใช่ธุระของคุณ.
ว. ถือเป็นเรื่องที่ตนควรทำให้, เอาเป็นธุระ ก็ว่า.
(พาระทุระ, พานทุระ) น. การงานที่รับทำ, กิจการที่ขวนขวายประกอบ.
(มะทุระ-) ว. หวาน, ไพเราะ.
ก. ปล่อยปละละเลย, ไม่เอาใจใส่.
(วิทุ-) ว. เปลี่ยว, ว้าเหว่.
น. การเรียนวิปัสสนา, คู่กับ คันถธุระ การเรียนคัมภีร์ปริยัติ.
ก. รับทำงานเอง เช่น เรื่องนี้ไว้ธุระฉันเถอะ จะจัดการให้เอง, มอบงานให้ผู้อื่นทำ เช่น เรื่องอาหารไว้ธุระคุณนะ.
ว. ถือเป็นเรื่องที่ตนควรทำให้, เป็นธุระ ก็ว่า.
น. กิจการ, หน้าที่, ธุระ, เช่น กงการอะไรของคุณ ไม่ใช่กงการของฉัน.
น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่, เช่น การบ้าน การครัว การคลัง การเมือง, ถ้าอยู่หน้ากริยา ทำกริยาให้เป็นนาม เช่น การกิน การเดิน.
(กาน) น. หน้าที่, กิจ, ธุระ, งาน.
(กิด, กิดจะ-) น. ธุระ, งาน.
น. การงานที่ประกอบ, ธุระ.
น. ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ใช้สำหรับเรียกคณะสงฆ์ฝ่ายคันถธุระ, คู่กับ อรัญวาสี คณะสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระ.
น. ผู้ที่ชอบเข้าไปวุ่นในธุระของคนอื่นซึ่งมิใช่หน้าที่ของตนจนน่ารำคาญ.
น. ผู้ชอบทำเอาหน้า, ผู้ชอบเสนอหน้าเข้าไปทำธุระให้คนอื่นโดยเขาไม่ได้ขอร้อง.
ว. ปล่อยไปตามเรื่องตามราว ไม่เอาเป็นธุระ.
ว. ปล่อย, วางธุระ, เช่น ช่างเถิด ช่างมัน.
ว. ปล่อยไปตามเรื่องตามราว, ไม่เอาธุระ.
เพิกเฉย, ไม่เอาเป็นธุระ, เช่น ดูดาย
ก. ดูดาย, ไม่เอาเป็นธุระ, เช่น บมิควรดูดอมดูดาย ควรถนอมท้าวทาย ไปสมที่แก้วกัลยา (สมุทรโฆษ).
ก. เพิกเฉย, ไม่เอาเป็นธุระ, เช่น อยู่บ้านท่านอย่าดูดาย ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น.
ก. ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง ไม่เอาเป็นธุระอีกต่อไป.
ก. ทิ้ง เช่น มันทำชู้แล้วมันทอดหญิงนั้นเสีย (สามดวง), ปล่อย, วาง, เช่น ทอดธุระ ทอดทุ่น ทอดพระราชอาสน์
ก. ละเลย, ทิ้งขว้าง, ไม่เอาเป็นธุระ, ไม่เอาใจใส่, ไม่นำพา.
ว. อาการที่ไม่เอาธุระปล่อยให้เป็นไปตามเรื่องตามราว, อาการที่ปล่อยอารมณ์ตามสบาย, มักใช้ประกอบคำ นอน ว่า นอนทอดหุ่ย.
ว. เท่า, ราวกับ, เช่น กูเปนใหญ่บังคับ ให้เขาจับทำโพย โดยพลการเขาหลาย ผิดเชิงนายกับบ่าว ท่าวจักทอดธุระ กะว่าฝันเป็นแน่ (นิทราชาคริต).
ก. เอาใจใส่, เอื้อเฟื้อ, ช่วยธุระ, ใช้ในประโยคปฏิเสธว่า ไม่นำพา.
โดยปริยายหมายความว่า ไม่เอาเป็นธุระ.
ก. ถือว่าแก่แล้วไม่เอาธุระในการแต่งตัว
ก. ไม่เอาธุระในการแต่งตัว
ก. ไม่เอาธุระในการแต่งตัว
ก. วางมือ, ไม่เอาเป็นธุระ.
น. ผู้ชอบพอรักใคร่กัน, ผู้สนิทสนมคุ้นเคยกัน, เช่น เขามีเพื่อนมาก, ผู้ร่วมสถาบันหรือร่วมอาชีพเป็นต้น เช่น เพื่อนร่วมโรงเรียน เพื่อนร่วมรุ่น เพื่อนข้าราชการ เพื่อนกรรมกร, ผู้ร่วมธุระ เช่น อยู่เป็นเพื่อนกันก่อน ไปเป็นเพื่อนกันหน่อย, ผู้อยู่ในสภาพเดียวกัน เช่น เพื่อนมนุษย์ เพื่อนร่วมโลก.
(แพฺล็บ) น. ชั่วเวลานิดเดียว เช่น โผล่มาแพล็บเดียวหายไปแล้ว ทำแพล็บเดียวเสร็จ, แผล็บ ก็ว่า, ลักษณนามใช้เรียกชั่วเวลานิดเดียว เช่น ขอตัวไปทำธุระแพล็บเดียว แล้วจะรีบกลับมาทำงานต่อ.
ธุระที่หนัก, การงานที่หนัก
(-ทอน) ว. ไม่เอาใจใส่, ทอดธุระ.
ก. มอบธุระไว้ด้วยความไว้วางใจ, ยินยอมให้ทำแทนโดยมีหลักฐาน, (กฎ) ดู มอบอำนาจ.มอบอำนาจ.
ก. ไม่เป็นธุระ, ไม่เกี่ยวข้อง.
ก. เข้าไปสอดแทรกในเรื่องที่ไม่ใช่ธุระของตน, เสือก.