น. การที่บุคคลอื่นซึ่งไม่ใช่ผู้เสียหายได้กล่าวหาต่อเจ้าหน้าที่ว่ามีบุคคลรู้ตัวหรือไม่ก็ดี ได้กระทำความผิดอย่างหนึ่งขึ้น.
(กะ-) น. ถ้อยคำ, เรื่อง, คำอธิบาย, คำกล่าว.
คำกล่าวหาบุคคลว่าได้กระทำความผิดอาญา หรือคำกล่าวหาเกี่ยวกับข้อโต้แย้งสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลในทางแพ่ง.
คำกล่าวแสดงความรู้สึกบุญคุณ (เป็นคำที่ใช้แก่บุคคลที่เสมอกัน หรือผู้น้อยใช้แก่ผู้ใหญ่).
คำกล่าวแสดงความรู้สึกพอใจในความดีที่ผู้อื่นได้มีต่อตน (เป็นคำที่ผู้ใหญ่ใช้แก่ผู้น้อย).
น. คำกล่าวแสดงความดำริที่จัดพิมพ์หนังสือนั้น.
อ. คำกล่าวแสดงความผิดหวังเพราะเกิดอุบัติเหตุโดยไม่คาดคิดมาก่อนเป็นต้น เช่น เจ้ากรรมแท้ ๆ รถมาเสียเอาตอนฝนตกเสียด้วย.
คำกล่าวติเตียน ตัดพ้อ หรือผิดหวัง เช่น เมียเจ้ารูปทองสิบสองหนัก ยศศักดิ์ปึ่งชาจะหาไหน พี่น้องพร้อมพรั่งช่างกระไร แต่จะยกมือไหว้ก็ไม่มี (สังข์ทอง), คำกล่าวแสดงความตื่นเต้น เช่น น้องเอ๋ยรูปร่างช่างกระไร นางในกรุงศรีไม่มีเทียม (ขุนช้างขุนแผน).
(ดูกะระ, ดูกอน) คำกล่าวเรียกผู้ที่จะสนทนาด้วย เป็นคำที่ผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย เช่น ดูกรเจ้าชาลีลูกรัก (ม. ร่ายยาว กุมาร).
น. คำกล่าวเชิงดูหมิ่นหรือเชิงสั่งสอนว่า มีความรู้หรือมีประสบการณ์น้อย.
คำกล่าวแสดงความคล้อยตาม เช่น คนหนึ่งพูดด้วยความแปลกใจว่า “ไม่นึกเลยว่าเขาจะเป็นคนเกะกะ” อีกคนหนึ่งก็คล้อยตามว่า “ถึงว่าซี”.
คำกล่าวแสดงว่าเหตุการณ์เป็นอย่างที่พูดไว้, (ปาก) คำแสดงการซ้ำเติม เช่น นั่นปะไร ว่าแล้วไม่เชื่อ.
น. คำกล่าวเรื่องราวเป็นทำนองเมื่อเวลาแสดงโขนหรือหนังใหญ่เป็นต้น.
น. คำกล่าวเพื่อความศักดิ์สิทธิ์ หมายความว่า ขอให้สำเร็จแก่เรา.
คำกล่าวเรื่องราวเป็นทำนองเมื่อเวลาแสดงโขนหรือหนังใหญ่เป็นต้น, บทพากย์ ก็ว่า.
(-เหฺงก) น. ด้านหลังของข้อนิ้วมือที่งอเข้าด้วยกัน ใช้สำหรับเขกหรือชูให้ประกอบคำกล่าวแสดงความโกรธเป็นต้น เช่น ใช้มะเหงกเขกหัว ให้มะเหงก.
คำกล่าวอย่างตัดเยื่อใยไมตรี ไม่ให้มีความหวังอยู่เลย.
(วะ-) น. คำพูด, ถ้อยคำ, คำกล่าว.
(วากกะยะ) น. คำพูด, คำกล่าว, ถ้อยคำ, ประโยค.
น. ถ้อยคำ, คำกล่าว, คำพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์.
(สะหฺวาคะตะ) น. คำกล่าวต้อนรับ.
(สะหฺวาหะ) คำกล่าวเมื่อจบการเสกเป่า.
คำกล่าวประกอบชื่อผู้อื่นซึ่งปรากฏอยู่เฉพาะหน้า, เป็นสำนวนแปลบาลีเก่า ใช้ในที่ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสกับพระสาวก เช่น สำแดงอานนท์.
คำกล่าวประกอบหลังคำจำแนกรายละเอียด เช่น ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มีค่าน้ำเอย ค่าไฟเอย.
คำกล่าวประกอบหลังชื่อ เป็นเชิงปรารภเป็นต้น หรือลงท้ายคำกลอน เช่น แม่เอย แกอย่ามาห้ามข้า ตัวของลูกยาก็ไม่ฟัง (มโนห์รา), เจ้ามัทรีเจ้ามาไยเวลาปานฉะนี้ พระน้องเอ่ย ผิดเวลากาล (ม. ร่ายยาว กุมาร), ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมลฑล และทิ้งตนตัวเปลี่ยวอยู่เดียวเอย (บทดอกสร้อย).
(-วาด) น. คำแนะนำ, คำตักเตือน, คำกล่าวสอน.