ก. เกรงขาม, รู้สึกพรั่นพรึง, สะทกสะท้านด้วยความกลัว.
(คฺร้าม) ก. ขยาด, ไม่กล้าสู้, กลัวเกรง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ครั่น เป็น ครั่นคร้าม หมายความว่า เกรงขาม, รู้สึกพรั่นพรึง, สะทกสะท้านด้วยความกลัว.
(กฺล้า) ก. ไม่กลัว, ไม่ครั่นคร้าม.
(แกฺลน) ก. คร้าม, กลัว, เกรง, เช่น ฤๅแกลนกำลังศร (สรรพสิทธิ์).
(ขะยั่น) ก. คร้าม, เกรง, ไม่กล้า, แหยง.
(ขะหฺยาด) ก. ครั่นคร้าม, กลัวเพราะเคยรู้ฤทธิ์มาแล้ว, เข็ดเพราะเคยได้รับผลร้ายมาแล้ว.
ก. คร้าม, เกรง, มักใช้เข้าคู่กับคำ เกรง เป็น เกรงขาม.
ก. ไม่กล้าสู้เพราะคร้ามข้อคร้ามลำ.
(คฺร่า) ก. ฉุดลากไปอย่างไม่ปรานี เช่น ถ้าเจรจาถึง ๒ ครั้งไซ้ให้คร่ามือออกไปจากพระโรงแลให้ห้ามเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (สามดวง), ท่านให้มาว่ากล่าวร้องฟ้องณะโรงสานตามกระบินเมืองอย่าให้ตีด่าฉุดคร่าเอาโดยกำลังเองศักอันเลย (สามดวง)
ก. ขยาด, ครั่นคร้าม, ไม่กล้าสู้, ไม่มีกำลังใจจะสู้.
ก. รู้สึกเย็นเยือกเข้าหัวใจ ทำให้ครั่นคร้าม หรือหวั่นกลัวจนตัวสั่น เช่น เห็นไฟไหม้แล้วสะท้าน, หนาวสั่น เช่น หนาวสะท้านเหมือนจะเป็นไข้ หนาวสะท้านเพราะเดินกรำฝนมาหลายชั่วโมง, มักใช้เข้าคู่กับคำ สะทก เป็น สะทกสะท้าน
ว. อาการที่กลัวจนตัวงอ, อาการที่กลัวลานหรือครั่นคร้ามไม่กล้าสู้, ในคำว่า กลัวหงอ, ใช้ว่า หงอก๋อ ก็มี.
ว. สะท้านใจ, เยือกเย็นใจ, คร้ามเกรงภัย, กลัว.
รู้สึกเย็นเยือกเข้าหัวใจทำให้รู้สึกครั่นคร้ามหรือหวาดกลัวจนตัวสั่นเป็นต้น.
ก. สั่นสะเทือน, โอนเอน, เช่น จิตใจหวั่นไหวไปตามอารมณ์, ครั่นคร้าม เช่น ไม่หวั่นไหวต่อภยันตรายใด ๆ.