ก. ตาย เช่น เมื่ออาทิตย์ที่แล้วเขายังมาทำบุญที่วัด วันนี้กลับบ้านเก่าไปเสียแล้ว.
(กฺลับ) ก. ตรงกันข้ามกับภาวะเดิมหรือทิศทางเดิม เช่น กลับหน้าเป็นหลัง กลับบ้าน, เปลี่ยนเป็นตรงกันข้าม เช่น นึกว่าเป็นคนดี กลับเป็นคนร้าย, คืนมาสู่ภาวะเดิม เช่น กลับมีอีก, พลิกหน้าเป็นหลัง เช่น กลับปลา, เปลี่ยน เช่น กลับชาติ กลับใจ, ทำตรงกันข้ามกับที่คาดหมายหรือที่ควรจะเป็น เช่น เราพูดด้วยดี ๆ เขากลับ ด่าเอา.
น. ผู้ที่ไปหลงติดอยู่ ณ บ้านใดบ้านหนึ่งแล้วไม่ยอมกลับบ้านของตน, ผู้เร่ร่อนไปไม่มีที่พักพิงเป็นหลักแหล่ง.
ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซมซานกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซานซม ก็ว่า.
ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซานซมกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซมซาน ก็ว่า.
ก. ไปหรือมาอย่างอ่อนแรงอ่อนกำลัง เช่น โซซัดโซเซกลับบ้าน, ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เช่น ตั้งแต่ตกงานเขาก็เที่ยวโซซัดโซเซอยู่นาน.
ก. ไปโดยไม่แวะเวียนที่ไหน เช่น เด็กดีพอเลิกเรียนก็ดิ่งกลับบ้าน.
ว. เข้าใจว่า เช่น ดูเหมือนตอนนี้เขาจะกลับบ้านไปแล้ว, คะเนว่า, เห็นจะ, เช่น ไฟฟ้าดูเหมือนจะดับราว ๆ ตี ๔.
ว. ก่อนเวลากำหนดมาก เช่น งานเริ่มทุ่มหนึ่ง มาแต่วันเชียว, ก่อนเวลาที่ควรเป็น (มักใช้เฉพาะเวลาช่วงบ่ายค่อนไปทางเย็น) เช่น วันนี้กลับบ้านแต่วัน กินข้าวแต่วัน กินเหล้าแต่หัววัน.
เลยไปออกนอกทางไป เช่น เลิกเรียนแล้วรีบกลับบ้าน อย่ามัวแต่ไถลอยู่.
(ทะ-) ว. เคลื่อนตามกันไปไม่ขาดระยะ เช่น คลื่นทยอยซัดฝั่ง, ไปหรือมาทีละน้อย เช่น ทยอยกันมาเที่ยวงาน ทยอยกันกลับบ้าน.
น. เวลาที่ควายบ่ายหน้ากลับบ้าน, เวลาเย็น, เช่น สุริยประภาธรงกลด จนกำหนดบ่ายควาย ชายสามนาลิกาเศษ (ตะเลงพ่าย).
ก. เปลี่ยนไปสู่ทิศทางใดทิศทางหนึ่ง, หันหน้า, เช่น บ่ายหน้าไปทางทิศเหนือ, มุ่งหน้า เช่น ยามเย็นชาวนาบ่ายหน้ากลับบ้าน.
น. ชั่วเวลานิดเดียว เช่น เผลอแป๊บเดียว กลับบ้านไปแล้ว, ลักษณนามใช้เรียกชั่วเวลานิดเดียว เช่น รอสักแป๊บหนึ่งนะ เดี๋ยวจะมา.
คำเรียกแสดงความรักใคร่หรือประชดประชัน แล้วแต่น้ำเสียง (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น แม่เจ้าประคุณของยายสบายดีหรือ ดึกแล้วแม่เจ้าประคุณยังไม่กลับบ้านเลย.
ก. หวนกลับ เช่น ย้อนไป ย้อนมา ย้อนกลับบ้าน, ทวนกลับ เช่น ย้อนเกล็ด ย้อนหลัง, พูดสวนตอบ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น เด็กย้อนผู้ใหญ่ ลูกย้อนแม่.
ก. เดินไปเรื่อย ๆ เพราะไม่มีรถหรือค่ารถเป็นต้น เช่น เงินหมดกระเป๋าเลยต้องเดินย่ำต๊อกกลับบ้าน.
ก. แยกกันไปคนละทาง เช่น พองานเลิกต่างก็แยกย้ายกันกลับบ้าน, แยกและย้ายไปอยู่คนละแห่ง เช่น เมื่อพ่อแม่ตายลูก ๆ ก็แยกย้ายไปหาที่อยู่ใหม่.
ก. เที่ยวไปหลายแห่งไม่ประจำเป็นตำแหน่งแห่งที่ (ใช้แก่การค้าย่อย หรือรับจ้างขนส่งซึ่งไม่ประจำที่) เช่น เร่ขายของ, เตร่, เดินไปมาไม่เป็นตำแหน่งแห่งที่, เช่น เร่ไปคุยที่โต๊ะโน้นบ้างโต๊ะนี้บ้าง, อาการที่หันเหและเวียนเคลื่อนที่จากจุดเดิมไปสู่อีกที่หนึ่ง เช่น เดินกลับบ้านเห็นคนเล่นหมากรุกก็เลยเร่ไปเล่นด้วย.
ก. บันทึกเวลาที่มาทำงานและกลับบ้าน.
ก. ลืมกลับบ้าน, ลืมบ้านเรือน, เช่น เที่ยวเสียจนลืมรัง.
สิ้นสุดลงชั่วคราวหรือตลอดไป เช่น โรงเรียนเลิกแล้วกลับบ้าน เลิกเรียนเพราะจบชั้นสูงสุดแล้ว เมื่อก่อนเป็นนักแสดงเดี๋ยวนี้เลิกแล้ว, หยุด, งดกระทำสิ่งซึ่งกำลังทำอยู่, เช่น เลิกพูด เลิกกิน เลิกเล่น.
ก. หยุดชั่วคราวระหว่างทาง เช่น แวะตลาดก่อนกลับบ้าน แวะรับส่งคนโดยสาร.
ว. มีความรู้สึกสะเทือนใจชวนให้โศกเศร้าเพราะคิดถึงหรือผิดหวัง เช่น เขาสอบไม่ผ่านเลยเดินกลับบ้านอย่างเศร้าสร้อย ลูกนั่งเศร้าสร้อยคอยแม่กลับบ้าน, สร้อยเศร้า ก็ว่า.
ก. อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น โรงเรียนปิดเทอมแล้วไม่ยอมกลับบ้าน มัวสิงสู่อยู่ที่หอพัก, สิง ก็ว่า.
(เส็ด) ก. จบ, สิ้น, เช่น พอเสร็จงานเขาก็กลับบ้าน
ว. อาการที่ชอบเที่ยวเตลิดไปไม่อยู่ติดบ้าน บางทีก็ไม่กลับบ้านเลย คล้ายวัวควายที่เชือกตะพายขาดเที่ยวเตลิดไป.