สารประกอบซึ่งประกอบด้วยโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะกับอนุมูลกรด.
น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรด ถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่ไม่หมด เช่น โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต (NaHSO4).
น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรดถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่จนหมดสิ้น เช่น โซเดียมซัลเฟต (Na2SO4).
หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์
(คะนะบอดี) น. หัวหน้าคณะในมหาวิทยาลัยหรือในสถาบันที่เทียบเท่า.
น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับเฉพาะ (เทียบเท่าหน้าทับสองไม้)
น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับเฉพาะ (เทียบเท่าหน้าทับสองไม้).
มูลค่าแลกเปลี่ยนของหน่วยเงินตราสกุลหนึ่ง ที่เทียบเท่ากับมูลค่าแลกเปลี่ยนของหน่วยเงินตราอีกสกุลหนึ่ง.
ก. ตาย (ใช้แก่พระยาพานทองหรือเทียบเท่า).
ก. ตาย (ใช้แก่เจ้าพระยาหรือเทียบเท่า).
(ทะ-) น. ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลางที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่สูงกว่ากรม โดยมีทบวง ๒ ประเภท คือ ทบวงที่มีฐานะเทียบเท่ากับกระทรวง และทบวงที่มีฐานะต่ำกว่ากระทรวงซึ่งต้องอยู่ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง.
ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมบ่าเทียมไหล่ญาติพี่น้อง, เทียมหน้าเทียมตา หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า.
ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมหน้าเทียมตาญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า.
น. ผู้ที่ศึกษาอยู่ในสถาบันอุดมศึกษาหรือเทียบเท่า.
ว. เสมอกัน, ทัดเทียมกัน, เทียบเท่ากัน, เช่น เก่งพอกัน ฝีมือพอกัน ร้ายพอ ๆ กัน.
(เมด) น. หน่วยวัดความยาวอย่างหนึ่งตามวิธีเมตริก กำหนดเทียบเท่ากับ ๑๐๐ เซนติเมตร หรือ ๒ ศอก.
น. ทำนองเพลงสั้น ๆ มีจังหวะเร็ว เทียบเท่ากับอัตราชั้นเดียวหรือครึ่งชั้นใช้บรรเลงต่อท้ายเพลงต่าง ๆ เพื่อแสดงว่าจบ.
เจ้ากระทรวงซึ่งเทียบเท่ารัฐมนตรีว่าการในปัจจุบัน.
ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเสมอบ่าเสมอไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เทียมหน้าเทียมตา ก็ว่า.
ว. เทียบเท่า, เทียบคู่, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พระสังข์ครั้งนี้จะถอดเงาะ งามเหมาะไม่มีเสมอสอง (สังข์ทอง).
ว. เทียบเท่า, เทียบเหมือน, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ผู้หญิงคนนี้งามไม่มีใครเสมอเหมือน เด็กคนนั้นซนไม่มีใครเสมอเหมือน.
ว. เก่งมาก, หาคนเทียบเท่าได้ยาก, เช่น เขาเป็นคนเรียนเก่งหาตัวจับยาก เขาเล่นการพนันเก่งหาตัวจับยาก.