(อุปะการะ-, อุบปะการะ-) น. ความช่วยเหลือเกื้อกูล, ความอุดหนุน, คู่กับ ปฏิการะ = การสนองคุณ, การตอบแทนคุณ.
(อุปะการะ-, อุบปะการะ-) ก. ช่วยเหลือเกื้อกูล, อุดหนุน.
(อุปะ-, อุบปะ-) น. ผู้ช่วยเหลือ, ผู้อุดหนุน, หญิงใช้ว่า อุปการิณี.
(อุปะกาน, อุบปะกาน) น. เรียกม้าที่ปล่อยในพิธีอัศวเมธ ว่า ม้าอุปการ.
(กะตัน-) น. ความกตัญญู, ความเป็นผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ความเป็นผู้รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวทิตา.
(กะตัน-) ว. ซึ่งรู้อุปการะที่ท่านทำให้, ซึ่งรู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ ป. กต ว่า อันเขาทำแล้ว + ญู ว่า ซึ่งรู้ ].
น. ผู้มีบุญคุณที่เคยอุปการะเลี้ยงดูมา.
ก. คิดร้ายต่อผู้มีอุปการะ, กบฏ.
ก. ประกาศไม่รับผิดชอบหรือตัดขาดไม่ให้ความอุปการะเลี้ยงดูอีกต่อไป.
น. ผู้ที่ทำอุปการะมาก่อน เช่น บิดามารดาเป็นบุพการีของบุตรธิดา. (ป. ปุพฺพการี)
(-การะ-) น. การสนองคุณ, การตอบแทนคุณ, คู่กับ อุปการะ
น. การที่บุคคลทำตอบแทนอุปการะของผู้อื่น.
น. ผู้ที่ทำอุปการะมาก่อน ได้แก่ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด
ก. มอบตัวให้อยู่ในความดูแลหรืออุปการะของผู้อื่น, ฝากกาย ก็ว่า.
ก. มอบหมายให้ช่วยอุปการะ.
เรียกผู้ที่แสดงตนเป็นผู้อุปการะพระภิกษุสามเณรโดยเจาะจง ว่า โยมอุปัฏฐาก
เรียกฆราวาสผู้อุปการะพระทั่ว ๆ ไป ว่า โยมสงฆ์.
ก. แสดงอาการเหยียดหยามต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือต่อผู้มีอุปการคุณโดยถือว่าไม่สำคัญควรแก่การเคารพนับถือ เช่น ลบหลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาที่ตนไม่ได้นับถือ ลบหลู่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ นาย ก ลบหลู่บิดานาย ข.
ก. ส่งเสริม, ช่วยเหลือ, อุปการะ, เช่น สนับสนุนการกีฬา สนับสนุนการศึกษา.
(อะกะตะ-) น. ความเป็นผู้ไม่ประกาศอุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน, ความเป็นผู้ไม่ตอบแทนอุปการคุณที่ท่านได้ทำแก่ตน, เป็นคำคู่กันกับ อกตัญญุตา. [ ป. อ ว่า ไม่ + กต ว่า (อุปการะ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ + ตา ว่า ความเป็น ].
(อะกะตะ-) น. ผู้ไม่ประกาศอุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน, ผู้ไม่ตอบแทนอุปการคุณที่ท่านได้ทำแก่ตน, เป็นคำคู่กันกับ อกตัญญู. [ ป. อ ว่า ไม่ + กต ว่า (อุปการะ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ ].
(อะกะตัน-) น. ความเป็นผู้ไม่รู้อุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน.
(อะกะตัน-) น. ผู้ไม่รู้อุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน.
น. วงรอบ เช่น อ้อมแขน อ้อมกอด, โดยปริยายหมายถึงความคุ้มครองอุปการะ ในคำว่า อ้อมอก, ขนาดของของกลม เช่นเสา ต้นไม้ ที่วัดโดยรอบโดยวิธีใช้แขนทั้ง ๒ ข้างอ้อม เช่น เสา ๒ อ้อม ต้นไม้ ๔ อ้อม.
น. ชื่อพระราชพิธีเพื่อประกาศพระบรมเดชานุภาพของพระราชาธิราชในวรรณคดีอินเดีย โดยจะทรงปล่อยม้าอุปการพร้อมทั้งกองทัพให้เข้าไปในประเทศต่าง ๆ ถ้าประเทศใดไม่ยอมอ่อนน้อมกองทัพจะเข้าโจมตี เมื่อครบ ๑ ปีแล้วกองทัพก็ยกกลับพร้อมทั้งพระราชาที่ถูกปราบ พระราชาธิราชก็จะจัดพระราชพิธีโดยฆ่าม้านั้นบูชายัญ เรียกว่า พิธีอัศวเมธ.